Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารอิเล็กส์ ปีที่ 24 ฉบับที่ 25

วารอิเล็กส์ ปีที่ 24 ฉบับที่ 25

Published by jarin Nanthason, 2020-02-11 01:58:48

Description: วารอิเล็กทรอนิกส์

Search

Read the Text Version

๕ . รอ ฟั งผ ล ก ารป ฏิ บั ติ ต าม ค าแ น ะน าขอ ง ผ้เู ชีย่ วชาญ ๖ . ห ากผลการป ฏิ บั ติตามคาแน ะน าสาเร็จ ดาเนินการสรุปผล ในกรณีที่ยังไมส่ าเรจ็ ให้นาผลมา วิเคราะห์และให้คาแนะนาเพิ่มเติม เพ่ือการปฏิบัติ อีกคร้ัง ดังภาพท่ี ๒ ก) แสดงให้เห็นเจ้าหน้าที่ซ่อม บารุง แผนกเครื่องโทรศัพท์ กอล.๑ อล.ทร. ได้ ดาเนินการซ่อมบารุงคู่สายโทรศัพท์ซึ่งติดปัญหาใน การซ่อมบ ารุง จึงใช้วิธีการปฏิบั ติในการขอ คาแนะนา และเทคนคิ การซ่อมบารุงคู่สาย โทรศพั ท์ เพ่ือแก้ปัญ หาท่ีหน้างาน ผ่านการส่ือสารทาง โทรศัพท์จากเจ้าหน้าที่แผนกโทรศัพท์ กอล.๑ อล.ทร. แสดงดังภาพท่ี ๒ ข) ผู้มีประสบการณ์ใน การให้คาแนะนา และตรวจสอบ เพ่ือแก้ปัญหาที่ หน้างานไดท้ ันเวลา ก) ข) ภำพท่ี ๓ เทคนคิ การถา่ ยทอดการซอ่ มบารงุ ระยะไกล ผา่ นการใชร้ ีโมทระยะไกล ภำพท่ี ๒ แสดงการถา่ ยทอดขั้นตอนการซอ่ มบารุงผา่ นการ ส่ือสารทางโทรศัพท์ระห ว่างเจ้าหน้าที่ซ่อมทากับ ๑. หน่วยผู้ใช้หรือเจ้าหน้าท่ีท่ีดูแลระบบ ขอรับการ ผู้เชย่ี วชาญดา้ นการซอ่ มทาเครอ่ื งโทรศัพท์ สนับสนนุ การซ่อมทาจากผเู้ ชี่ยวชาญเฉพาะดา้ นของ หน่วยซ่อมทา ๒.๒ เทคนิคกำรถ่ำยทอดกำรซ่อมบำรุงระยะไกล ๒. วางแผน ผำ่ นกำรใช้รีโมทระยะไกล ๒.๑ ผู้เช่ียวชาญรวบรวมข้อมูล สาเหตุและ การรีโมทระยะไกล เป็นการนาเทคนิคการ ปญั หาขอ้ ขดั ขอ้ ง ควบคุมอุปกรณ์ในระยะไกลมาประยุกต์ใช้ ทาให้ ข้าราชการ อล.ทร. สามารถเห็นภาพการรีโมท ๒.๒ เตรยี มคู่มือการซ่อม อุปกรณ์ได้อย่างเข้าใจ และตรวจสอบความพร้อม ๒.๓ เตรียมอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่มีโปรแกรม ของอุปกรณ์ พร้อมท้ังสามารถปรับแต่งค่าเหมาะสม Team Viewer ส่งผลให้ยุทโธปกรณ์มีความพร้อมใช้งานและเป็น การขยายความร้อู ีกดว้ ย โดยมขี น้ั ตอนดงั นี้ วารสารอิเล็กส์ ปีที่ ๒๔ ฉบบั ท่ี ๒๕ ๔๙

๓. กระบวนการซ่อมทา ภำพที่ ๖ แสดงผู้เชยี่ วชาญดาเนนิ การรโี มทระยะไกล ๓.๑ เปิดโปรแกรม Team Viewer ไปยงั ระบบเรดาร์ Furuno ทเ่ี ขาหนา้ ยกั ษ์ ๓.๒ เข้ารหัสผ่านของ Team Viewer เพ่ือ ๒.๓ เทคนิคกำรถำ่ ยทอดกำรซ่อมบำรุงระยะไกล ตดิ ตอ่ ปลายทาง ผ่ำนกำรประชุมทำงไกล ๓.๓ ประสานเจ้าหน้าท่ีผู้ดูแลให้ on ระบบ การประชุมทางไกลเป็นการนาเทคโนโลยีภาพ เพื่อใหต้ ดิ ตอ่ กนั ได้ และเสียงมาใช้เพ่ือการเผยแพร่ความรู้และวิเคราะห์ ๓.๔ ผู้เช่ียวชาญดาเนนิ การตรวจสอบและซ่อม ปัญหาร่วมกัน ทาให้การแก้ปัญหางานซ่อมทาได้รับ ความรู้จากผู้เช่ียวชาญเข้ามาช่วยวิเคราะห์ปัญหา ทาโดยใช้ Team Viewer และแนะนาการใช้เทคนิคการซ่อมทาร่วมกันกับ ๔. ทดสอบการใช้งาน ผู้เชี่ยวชาญแจ้งให้ผู้ดูแล หน่วยผู้ใช้ยุทโธปกรณ์ ทาให้เกิดการถ่ายทอด ระบบ ทดสอบการใช้งาน ความร้ใู นลกั ษณะการประชมุ ทางไกล ทาให้สามารถ ๕. การซ่อมทาด้วย Team Viewer เป็นผลสาเร็จ เข้าใจวิธีการแก้ปัญหาในการซ่อมทาในเบ้ืองต้น ใช้ราชการได้ รว่ มกนั โดยมีขน้ั ตอนดังน้ี แสดงการใช้ Team Viewer ดังภาพที่ ๔ โดย ๑. จัดเตรียมอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับประชุม เริ่มด้วยใส่ข้อมูล Partner ID (เคร่ืองที่เราต้องการ ติดต่อส่ือสารทางไกล ได้แก่ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ จะรับ -ส่ งไฟ ล์ ) เลื อ กที่ File Transfer ค ลิ ก ท่ี หรอื โทรศพั ท์สมาร์ทโฟน Connect to partner เสร็จแล้วจะมีหน้าต่างข้ึนมา ให้ใส่ Password คลกิ Log On ๒. ตดิ ตั้งโปรแกรม Zoom Cloud Meeting ลง บนอุปกรณ์เคร่ืองคอมพิวเตอร์ หรอื โทรศัพท์สมาร์ท ภำพท่ี ๔ หน้าต่างTeam Viewer โฟน เมื่อ Log On แล้วจะมีหน้าต่างข้ึนมาดังรูปด้านล่าง ๓. ทาการทดลองติดต่อส่ือสารผ่านโปรแกรม จะมองเหน็ ในสว่ นท่ีเป็นเครอ่ื งปลายทาง Zoom Cloud Meeting ระหว่างกองโรงงาน กับ ชุดปฏิบัติราชการท่ีจะออกไปซ่อมทา โดยใช้ ID ภำพที่ ๕ หนา้ จอระบบทีเ่ ข้าควบคมุ ไดแ้ ล้ว ตามที่โปรแกรมกาหนดให้ ๔. ชุดปฏิบัติราชการเดินทางไปปฏิบัติราชการ ถงึ พื้นทป่ี ฏิบัตริ าชการ ๕. ชุดปฏิบัติราชการดาเนินการซ่อมทา อปุ กรณ์ตามใบสงั่ งาน ๕๐ วารสารอเิ ล็กส์ ปีท่ี ๒๔ ฉบบั ท่ี ๒๕

๖. ชดุ ปฏิบัติราชการสามารถซ่อมทาอุปกรณ์ท่ี นอกจากนั้นยังนา Zoom Cloud Meeting ชารดุ ได้ ก็สง่ งานเสร็จ หากไมส่ ามารถซ่อมทาได้ ทา ไปใช้ในการถ่ายทอดการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การ การประสานผู้เช่ียวชาญโดยผ่านโปรแกรม Zoom จัดการความรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ส่งเสริมการ Cloud Meeting ซึ่งอยู่ท่ีกองโรงงานเพื่อขอคา จัดการความรู้ (KM Facilitator) ที่ กวก.กับ กอล.๑ ปรกึ ษาในการซ่อมทาเพอ่ื ซ่อมทาใหง้ านเสร็จ กอล.๒ กอล.๓ ภำพท่ี ๙ การประชมุ ทางไกลโดยมี ผอ.กอล.๑ อล.ทร. เป็นประธาน ภำพที่ ๗ ข้ันตอนเทคนิคการถ่ายทอดการซ่อมบารุง ภำพที่ ๑๐ การถ่ายทอดความรกู้ ารบรรยายผ่านการ ระยะไกลผ่าน การประชมุ ทางไกล ประชุมทางไกล แสดงการใช้โป รแกรม Zoom Cloud ภำพท่ี ๑๑ การถ่ายทอดความรู้การบรรยาย ให้กับ พื้นที่ Meeting ดังภาพท่ี ๘ เป็นการถ่ายทอดความรู้จาก กอล.๑ กอล.๒ กอล.๓ และ กวก. ผา่ นการประชมุ ทางไกล ผู้เช่ียวชาญ ให้กับกาลังพลของ กอล.๑ อล.ทร. ท่ี พบปัญหาการซ่อมบารุงหน้างานในการซ่อมทามัลติ ๒.๔ เทคนิคกำรถำ่ ยทอดกำรซ่อมบำรุงระยะไกล มเิ ตอร์ พ้ืนที่ นรข. นครพนม ผ่ำนทำงเว็บไซต์ KM ของ อล.ทร. ภำพท่ี ๘ เจ้าหน้าท่ี กอล.๑ อล.ทร. ซ่อมบารงุ เชิงรุก พื้นท่ี การใช้เว็บไซต์ KM ของ อล.ทร. เป็นการ นรข. จัดเก็บ องค์ความรู้ของหน่วยที่ได้จัดทาขึ้นตาม ความเชี่ยวชาญเฉพาะได้แก่ คู่มือระบบ One Point Lesson(OPL), One Clip Lesson(OCL) และ Routine วารสารอเิ ล็กส์ ปีที่ ๒๔ ฉบับที่ ๒๕ ๕๑

to Research (R to R) เพื่อให้สามารถดึงความรู้ ๖. หากผลการปฏิบัติสาเร็จ ดาเนินการสรุปผล ใน หรือดาวน์โหลดองค์ความรู้ นามาใช้เพ่ือแก้ปัญหา กรณีท่ียังไม่สาเร็จ ให้นาผลมาวิเคราะห์และให้ งานซ่อมทาท่ีอยู่ในเรื่องเดียวกับเอกสาร OPL และ คาแนะนาเพมิ่ เติม เพือ่ การปฏบิ ัติอกี ครัง้ OCL ทาให้สามารถเปิดเอกสารท่ีเป็นบทเรียนและ เทคนิคในการซ่อมทาที่ตรงกับงานได้อย่างถูกต้อง การจัดความรู้อย่างเป็นระบบ ได้จัดเก็บข้อมูล โดยมขี น้ั ตอนดงั น้ี ที่ถอดความรู้จากผู้เช่ียวชาญในรูป OPL ข้อมูล ท่ี ข้าราชการไปปฏิบัติงานซ่อม โดยถ่ายทอดความรู้ ด้วยการเรียบเรียงจัดเป็นเอกสาร BAR, AAR โดย จัดเก็บที่เว็บไซต์ KM อล.ทร. แสดงดังภาพที่ ๑๓ - ๑๔ ซึ่งเป็นหน้าเวบ็ ไซต์ KM ของ อล.ทร. ทสี่ ามารถ ให้ข้าราชการ อล.ทร.สามารถสืบค้นองค์ความรู้จาก ผูเ้ ช่ียวชาญและดาวนโ์ หลด ข้อมูล OPL, OCL, BAR (Before Action Review), AAR (After Action Review) แ ล ะ ง า น R to R (Routine to Research) ได้ ภำพที่ ๑๒ ขน้ั ตอนเทคนิคการถ่ายทอดการซอ่ มบารุง ภำพท่ี ๑๓ หนา้ เวบ็ ไซต์ KM ของ อล.ทร. ระยะไกลผ่านทางเว็บไซต์ KM ของ อล.ทร. ภำพท่ี ๑๔ หน้าสบื คน้ ขอ้ มูล OPL OCL BAR AAR ๑. จดั ทาขอ้ มูล OPL ,OCL ๒. รวบรวมข้อมูล OPL ,OCL และจัดแยกตาม หมวดหมู่ ๓. นาข้อมูล UP LOAD ขน้ึ เวป็ ไซต์ http://km.elec.navy.mi.th/ ทไี่ ดจ้ ดั เตรยี มไว้ ๔. ผู้ซ่อมทาสืบหาข้อมูลท่ีใช้ในการซ่อมทา จาก เวป็ ไซต์ http://km.elec.navy.mi.th/ ๕. นาข้อมูล OPL และ OCL ท่ีได้จากเว็ปไซต์ ไป ประกอบการดาเนนิ การซอ่ มทา ๕๒ วารสารอิเลก็ ส์ ปีที่ ๒๔ ฉบับที่ ๒๕

สรุปและข้อเสนอแนะ บรรณำนกุ รม จากการนาเทคนิคการถ่ายทอดการซ่อม 1] น.ต.เอกสทิ ธ์ิ นิ่มวรรณัง (เอกสาร BAR และ AAR) บารุงระยะไกล ได้แก่การสื่อสารทางโทรศัพท์ รีโมท 2] น.ต.สมนึก อัตสาระ (รายงานการสมั มนาเชิงปฏิบัติการ ระยะไกล การประชุมทางไกล และเว็บไซต์ KM ความรูเ้ พ่อื พัฒนาศกั ยภาพผู้สง่ เสริมการจัดการความรู้) ของ อล.ทร. ทาให้ อล.ทร. ได้รับประโยชน์หลาย 3] พ.จ.อ.สมศักดิ์ ขุนพิพัฒน์ (เอกสาร BAR และ เอกสาร ประการ เช่น สามารถแก้ปัญหาและซ่อมทาได้เร็ว AAR) การซ่อมทาคสู่ ายโทรศพั ท์ ขึ้น ประหยัดค่าใช้จ่ายในการส่งผู้เชี่ยวชาญไปซ่อม [4] พ.จ.อ.พงษ์ศักดิ์ (เอกสาร OPL) องค์ความรู้ : การใช้ ทา เป็นช่องทางในการขยายความรู้จากผู้เช่ียวชาญ โปรแกรม TEAM VIEWER ควบคุมคอมพิวเตอร์ ไปสู่ผู้ปฏิบัติหน้างาน สร้างเครือข่ายในวิชาชีพ ส่งเสริมการทางานเปน็ ทีม ส่งเสรมิ การใช้เทคโนโลยี อย่างเหมาะสมและส่งผลให้การปฏิบัติงานซ่อมทามี ประสิทธิภาพสูงขนึ้ จากที่ได้นาเสนอเทคนิคการถ่ายทอดการซ่อม บารงุ ระยะไกลท้งั ๔ เทคนิค ผ้เู ขยี นขอสรุปดังน้ี ๑. การส่ือสารทางโทรศัพท์ เป็นการถ่ายทอด ความรู้ด้วยเสียงทาให้ผู้เชี่ยวชาญไม่สามารถเห็น ปัญหาที่ระบบแจ้งเตือนได้ เป็นเพียงกับรับฟัง ปัญหาและดึงประสบการณ์ท่ีผ่านมาให้คาแนะนา เท่านนั้ ๒ . การรีโม ท ระยะไกล พ บ ว่ายังติ ด ต้ั ง โปรแกรม Team View เฉพาะบางเครื่องท่ี กอล.๒ ได้ดาเนินการไปใช้ในการ รีโมท กับระบบเรดาร์ บางเคร่ืองเท่าน้ัน ยงั ขาดการติดต้ังโปรแกรมใหค้ รบ ทุกสถานี ๓. การประชุมทางไกล ยังดาเนินการเฉพาะ บางสาขาอาชีพของ อล.ทร. ซึ่งยังขาดสาขาอาชีพ อ่ืน ได้แก่ สาขาอาชีพเครื่องเสียงใต้น้า เคร่ือง ประมวลแสดงผล เครื่องมือเดินเรือ อุปกรณ์จ่ายไฟ เครอ่ื งควบคมุ เครื่องจักรและอปุ กรณ์สนบั สนุน ๔. การนาเทคโนโลยีเว็บไซต์ KM ของ อล.ทร. ยังต้องอาศัยข่ายการสื่อสารของ สสท.ทร.ในการ ดาวน์โหลดเอกสารให้เรว็ วารสารอเิ ลก็ ส์ ปีที่ ๒๔ ฉบับที่ ๒๕ ๕๓

การถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีขั้นการ (Enterprise Resource Planning) หรือการประยุกต์ สร้างเรือและการบริหารจัดการ (Transfer of ใช้ระบบสารสนเทศในการบูรณาการข้อมูล และ Technology) ในลักษณะ On The Job Training กระบวนการทางานหลักของอู่ อาทิ การจัดซ้ือ การ สาขา Electronics ในระดับ Staff ตามโครงการ ผลิต การบัญชี การเงิน การบริหารบุคคล เป็นต้น จัดหาเรือฟริเกต ณ สาธารณรัฐเกาหลี น้ัน มี ทั้งน้ีเพื่อให้ทุกสายงานสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร วตั ถปุ ระสงค์เพื่อให้ผ้เู ข้ารับการอบรมมคี วามรู้ความ ได้อย่างทั่วถึง อันจะช่วยในการตัดสินตกลงใจหรือ เขา้ ใจเก่ียวกบั แนวคดิ และหลกั การบริหารทรพั ยากร แ ก้ ปั ญ ห า ภ า ย ใน อ ง ค์ ก ร ได้ อ ย่ า ง ร ว ด เร็ ว แ ล ะ มี อันเกี่ยวข้องกับการติดตั้งอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร จั ด ห น่ ว ย และสื่อสารให้กับเรือฟริเกต (ร.ล.ท่าจีน) ตลอดจน (Organization Chart) ของอู่สร้างเรือ DSME เป็น เรียนรู้กระบวนงาน ข้ันตอน และวิธีการติดตั้ง แ บ บ ลู ก ผ ส ม (Hybrid Form Organizations) อุปกรณ์จากอู่สร้างเรือ DSME ดังนั้น เนื้อหาของ ประกอบด้วยการจัดโครงสร้างองค์กรตามหน้าท่ี หลักสูตรจึงมุ่งเน้นให้ผู้เข้ารับการอบรมเรียนรู้จาก (Functional Organization) ผ ส ม กั บ ก า ร จั ด การเฝ้าสังเกตุการณ์การปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ชุด โค รงส ร้างอ งค์ ก รต าม ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ (Product ติดต้ังยังสถานท่ีติดต้ังจริงบนเรือ ควบคู่กับการ Organization) ด้วยเพราะเป็นองค์กรภาคเอกชนที่ เรียนรู้ผ่านเอกสารคู่มือประกอบการติดต้ัง และการ มีขนาดใหญ่ มีกระบวนการทางานที่หลากหลาย บรรยายภายในห้องเรียน โดยครูผู้สอนซึ่งทาหน้าที่ และมีความซับซ้อนสูง การจัดโครงสร้างแบบ กากับดแู ลสว่ นงานด้านการติดตั้งอปุ กรณ์โดยเฉพาะ ลู ก ผ ส ม จึ ง เ ป็ น ก า ร ร ว ม เอ า จุ ด เด่ น ข อ ง ก า ร จั ด อู่ ส ร้ า ง เรื อ DSME (Daewoo Shipbuilding & โครงสร้างทั้งสองแบบเข้าด้วยกัน กล่าวคือ ลักษณะ Marine Engineering) เป็นบริษัทสร้างเรือขนาด งานด้านใดที่ต้องใช้ทักษะและความชานาญเฉพาะ ใหญ่ เริ่มก่อตั้งในปี พ.ศ.๒๕๑๖ บนเน้ือที่กว่า ๔ ด้าน จะถูกจัดรวมไว้ที่ส่วนกลาง ส่วนลักษณะงาน ล้านตารางเมตร ตั้งอยู่ในบริเวณอ่าว Okpo บนเกาะ อันเก่ียวเน่ืองกับผลิตภัณฑ์หรือการผลิตจะถูกจัดให้ Geoje เมือง Busan อยู่ทางตอนใต้ของสาธารณรัฐ เป็นหน่วยงานแยก แต่ยังคงได้รับการช่วยเหลือ เกาหลี จนแล้วเสร็จสมบูรณ์ในปี พ.ศ.๒๕๒๔ โดย สนับสนุนจากหน่วยงานส่วนกลาง ทั้งนี้เพ่ือให้ อู่สร้างเรือ DSME นั้น นับได้ว่าเป็นอู่สร้างเรือแห่ง ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต ส า ม า ร ถ ด า เนิ น ก า ร ได้ อ ย่ า ง แรกที่ประยุกต์ใช้แนวคดิ และวธิ ีการบรหิ ารแบบ ERP ครบถ้วนสมบรู ณ์ ๕๔ วารสารอิเลก็ ส์ ปีที่ ๒๔ ฉบบั ท่ี ๒๕

เรือฟริเกตลานี้ แบบตัวเรือเป็นแบบท่ี การบูรณาการระบบการรบ พัฒ นามาจากเรือพิ ฆาตชั้น Kwanggaeto Class Destroyer (KDX-I) ของ กองทัพเรือสาธารณรัฐ แผนการสรา้ งเรือหลัก เก าห ลี ใต้ แ ล ะใช้ วิธีก ารต่ อ เรือ แ บ บ บ ล็ อ ก การจัดทาแผนการติดตั้งอุปกรณ์และเดินสาย (Modular Construction Method) ป ร ะ ก อ บ ด้วย ๖๒ บล็อก ๑๙๕ กง (Frame) ๘ ช้ัน (Level) เคเบิล น้ัน จะต้องสอดคล้องกับแผนการสร้างเรือ ๒๕๓ ห้อง (Compartment) โดยใช้มาตรฐานการ ห ลั ก ( Production Master Schedule) โ ด ย ก า ห น ด ป ร ะ เภ ท แ ล ะ ห ม า ย เล ข ห้ อ ง เห มื อ น กั บ พิจารณาจากช่วงเวลาการดาเนินงานที่สาคัญหรือ กองทพั เรอื สาธารณรัฐเกาหลใี ต้ อันประกอบด้วยชุด Key Event มาเป็นตัวกาหนดช่วงเวลาในการเข้า ตัวเลขเรียงกัน ๔ กลุ่มโดยลาดับ ได้แก่ Deck No., ดาเนินงาน ได้แก่ วันท่ีเร่ิมตัดแผ่นเหล็ก (Steel Frame No., STBD/Port No. และ Category Cutting: S/C) วันที่วางกระดูกงูเรือ (Keel Laying: รายการอุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์และสอ่ื สาร K/L) วันปล่อยเรือลงน้า (Launching: L/C) และวันส่ง ที่ได้รับการติดตั้งตามโครงการฯ น้ัน ประกอบด้วย ม อ บ เรื อ (Delivery: D/L) โด ย ที ม ส ร้ า ง เรื อ ระบบหลักๆ คือ ระบบสะพานเดินเรือแบบรวมการ (Production) จะถูกแบ่งความรับผิดชอบออกเป็น (Integrated Bridge System: IBS), ระบบการรบ ๓ ทีมย่อย คือ ทีม Hull (Painting and Erection) (Combat System: CS) และระบบสื่อสารแบบรวม ทีม Machinery และทีม Outfitting โดยการติดตั้ง ก า ร ( Integrated Communication System: ระบบอิเล็กทรอนิกส์และสื่อสารจะถูกรวมอยู่ในทีม ICS) นอกจากนี้ ยังได้รับการติดต้ัง “ระบบจัดการ Outfitting หรือทีมติดต้ังอุปกรณ์ ทั้งน้ีเพื่อความ ระบบเรือแบบรวมการ” (Integrated Platform ประสานสอดคล้องและมีเอกภาพในการบริหาร Management System: IPMS) ระบ บ ตรวจจับ จดั การทรพั ยากร (Sensor System) แล ะระบ บ อ าวุธ (Weapon System) เพื่อเพิ่มขีดความสามารถทางการรบ การดาเนินงานในแต่ละช่วงของ Key การเฝ้าดูติดตามภาพสถานการณ์ การควบคุมและ Event ถูกแบ่งออกได้เป็น ๓ ช่วง คือ ช่วง S/C - ส่ังการผ่านระบบอานวยการรบ หรือท่ีเรียกว่า K/L กิจกรรมในภาพรวม คือ Hull Assembly และ การบูรณาการระบบการรบ (Integrated Combat Pre-outfitting ช่วง K/L- L/C กิจกรรม คือBlock System) Erection แ ล ะ On-board Outfitting แ ล ะ ช่ ว ง สุดท้าย L/C - D/L เป็นการดาเนินงานเกี่ยวกับ System Check, STW (Setting To Work), HAT (Harbour Acceptance Test), Pre-SAT, SAT (Sea Acceptance Test), Final outfitting แล ะ Deperming (การลดอานาจแมเ่ หล็กถาวรของตัวเรือ) วารสารอเิ ล็กส์ ปีที่ ๒๔ ฉบับที่ ๒๕ ๕๕

นอกจากน้ี ในแผนการสร้างเรือหลัก ยัง ตรวจรับของ ทร. ซ่ึงในแผนการติดตั้งน้ีจะถูก แสดงกาหนดเวลาการติดต้ังอุปกรณ์หลักๆ ได้แก่ กาหนดโดย CM (Construction Manager) ซ่ึงได้ ระหว่าง K/L-L/C ได้แก่ การติดต้ัง D/G (Diesel รวมเอาอุปกรณ์ในระบบการรบทั้งหมด (H7049 Generator), M/E (Main Engine), G/T (Gas Turbine), Combat System Integration Schedule) แสดง R/G (Reduction Gear) และ Rudder ส่วนช่วงเวลา เป็นช่วงเวลาการดาเนินงาน เริ่มตั้งแต่การติดต้ัง ระหว่าง L/C-D/L จะเป็นการติดต้ัง และการทดสอบ อุปกรณ์ไปจนถึงข้ันการทดสอบทดลองในทะเล โดย Shore Power, D/G Start, Ship Power, M/E start แผนการติดต้งั อปุ กรณ์จะเรียงลาดับจากวนั ตดิ ตงั้ จน และ Re-docking หรือการนาเรือขึ้นมาบน Skidway การติดต้ังน้ันแล้วเสร็จ ซ่ึงจะสัมพันธ์สอดคล้องกับ เพ่ือเก็บงานในส่วนของตัวเรอื ใต้แนวน้าก่อนส่งมอบ กจิ กรรมทมี่ คี วามเก่ียวเนือ่ งกันตามลาดับ เรือ การขนย้ายอุปกรณ์ลงบล็อกตัวเรือก่อนการปิด แผนการติดตัง้ อุปกรณอ์ เิ ลก็ ทรอนิกสแ์ ละสอ่ื สาร บล็อก การออกแผนติดต้ังอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ในขั้นตอนนี้จะเป็นการขนย้ายอุปกรณ์ท่ีมี แล ะสื่ อ ส าร (System Installation Schedule) ขนาดใหญ่ลงในบล็อกตัวเรือก่อนการปิดบล็อก(Pre- นั้น นอกจากจะพิจารณาจาก Key Event ที่สาคัญ loadout Equipment) อาทิ กว้านโซนาร์ลากท้าย แล้ว ยังต้องคานึงถึงส่วนท่ีเกี่ยวข้องโดยตรงต่อ (Winch) ตู้อุปกรณ์ Radio Equipment Rack และ ระบบที่จะดาเนินการติดตั้ง ได้แก่ วันเริ่มจ่าย คอนโซล Pilot house Console เป็นต้น รวมถึง กระแสไฟฟ้าบก (Shore Power) วันเร่ิมเดินเครื่อง อุปกรณ์ซ่ึงต้องติดต้ังอยู่บนพ้ืนที่สูง มีน้าหนักมาก ไฟฟ้า (Diesel Generator Start: D/G Start) วัน และยากต่อการขนย้าย อาทิ ตู้อุปกรณ์ของระบบ เร่ิ ม จ่ าย ก ร ะ แ ส ไฟ ฟ้ าแ ล ะ น้ า ชี ล เรือ (Ship เรดาร์ เป็นต้น โดยอุปกรณ์เหล่าน้ีควรจะต้อง Power/ Shielded Water) อี ก ด้ ว ย โ ด ย จ ะ ดาเนินการติดตั้งหรือขนยา้ ยมายงั บรเิ วณพ้ืนที่ติดตั้ง พิจารณาร่วมกันระหว่างอู่สร้างเรือ (Construction ภายในตัวเรือให้เรียบร้อยก่อนที่จะประกอบบล็อก Manager: CM) ที ม Outfitting ( Electrical/ แบบถาวร โดยรายการอุปกรณ์ประกอบด้วย Electronic /Armament) บ ริ ษั ท ผู้ ผ ลิ ต (เฉพาะอปุ กรณร์ ะบบอิเลก็ ทรอนิกสแ์ ละส่ือสาร) (Saab/System Integrator) และคณะ กรรมการ การตดิ ตัง้ อุปกรณ์ก่อนปลอ่ ยเรอื ลงน้า ๕๖ อุปกรณ์ที่จะติดต้ังต่ากว่าระดับแนวน้า น้ัน หากเรืออยู่ในน้าแล้วจะไมส่ ามารถดาเนินการใดๆได้ อีก จึงจาเป็นต้องดาเนินการติดตั้งและตรวจสอบ (Inspection) ให้แล้วเสร็จก่อนขั้นตอนการปล่อย เรือลงน้า เช่น อุปกรณ์โซนาร์ อุปกรณ์วัดความเร็ว เรือ หางเสือ เพลาใบจักร เปน็ ตน้ อู่สร้างเรือ DSME โดยหน่วยงาน Naval & Special Ship เป็นหน่วยงานรับผิดชอบการติดต้ัง ระบบอิเล็กทรอนิกส์และส่ือสารทั้งหมด ซ่ีงจัดแบ่ง ทีมติดตั้งออกเป็น ๒ ทีม ได้แก่ ทีมที่ ๑ รับผิดชอบ การติดตั้งระบบไยโร ระบบเคร่ืองมือเดินเรือ และ ระบบสื่อสาร สาหรับทีมท่ี ๒ จะรับผิดชอบการ ติดต้ังระบบอานวยการรบ ระบบโซนาร์ และระบบ เรดาร์ตรวจการณ์ โดยในแต่ละทีมจะประกอบด้วย วารสารอเิ ล็กส์ ปีท่ี ๒๔ ฉบบั ที่ ๒๕

หัวหน้าทีมและลูกทีมประมาณ ๑๐-๑๕ คน ท้ังนี้ Instruction และ Arrangement of Equipment ข้ึนอยู่กับปริมาณและความเร่งรีบของงานนั้นๆ Drawing นอกจากน้ีเจ้าหน้าท่ีในทีมติดต้ังทุกคนจะมีทักษะ ทางช่างสูง และสามารถเข้าหัวสายเคเบิลได้ทุก ๒. การตรวจสอบความพร้อมของแท่นฐาน ประเภท ประกอบกับสามารถส่ือสารหรืออ่าน อุปกรณ์ ประกอบด้วย การตรวจสอบความ ภาษาองั กฤษไดใ้ นระดบั ดี เรียบร้อย อันเกี่ยวกับการแล่นประสาน การเจาะรู ร้อยโบลท์และการทาสี แต่ในกรณีท่ีต้องมีการ วิธีการและขนั้ ตอนการติดต้ังอุปกรณ์ ตัง้ แต่เร่ิมต้น จนกระท่ังเสร็จส้ิน สามารถสรุปภาพรวมของ ตรวจสอบค่าเกณฑ์ผ่าน กระบวนงานติดต้ังในภาพรวมด้วยผังงาน (Flow ( Flatness, Roughness, Chart) แสดงลาดับข้ันตอนและรายละเอียดการ Centerline) จะต้องผ่าน ทางาน ตามรูปภาพท่ี ๑ ซึ่งก่อนหน้านี้จะต้องมีขั้น การตรวจสอบเรียบร้อย การเตรียมการและการตรวจสอบความพร้อมของ แล้ว สว่ นต่างๆ ท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั การตดิ ตัง้ โดยสรปุ ได้ดังน้ี ๓. การตรวจสอบ ๑ . การศึกษ าแบบ สาห รับ การติดตั้ง รายการวัสดุสาหรับการ อุปกรณ์ โดยละเอียด ประกอบด้วย General ติดต้ังอุปกรณ์ ได้แก่ ชุด Arrangement, Connection Diagram/System Installation Kit (ก ร ณี Block Diagram, Installation Diagram/Drawing ได้รับการจัดหาและถูกส่ง Diagram, Wiring Diagram, Installation มาพร้อมกับอุปกรณ์) และ รายการพัสดุบางรายการ ซึ่ ง ต้ อ ง จั ด เต รี ย ม โ ด ย อู่ สร้างเรือ อาทิ โบลท์ สกรู นัท แหวนรอง น้ายากัน คลาย สายกราวด์ เปน็ ตน้ ๔ . ก า ร ศึ ก ษ า รายละเอียดและทาความ เข้าใจในขั้นตอนของการ ขนย้าย การติดตั้ง และการเข้าหัวสายเคเบิล ทั้งนี้ เพ่ือให้ทราบถึงข้อจากัดและแนวทางการปฏิบัติที่ เหมาะสม ๕. การสอนงานและมอบหมายงานโดยหัวหน้า ทีม ซึง่ จะกระทาก่อนเร่ิมงานในทุกๆ วัน ๖. การจัดเตรียมเครื่องมือท่ีใช้สาหรับการติดต้ัง อาทิ ประแจ (Socket Wrench/Allen Key) ประแจ ทอร์ค (Torque Wrench) ไขควง (Screwdriver) เชอื ก รอก เป็นตน้ วารสารอิเลก็ ส์ ปีท่ี ๒๔ ฉบบั ท่ี ๒๕ ๕๗

ขอ้ คดิ เห็น และการปรับปรุงกระบวนงาน อู่สร้างเรือ DSME นั้น เป็นบริษัทที่รับจ้าง ด้วยกรมอิเล็กทรอนิกส์ทหารเรือ มีหน้าท่ี สร้างเรือตามความต้องการของผู้ว่าจ้างและดาเนิน ธุรกิจเกี่ยวกับการสร้างตัวเรือพร้อมกับการติดตั้ง ดาเนินการซ่อม สร้าง ดัดแปลง ทดสอบ วิจัยและ อุปกรณ์แบบเบ็ดเสร็จ (เรือใหม่) ซึ่งแตกต่างจาก พัฒ นาเครื่องมืออุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์และ ภารกิจการตดิ ตั้งอุปกรณข์ อง อล.ทร. ซึ่งอาจจะตอ้ ง คอมพิวเตอร์ รวมท้ังปฏิบัติตามภารกิจท่ีได้รับ มี ก าร ร้ือถ อน อุ ป ก ร ณ์ เดิ ม เพื่ อซ่ อ ม ท าห รือ ติ ด ตั้ ง มอบหมายเพิ่มเติม อันได้แก่ การติดต้ังอุปกรณ์ ของใหม่ทดแทน อย่างไร ก็ตาม ยังคงมีการปฏิบัติ อิเล็กทรอนิกส์และสื่อสารให้กับเรือของกองทัพเรือ ที่เหมือนกัน คือ การติดต้ังอุปกรณ์ให้ตรงตามแบบ ในโครงการต่างๆ อาทิ โครงการสร้างเรือตรวจ ของบริษัทผู้ผลิต ไม่ว่าจะเป็นการติดตั้งอุปกรณ์ การณ์ ไกลฝ่ัง (ร.ล.กระบ่ี -ร.ล.ตรัง) โครงการ ใหม่หรือการติดต้ังอุปกรณ์ภายหลังจากการซ่อมทา ปรับปรุงเรอื ล่าทาลายทุ่นระเบิด(ชุด ร.ล.บางระจัน) เสร็จสิ้นแล้ว การท่ีผู้เขียนได้รับการถ่ายทอดความรู้ โครงการปรับปรุงเรือฟริเกต (ชุด ร.ล.นเรศวร) แ ล ะ เท ค โน โล ยี ขั้ น ก า ร ส ร้ า ง เรื อ แ ล ะ ก า ร บ ริ ห า ร โครงการปรบั ปรงุ ระบบอานวยการรบ ร.ล.จกั รีนฤเบศร จัดการ ตามโครงการจัดหาเรือฟริเกต ณ อู่สรา้ งเรือ เป็นต้น โดยกรอบการดาเนินงานของ อล.ทร. ใน DSME ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี น้ัน นอกจากการ การติดตั้งอุปกรณ์ตั้งแต่เร่ิมต้นจนเสร็จส้ิน จะมี เรียนรู้เกี่ยวกับการติดตั้งอุปกรณ์ ต่างๆ โดย ความคล้ายคลึงกัน กล่าวคือ มีหน้าที่รับผิดชอบร้ือ เจ้าหน้าท่ีของอู่สร้างเรือ DSME แล้ว ยังได้รับการ ถอนอุปกรณ์เดิม การติดต้ังอุปกรณ์ใหม่ทดแทน ถ่ายทอดหลักคิดและแนวทางการบริหารทรัพยากร การเดินสายเคเบิล การเข้าหัวสายเคเบิล และการ ต่างๆ จากการสอนภายในห้องเรียนและจาก ทดสอบทดลอง โดยในบางอุปกรณ์อาจอยู่ในการ การศึกษาหน้างาน ซึ่งสามารถนามาประยุกต์ใช้กับ ควบคุมดูแลของบริษัทผู้ผลิตหรือดาเนินการร่วมกับ การปฏิบัติงานของกาลังพลของ อล.ทร. เพ่ือเพ่ิม วศิ วกร (Service Engineer) ของบริษทั ผผู้ ลิต ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ก า ร ท า ง า น ได้ เป็ น อ ย่ า ง ดี ประกอบดว้ ย ๑. ดา้ นนิรภยั การชา่ ง ทิ ศท างและน โยบ ายการดาเนิ น งาน เกี่ยวกับความปลอดภัยของอู่สร้างเรือ DSME น้ัน ค่อนข้างเป็นรูปธรรม เพราะให้ความสาคัญ ใน เรือ่ งของความปลอดภัยและการมีชีวอนามัยภายในอู่ สร้างเรือ (Health, Safety and Environment: HSE) ผ่าน หลักปฏิบัติท่ีชัดเจนและเข้มงวด ทั้งน้ีเป้าหมายก็ เพื่อเป็นการลดอุบัติเหตุระหว่างการปฏิบัติงาน ลด มลพิษที่เกิดจากการทางาน และเพื่อปรับปรุง คุณภาพชีวิตของบุคลากรในทุกสาขางานให้ดีขึ้น ในขณะเดียวกัน อล.ทร. ก็มีหลักปฏิบัติเช่นเดียวกัน แต่ในกรณีการปฏิบัติงานตามโครงการต่างๆ ซึ่ง อล.ทร. ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้รับผิดชอบ ดาเนินการ อาทิ การติดต้ังระบบการรบให้กับ ร.ล.กระบี่ น้ัน มีสภาพแวดลอ้ ม ท่ีไม่เหมาะสมต่อการ ปฏิบัติงาน รวมทั้งมีปัจจัยเสียงต่อสุขภาพ และ ๕๘ วารสารอเิ ล็กส์ ปีท่ี ๒๔ ฉบบั ที่ ๒๕

ความปลอดภัย จึงควรท่ีจะเพิ่มมาตรการป้องกัน - การจัดหาอุปกรณ์นิรภัยสาหรับเจ้าหน้าที่ และส่งเสริมให้เกิดความปลอดภัยและมีอนามัยของ ชุดติดต้ังอุปกรณ์ให้เพียงพอ ท้ังทางด้านคุณภาพ เจ้าหน้าท่ีชุดติดต้ังอุปกรณ์ตลอดทั้งกระบวนงาน และปริมาณ ได้แก่ หมวกนิรภัย รองเท้านิรภัย เข็ม ดังน้ี ขัดนิรภัย หน้ากากป้องกันฝุ่น แว่นตา ถุงมือ เป็นตน้ - การจัดให้มีการอบรมด้านความปลอดภัย ให้ กั บ เจ้าห น้ าที่ ชุ ด ติ ดตั้ งอุป กรณ์ ก่อ น เริ่ม - การติดป้ายสัญลักษณ์แจ้งเตือนถึงความไม่ ปฏิบัติงาน และมีความจาเป็นท่ีจะต้องทดสอบผูเ้ ข้า ปลอดภัยหรือขอ้ ห้ามปฏบิ ัติอยา่ งชัดเจน ซ่ึงสามารถ รับการอบรมภายหลังการอบรมเสร็จส้ิน ทั้งนี้ก็เพ่ือ มองเห็นและเข้าใจความหมายได้โดยง่าย อาทิ ป้าย เป็นการตรวจสอบว่าผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ แสดงอันตรายจากกระแสไฟฟ้า ป้ายแสดงเขต หรือไม่ อย่างไร อันตราย ป้ายห้ามเข้า ห้ามจับ ห้ามเคลื่อนย้าย เปน็ ตน้ การปฏิบัตงิ านพร้อมดว้ ยอุปกรณ์นริ ภยั ๒. ดา้ นทักษะทางช่างของผู้ปฏบิ ตั ิงาน เทคโนโลยีด้านการออกแบบและการผลิต วั ส ดุ อุ ป ก ร ณ์ ใน ส า ย งา น ข อ ง อ ล .ท ร . นั้ น เปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา จึงจาเป็นต้องมีการ พฒั นาศักยภาพของผ้ปู ฏิบัติงานควบคู่ไปพร้อมๆกัน จากการเฝ้าสังเกตการณ์การทางานของเจ้าหน้าท่ี ชดุ ติดต้ังอุปกรณ์ของ DSME พบว่าเจ้าหน้าท่ีทุกคน สามารถอ่านแบบสาหรับติดต้ังอุปกรณ์ อ่านแบบ สาหรับการเข้าหัวสายเคเบลิ รวมทั้งมีทักษะการเข้า หัวสายเคเบิลทุกประเภทได้เป็นอย่างดี ส่งผลให้ หัวหน้าทีมสามารถมอบหมายงานได้โดยง่ายและ สามารถรองรับปริมาณงานได้มากข้ึน ดังน้ัน ก่อน เริ่มดาเนินการติดตั้งอุปกรณ์ควรที่จะต้องศึกษา เทคนิควิธีการหรือขั้นตอนการปฏิบัติจากคู่มือ แนะนาการติดตั้งของบริษัทผู้ผลิต (Installation Instruction) ให้เข้าใจอย่างละเอียดถ่องแท้ อาทิ การเข้าหัวสายเคเบิล ข้ันตอนการติดตั้งหรือ ข้อจากัดต่างๆ ซึ่งควรท่ีจะทดลองปฏิบัติและหมั่น ฝึกฝนให้เกิดความชานาญเสียก่อน ท้ังน้ีเพื่อลด ข้อผิดพลาดท่ีอาจจะเกิดข้ึนได้ แต่หากสามารถ จัดการฝึกอบรมโดยวิศวกรของบริษัทผู้ผลิตหรือผู้ที่ มีความชานาญก็จะเกิดผลที่ดีกว่าการอ่านคู่มือด้วย ตนเอง วารสารอเิ ลก็ ส์ ปีที่ ๒๔ ฉบับท่ี ๒๕ ๕๙

การจัดเตรยี มสงิ่ อานวยความสะดวกขนั้ พื้นฐาน ๓. ด้านการจัดเตรียมสิ่งอ้านวยความสะดวกข้ัน ๔. ด้านการจดั การความรู้ พ้นื ฐาน ภ า ย ห ลั ง จ า ก ก า ร ติ ด ตั้ งอุ ป ก ร ณ์ เส ร็ จ สิ้ น การติดตั้งอุปกรณ์และเดินสายเคเบิลใน หัวหน้าทีมจะมีหน้าที่จัดทารายงานสรุปผลการ ขณะท่ีการประกอบบล็อกตัวเรือยังไม่แล้วเสร็จ ดาเนิ น งาน ห รือ Best Method Safe Worker หรือเมื่อปล่อยเรือลงน้าแล้วแต่ยังไม่สามารถจ่าย (BMSW) ประกอบด้วยรายละเอียดขั้นตอนการ กระแสไฟฟ้าได้ มักจะเกิดข้อจากัดซ้าๆ อาทิ ติดต้ัง รายการเครื่องมือ ข้อจากัด และข้อควร อากาศและแสงสว่างไม่เพียงพอ การจัดวางสิ่งของ ระมัดระวังขณะดาเนินการติดต้ัง ท้ังนี้ BMSW มี ไมเ่ ป็นระเบียบ พื้นทป่ี ฏิบัตงิ านสกปรก ประกอบกับ วัตถุประสงค์หลักคือการช่วยลดอุบัติเหตุจากการ ค ลั ง เบิ ก วั ส ดุ สิ้ น เป ลื อ ง ท่ี ตั้ ง อ ยู่ ไ ก ล เกิ น ไ ป ห รื อ ปฏิบัติงาน เพราะถ้าหากเจ้าหน้าท่ีทุกคนได้อ่าน สามารถเบิกจ่ายได้บางช่วงเวลาเท่านั้น ทาให้เกิด ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน จะสามารถทราบถึงวิธีการและ ความไม่สะดวกและสูญเสียเวลามาก แต่ด้วย อนั ตรายทีอ่ าจจะเกดิ ขึ้นไดแ้ บบลว่ งหนา้ ประสบการณ์ด้านการสร้างเรือมาอย่างยาวนาน บริษัท DSME ได้ตระหนักถึงสิ่งอานวยความสะดวก ตวั อย่างเอกสาร Best Method Safe Worker เพื่ อ แ ก้ ไข ปั ญ ห า เห ล่ าน้ี โด ย ให้ เจ้ า ห น้ า ท่ี (BMSW) ผู้ปฏิบัติงานในสาขาต่างๆ สามารถดาเนินการเบิก ได้ด้วยตนเอง ซึ่งส่วนกลางจะดาเนินการจัดเตรียม สิ่งอานวยความสะดวกไว้แบบพร้อมใช้ ได้แก่ โคม ไฟ ชุดสายพ่วง (ปลั๊กสามตา) ตะขอเกี่ยว พลาสติก ห่อส่ิงของ เชือก ลวด อุปกรณ์ทาความสะอาด เป็นต้น ๖๐ วารสารอเิ ล็กส์ ปีท่ี ๒๔ ฉบับท่ี ๒๕

๕. ด้านการมอบหมายงาน เป็นต้น ทั้งนี้ หากสามารถตรวจสอบผลสาเร็จของ การบริหารงานภายในองค์กรที่มขี นาดใหญ่ มัก งานได้ในทุกขั้นตอน จะช่วยลดข้อผิดพลาดหรือได้ รับรู้รับทราบอปุ สรรคข้อขดั ขอ้ งได้โดยเร็ว มีระบบการมอบหมายงานให้กับหน่วยงานต่างๆ ตามโครงสร้างการจัด ทั้งนี้ เพ่ือรองรับปริมาณงานที่ ๖ การปรบั ปรงุ กระบวนงาน มากขึ้นตามลาดับ ข้อดีของการมอบหมายงาน ก็ เป้าหมายหลักของการติดต้ังอุปกรณ์ นั่นคือ คือ การกระจายงานในหน้าท่ีตามขอบเขตความ รบั ผดิ ชอบและอานาจการตัดสินตกลงใจ ให้กับส่วน การติดตั้งอุปกรณ์ได้อย่างถกู ตอ้ ง ครบถ้วน ทันเวลา งานท่ีมีปริมาณงานมากและต้องการความคล่องตัว และปลอดภัย โดยกรอบการจัดโครงสร้างของหน่วย สูง กระบวนงานเก่ียวกับการติดตั้งอุปกรณ์ของอู่ เฉพาะกิจ (คณะทางานติดตั้งฯ หรือคณะกรรมการ สร้างเรือ DSME น้ัน มีส่วนงานท่ีเก่ียวข้องสัมพันธ์ ติดตั้งฯ) ส่วนใหญ่นาการจัดโครงสร้างแบบรวม ต่อเน่ืองกันหลายส่วน อาทิ ส่วนงาน Hull ซ่ึงทา อานาจและแบบกระจายอานาจมาใช้ร่วมกัน ซึ่ง หน้าท่ีติดตั้งแท่นฐานอุปกรณ์ ส่วนงาน Accuracy ห น่ ว ย งา น ภ า ย ใต้ ก าร บั งคั บ บั ญ ช า จ ะ ข้ึ น อ ยู่ กั บ ทาหน้าท่ีกาหนดและตรวจสอบความถูกต้องของ ประเภทของอุปกรณ์และสายงานวิชาชีพ การที่จะ แ น ว ร ะ น า บ อ้ า ง อิ ง ต่ า ง ๆ ส่ ว น Quality ปรับปรุงกระบวนงาน (Process Improvement) Management ควบคุมคุณภาพในทุกข้ันตอนให้ได้ โดยประยุกต์ใช้รูปแบบ การทางานของอู่สร้างเรือ ตามเกณฑ์ ส่วนงาน Outfitting ทาหน้าท่ีติดต้ัง DSME นั้น จาเป็นจะต้องเพิ่มกระบวนงานและ อุปกรณ์ เป็นต้น ดังน้ัน เพ่ือความคล่องตัวของแต่ ปรับเปลี่ยนโครงสร้างของหน่วยงานในบางส่วน ละส่วนงานจึงจาเป็นต้องมีระบบการมอบหมายงาน และหากสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับคณะทางาน โดยจะต้องกาหนดเป้าหมาย ขอบเขต และอานาจ ติดตั้งฯ ของ อล.ทร. ได้แล้วน้ัน นอกจากจะช่วยให้ หน้าทไ่ี ว้อย่างชัดเจน การดาเนินงานมีประสิทธิภาพเพ่ิมมากขึ้น ยังจะ ชว่ ยพัฒนาองคค์ วามรูข้ องกาลงั พลได้อีกด้วย การติดตั้งอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และส่ือสาร ให้กับเรือของกองทัพเรือตามโครงการต่างๆ โดย ผู้เขียนใช้แนวคิด PDCA ของ W. Edwards มอบหมายให้ อล.ทร. เป็นผู้รับผิดชอบโดยตรง นั้น Deming เป็ น เค ร่ือ งมื อ สาห รับ ก ารป รับ ป รุง โครงสร้างการจัดของคณะทางานเก่ียวกับการติดต้ัง กระบวนงาน (Act) ดังน้ันจึงจาเป็นจะต้องทราบถึง อุ ป ก ร ณ์ จ ะ เป็ น ร ะ บ บ ก า ร ม อ บ ห ม า ย ง า น อ ย่ า ง รายละเอียดของการวางแผน (Plan) การปฏิบัติตาม ชัดเจน ประกอบด้วย คณะกรรมการหลัก มีหน้าที่ แผน (Do) และการตรวจสอบ/ประเมินผลการ ควบคุมกากับดูแลและติดตามผลการดาเนินงานใน ปฏิบัติงาน (Check) โดยเฉพาะผลการดาเนินงานท่ี ภ าพ รวม และคณ ะก รรม การย่อย มีห น้ าท่ี ผ่านมา ซ่ึง อล.ทร. ได้รับมอบหมายให้ดาเนินการ ดาเนินการติดตั้งอุปกรณ์ โดยแบ่งแยกการติดต้ัง ติดต้ังอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และส่ือสารให้กับเรือ ตามสาขาอาชีพ แต่ยังขาดส่วนงานควบคุมคุณภาพ ของกองทัพเรือในโครงการสร้างเรือตรวจการณ์ไกล ของงาน ซ่ึงจะเป็นส่วนท่ีมีความสาคัญย่ิงสาหรับ ฝั่ง (ร.ล.กระบ่ี) และคณะทางานติดตั้งฯ ได้สรุป การติดตั้งอุปกรณ์ กล่าวคือ เป็นส่วนงานที่จะต้อง ปญั หาอปุ สรรคและข้อขดั ขอ้ งในแต่ละด้านไว้ ดังน้ี เข้าดาเนินการตรวจสอบผลสาเร็จของงานในทุก ข้ันตอน อาทิ การตรวจสอบตาแหน่งและมาตรฐาน แท่นฐานว่าตรงตามแบบหรือตามความต้องการของ ผู้ผลิตหรือไม่ การตรวจสอบขั้นตอนและวิธีการใน ระหว่างการดาเนินการ การตรวจสอบวัสดุ และค่า เก ณ ฑ์ ต า ม ก า ห น ด ว่ า ต ร ง ต า ม ม า ต ร ฐ า น ห รื อ ไม่ วารสารอเิ ล็กส์ ปีท่ี ๒๔ ฉบบั ที่ ๒๕ ๖๑

ดา้ น ปัญหาอปุ สรรคขอ้ ขดั ข้อง จ า ก ปั ญ ห า อุ ป ส ร ร ค แ ล ะ ข้ อ ขั ด ข้ อ ง ใ น ข้างต้น และผังงานการติดตั้งของ DSME สามารถ วัสด/ุ ฐานแทน่ /ตูข้ องอุปกรณ์ทไี่ ด้รับไม่ นามาเป็นข้อมูลพื้นฐานในการปรับปรงุ กระบวนงาน อปุ กรณ์ ตรงตามแบบ อาทิ มติ ิ ขนาด ห รื อ แ น ว ท า ง ก า ร ด า เนิ น ง า น ให้ เห ม า ะ ส ม กั บ (Material) ตาแหนง่ การเจาะรรู ้อยโบลท์ ค ณ ะ ท า ง า น ติ ด ต้ั ง อุ ป ก ร ณ์ ข อ ง อ ล .ท ร . (Installation Process) โดยสรุปไดด้ ังน้ี แบบ GA และ Drawing ปรับแก้ บ่อยครัง้ ๑. จัดต้ังคณะทางานและกาหนดขอบเขต ความรับผิดชอบ (Scope of Work) ให้ทาหน้าที่ วสั ดุประกอบไม่ไดม้ าตรฐาน อาทิ กากับดูแลและคอยตรวจสอบเบื้องต้น ซึ่งจัดต้ัง โบลท์ สกรู แหวน Cable tie และ เพ่ิมเติมนอกเหนือจากคณะทางานติดตั้งอุปกรณ์ Cable gland เปน็ ต้น หลกั (ทมี ตดิ ตงั้ ) ประกอบด้วย สายไฟ/สายสญั ญาณ ความยาวไม่ เพียงพอ ๑.๑ คณะทางานด้านนริ ภัยการช่าง ทาหน้าที่ตรวจสอบเกี่ยวกับความปลอดภัยของช่าง วธิ กี าร มกี ารกาหนดผรู้ ับผิดชอบด้านการ ขณะปฏิบัติงาน อาทิ ตรวจสอบการสวมใส่อุปกรณ์ (Method) ประสานงาน (Point Of Contact) นิรภัยของช่าง การตรวจสอบเก่ียวกับความ ปลอดภัย การตรวจสอบความเหมาะสมของ และผู้ที่ทาหนา้ ท่ีต่างๆ แตไ่ ม่ สภาพแวดลอ้ มขณะปฏิบัติงาน เปน็ ต้น ชดั เจนในภาระหน้าที่ ๑.๒ คณะทางานดา้ นควบคมุ คุณภาพ ลาดับงานไม่เป็นไปตามแผนท่ีวาง ทาหน้าท่ีตรวจสอบมาตรฐานการติดตั้ง ท่ีเกี่ยวข้อง ไว้ และส่งวสั ดอุ ปุ กรณล์ ่าชา้ ท้ังหมด เช่น มาตรฐานการติดต้ังสายเคเบิล มาตรฐานการติดต้ังอุปกรณ์ มาตรฐานชนิดของวัสดุ ใหเ้ วลาการดาเนินการน้อย อปุ กรณ์ คา่ เกณฑ์ที่กาหนด เป็นตน้ เคร่อื งมอื ไมม่ ีการตรวจสอบมาตรฐานการ ๒. เพ่ิมเติมกระบวนงาน เพื่อให้ครอบคลุม (Machine) ทางานหรอื มาตรฐานการติดตั้ง การปฏบิ ัติมากข้นึ ประกอบด้วย เครือ่ งมือเกา่ ลา้ สมยั - ก่อนเริ่มปฏิบัติงานในแต่ละวันจาเป็น คน ขาดความชานาญในการอ่านแบบ จะต้ องประชุ มสรุปงานร่วมกั น (Short Brief) (Man) ไมป่ ลอดภัยขณะปฏบิ ัตงิ าน ระหว่างหัวหน้าชุดติดตั้งฯ (ทุกคณะทางาน) ผู้ ควบคุมด้านนิรภัยการช่าง ผู้ควบคุมด้านคุณภาพ ร่างกายอ่อนล้า และฝ่ายแผนงาน ท้ั งนี้ เพ่ือให้ทราบถึงการ ปฏิบัติงานท่ีผ่านมา ประเด็นปัญหาและแนว ไมท่ ราบมาตรฐานการเดินสาย ทางการแก้ไข ตลอดจนแผนการปฏิบัติที่กาลังจะ ดาเนนิ การตอ่ ไป ไม่เขา้ ใจเกีย่ วกับระบบท่ีกาลัง ดาเนนิ การ - ฝ่ายแผนงานและประสานงาน (แผนงาน/ พัสดุ) นอกจากจะทาหน้าท่ีอานวยการ ติดตาม การเข้าหัวสายไมไ่ ด้มาตรฐานและ ตรวจสอบ และประเมินผลการปฏิบัติงานในภาพรวม ขาดความชานาญ แล้ว ยังต้องคอยปรับปรุงข้อมูลความก้าวหน้าการ ตดิ ต้งั อปุ กรณด์ ว้ ย พนื้ ท่ี อากาศไม่ถ่ายเท ปฏบิ ัตงิ าน แสงสวา่ งไม่เพียงพอ (Place) สิ่งกดี ขวางพืน้ ท่ที างาน หอ้ งสกปรก มฝี ่นุ ผง มีขยะ ๖๒ วารสารอเิ ล็กส์ ปีที่ ๒๔ ฉบบั ท่ี ๒๕

น อ ก จ า ก นี้ เพ่ื อ ให้ ก า ร ป ฏิ บั ติ เกิ ด ประสิทธิผล ควรจัดทาคู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual) เพื่อแสดงรายละเอียดกระบวนงานต่างๆ ข้ันตอนการปฏิบัติ มาตรฐานที่เก่ียวข้อง โครงสร้าง การจัดของคณะทางาน ขอบเขตความรับผิดชอบ และการตดิ ต่อประสานงาน เป็นต้น รวมท้ังให้จัดทา ลาดับการตรวจสอบ (Check List) ให้กับทุกสาย งาน เพื่อควบคุมการปฏิบัติให้ดาเนินตามแนวทางท่ี วางไว้ วารสารอเิ ลก็ ส์ ปีท่ี ๒๔ ฉบบั ท่ี ๒๕ ๖๓

๖๔ วารสารอเิ ลก็ ส์ ปีท่ี ๒๔ ฉบบั ท่ี ๒๕

อล.ทร. ใซนง่ึ บเปท็นคปวราะมโนยี้ชไดน้น์ตา่อเแสนนวอทเกาง่ียใวนกกับากรซา่อรซม่อบมารบุงาเชรุงิงตรุกามทสส่ี ภาามพาร(ถCวoเิ คnรdาitะioหn์แลBะaคsาeดdก(MาCรaoณinn์สtdถeitาniนoaภnncาพeB)aคsขวeาอdมง พร้อมใช้ หรืออาการชารุดของยุทโธปกรณ์ได้อย่างถูกต้อง แม่นยา และทันท่วงที ซึ่งการซ่อMมบaาinรุงteรูnปaแnบcบeน)ี้ จะช่วยลดความเสี่ยง ของอาการชารุดของ ยุทโธปกรณ์ ขั้นเสียหายรุนแรง การสูญเสียเวลาและงบประมาณ ในการจัดหาอะไหล่ เสริมสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ ให้แกบ่ ุคลากร ของ อล.ทร. และการบริหารจัดการทรัพยากร ที่มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพสูงข้ึน สาหรับเน้ือหาในบทความนี้ ได้นาเสนอแนวคิดในการซ่อมบารุงและปรับปรุง ของ อล.ทร. องค์ประกอบของการซ่อมบารุง ตามสภาพ ที่รวมถึงการใช้เครื่องมือที่ทันสมัยตรวจสอบสภาพ ยุทโธปกรณ์ และยกตัวอย่างกรณีศึกษาการประยุกต์ใช้ CBM กับการตรวจสอบสายอากาศเรดาร์ AMB ของ ร.ล.จักรีนฤเบศร พร้อมทั้งกล่าวถึงปัจจัยท่สี ่งผลกระทบต่ออุปกรณ์อิเล็กทรอนกิ ส์และคอมพิวเตอร์อกี ประการ หน่ึงดว้ ย เชน่ ผลกระทบ ของความร้อน ความชืน้ เปน็ ตน้ ๑. บทนำ ซ่อมบารุงยุทโธปกรณ์ ให้กับหน่วยต่างๆ ของ การดารงไว้ซึ่งความพร้อมรบของหน่วยต่างๆ กองทัพเรือ เพื่อให้คงอยู่ในสภาพหรือกลับคืนสู่ สภาพใช้การได้ ดังนั้น อล.ทร. จึงต้องปรับกระบวน เพื่อตอบสนองภารกิจของกองทัพเรือนั้น นับว่าเป็น ทัศน์การซ่อมบารุงยุทโธปกรณ์เดิม ให้เป็นไปใน ความท้าทายท่ียิ่งใหญ่ ของ อล.ทร. ด้วยขอบเขต ลักษณะเชิงรุกมากยิ่งข้ึน ทั้งทางด้านเครื่องมือซ่อม ความรับผิดชอบในการซ่อมบารุงยุทโธปกรณ์สาย บารุงและด้านองคค์ วามรู้ของบุคลากรใน อล.ทร. ให้ อิเล็กทรอนิกส์และคอมพวิ เตอร์ ทไ่ี ด้ติดต้ัง ยังหน่วย สอดคล้อง ได้มาตรฐาน และเป็นหน่วยเทคนิคท่ีมี ต่างๆ ซึ่งอดีตกระทั่งปัจจุบัน ทร. ได้ดาเนินการ การปฏิบตั งิ านแบบมืออาชีพ จัดหายุทโธปกรณ์สมัยใหม่ เพ่ือเสริมสร้างขีด ความสามารถทางการรบ แก่หน่วยกาลังรบ หน่วย ซึ่งการซ่อมบารุงสามารถแยกประเภทของ สนับสนุนการรบ และหน่วยช่วยรบ เป็นจานวน การซ่อมได้ ๓ ลักษณะ คือ กำรซ่อมบำรุงเชิง หลายรายการ และยังคงมีการดาเนินการจัดหาอย่าง ป้องกัน (Preventive Maintenance) กำรซ่อม ต่อเน่ือง แต่ด้วยเทคโนโลยีทางทหารที่ถูกพัฒนา บำรุงเชิงแก้ไข (Corrective Maintenance) และ อย่างก้าวกระโดด ส่งผลให้การซ่อมบารุง มีความ ก ำ ร ซ่ อ ม บ ำ รุ ง เชิ ง ค ำ ด ก ำ ร ณ์ (Predictive ยุ่งยาก และซับซ้อนตามไปด้วย จากพันธกิจของ Maintenance) โดยแนวคิดในการซ่อมบารุงหน่วย อล.ทร. ท่ีเป็นหน่วยเทคนิคที่มีหน้าท่ีรับผิดชอบการ เรือของ อล.ทร. จะสอดคล้องกับแผนการซ่อมบารงุ เรือ วารสารอเิ ล็กส์ ปีที่ ๒๔ ฉบบั ที่ ๒๕ ๖๕

(Planned Maintenance) ของ อร. (การซ่อมคืน แนวคิดในกำรซ่อมบำรุงและปรับปรงุ ของ อล.ทร. สภาพ การซ่อมตามระยะเวลา และการซ่อมจากัด) จากภารกิจและหน้าท่ีของ อล.ทร. ในการ ซึ่ง อล.ทร. จะพิจารณาความจาเป็นในการซ่อม บารุงอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ ของ เป็นหน่วยเทคนิค ที่รับผิดชอบในการซ่อมบารุง เรือ ให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน และมีความพร้อม อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ ซึ่งได้ ตามกาหนดการส่งมอบเรือ ของ อร. สาหรับการ กาหนดแนวคดิ ในการซ่อมบารงุ ไว้ ดังนี้ ซ่อมบารุงยุทโธปกรณ์ของหน่วยบก มีแนวทางการ ดาเนินการเช่นเดียวกับหน่วยเรือ ท้ังนี้ เพื่อให้หน่วย ๑. กำรซ่อมบำรุงอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์และ ผ้ใู ช้มีความพร้อมในการปฏิบัติราชการตามภารกิจท่ี คอมพิวเตอรเ์ รือ ได้ รับ ม อ บ ห ม าย จ าก ก อ งทั พ เรือ ได้ อ ย่ างมี ประสิทธภิ าพ ๑.๑ การสนบั สนุนเรือทเี่ ข้ารับการซ่อมบารุงตาม แผน อย่างไรก็ตาม แนวทางการซ่อมบารุงที่ สามารถวิเคราะห์และคาดการณ์สถานภาพความ ๑.๑.๑ อร. กาหนดประเภทของการซ่อม พร้อมใช้ หรืออาการชารุดของยุทโธปกรณ์ได้อย่าง บารุงตามแผน ว่าเป็นการซ่อมบารุงระดับโรงงาน ถกู ต้อง แม่นยา และทันท่วงที ก่อนที่ยุทโธปกรณ์จะ โดยแบ่งออกเป็น ๓ ประเภทคือ ชารุดเสียหาย โดยเฉพาะยุทโธปกรณ์ที่มีความสาคัญ และส่งผลกระทบโดยตรงต่อความสาเร็จได้ นั้น ๑.๑.๑.๑ การซ่อมคืนสภาพ (คส.) อร. จะ จาเป็นจะต้องผสมผสานแนวทางการซ่อมบารุงใน ดาเนินการเมื่อเครื่องจักรใหญ่ของเรือ มีช่ัวโมงใช้ หลายๆลักษณะร่วมกัน กล่าวคือ นาเอาแนวทาง งานครบกาหนด ต้องได้รับการซ่อมบารุงในข้ัน การ ซ่อมบารุงเชิงป้องกันและแนวทางการซ่อม Major Overhaul โดยมีขอบเขตการดาเนินการคือ บารุงเชิงคาดการณ์ ซึ่งใช้ชั่วโมงการใช้งานหรือ ปรับซ่อมเคร่ืองจักรใหญ่ ในขั้น Major Overhaul ระยะเวลาของการใช้งานยุทโธปกรณ์ ที่อ้างอิงตาม ปรับซ่อมเครื่องจักรช่วย อุปกรณ์ต่างๆ และตัวเรือ คู่มือการใช้งานจากบริษัทผู้ผลิต มาเป็นตัวกาหนด ใหม้ สี ภาพหรือสมรรถนะใกลเ้ คยี งกับของใหม่ ระยะเวลาดาเนินการที่เหมาะสม ตลอดจนการ นาเอาแนวทาง การซ่อมบารุงตามสภาพการใช้ ๑.๑.๑.๒ การซ่อมตามระยะเวลา (ตว.) จะ ง า น (Condition Based Maintenance) ซ่ึ ง ดาเนินการเม่ือเคร่ืองจักรใหญ่ของเรือ มีอายุการใช้ เป็นลักษณะของการซ่อมบารุงเชิงคาดการณ์ โดย งานครบกาหนด ต้องได้รับการซ่อมบารุง ในข้ัน วิธีการตรวจประเมินสถานภาพของยุทโธปกรณ์ Top Overhaul โดยมีขอบเขตการดาเนินการ คือ (Condition Assessment) ด้วยเครื่องมือพิ เศษ ปรับซ่อมเคร่ืองจักรใหญ่ ในขั้น Top Overhaul สาหรับ การตรวจสอบและประเมนิ สภาพการทางาน ปรับซ่อมเครื่องจักรช่วย อุปกรณ์ต่างๆ และตัวเรือ ของยุทโธปกรณ์นั้น เช่น เคร่ืองวัดความสั่นสะเทือน ต า ม ส ภ า พ ก า ร ใ ช้ ง า น (Condition Based เคร่ืองวัดระดับเสียง เครื่องตรวจจับความร้อน Maintenance) เคร่ืองวัดอุณหภูมิความชื้น เป็นต้น ทั้งนี้ เพื่อให้ ทราบถึงแนวโน้มการเปล่ียนแปลงค่าการทางาน ๑.๑.๑.๓ การซ่อมจากัดประจาปี (จก.ป.) ต่างๆ (Trend Analysis) ของยุทโธปกรณ์ ผ่านการ จะดาเนินการเม่ืออายุสีตัวเรือใต้แนวน้าครบ ๒ ปี วิเคราะห์และประเมิน กระท่ังสามารถคาดการณ์ โดยมีขอบเขตการดาเนินการ คือซ่อมทาตัวเรือใต้ การชารุดเสยี หายของยทุ โธปกรณ์ ตา่ งๆ ได้ แนวน้า เครอ่ื งจักรชว่ ย อปุ กรณ์อ่ืนๆ ตามสภาพการ ใช้งาน (Condition Based Maintenance) ๑.๑.๒ อล.ทร. มีการจัดทาแผนปฏิบัติ ราชการล่วงหน้า ๒-๓ ปี ที่สอดคล้องกับแผน การ ซ่อมบารุงเรือของ อร. โดยพิจารณา ความจาเป็น ในการซ่อมบารุงเรือให้มีคุณภาพ ตามมาตรฐาน ดว้ ยการใชง้ บประมาณอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ อุปกรณ์ ๖๖ วารสารอิเล็กส์ ปีท่ี ๒๔ ฉบบั ที่ ๒๕

อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์มีความพร้อมตาม อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ต่างๆ ได้ กาหนดการสง่ มอบเรอื ของ อร. เพ่ือให้มีจานวนเรือ เช่นเดยี วกับระบบของ อร. เพียงพอ และมีความพร้อมปฏิบัติราชการ ตาม ภารกิจท่ีได้รับมอบอย่างมีประสิทธิภาพ มีขอบเขต ๑.๒.๑ แนวคดิ การดาเนินการ การดาเนินการ ดงั นี้ ภายหลังการซอ่ มบารุงตามแผนแลว้ เสรจ็ และ ได้ส่งมอบเรือให้กับหน่วยผู้ใช้แล้ว หน่วยซ่อม ต่างๆ ๑.๑.๒.๑ การซ่อมคืนสภ าพ (คส.) มี จะติดตามผลการซ่อมบารุงและสนับสนุนการซ่อม ขอบเขตการดาเนินการคือปรับซ่อมระบบจัดการตัว บารุงทั้งในลักษณ ะของการซ่อม ป้องกันและ เรือแบบรวมการ ระบบควบคุมเครื่องจักรใหญ่ ก า ร ซ่ อ ม แ ก้ ไ ข (Preventive and Corrective ระบบเครื่องจักรช่วย ตลอดจนระบบการรบ ให้ Maintenance) จนกว่าเรือจะเข้ารับการซ่อมบารุง สอดคล้องกับ อร. ในข้ัน Major Overhaul รวมท้ัง ตามแผนในครง้ั ตอ่ ไป โดย ปรับซ่อมอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ให้มีสภาพ ๑.๒.๑.๑ ตรวจสอบและประเมินสภาพ หรอื สมรรถนะใกล้เคยี งกับของใหม่ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ ตามสภาพ การใช้งาน (Condition Assessment: CA) หากพบ ๑.๑.๒.๒ การซ่อมตามระยะเวลา (ตว.) สิ่งบอกเหตขุ อ้ ขัดข้อง จะทาการซอ่ มบารงุ ทนั ที มีขอบเขตการดาเนินการคือปรับซ่อมระบบจัดการ ๑.๒.๑.๒ สนับสนุนการซ่อมบารุงแก้ไข ตัวเรือแบบรวมการ ระบบควบคุมเครื่องจักรใหญ่ (Corrective Maintenance) ตามที่เรือรอ้ งขอ ระบบเครื่องจักรช่วย ตลอดจนระบบการรบ ให้ ๑.๒.๑.๓ สนับสนุนการซ่อมบารุงตามแผน สอดคล้องกับ อร. ในขั้น Top Overhaul รวมทั้ง (PMS) ระดับกลางและระดบั โรงงาน ปรับซ่อมอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ตามสภาพ ๑.๒.๑.๔ รวบรวมข้อมูล สถานะภาพ การใชง้ าน (Condition Based Maintenance) อุปกรณ์ฯ ท้ังจากการประเมินตามชั่วโมงการใช้งาน (Time Assessment: TA) และการประเมินตาม ๑.๑.๒.๓ การซ่อมจากัดประจาปี (จก.ป.) มี สภาพการใช้งาน (Condition Assessment: CA) ขอบเขตการดาเนินการคือปรับซ่อมระบบจัดการตัว เพ่ือกาหนดขอบเขตของการซ่อมบารุง จัดเตรียม เรือแบบรวมการ ระบบควบคุมเคร่ืองจักรใหญ่ งบประมาณและอะไหล่ รองรับเรือเม่ือเข้าซ่อมบารุง ระบบเคร่ืองจักรช่วย ตลอดจนระบบการรบ ให้ ตามแผนครง้ั ตอ่ ไป สอดคล้องกับการดาเนินการของ อร. รวมท้ังปรับ ๑.๒.๒ การดาเนินการติดตามผลการซ่อม ซ่อมอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ตามสภาพการใช้ บารุง กอล.๑ กอล.๒ และ กอล.๓ จะมีแผนการ งาน (Condition Based Maintenance) สนับสนนุ ให้กับเรอื ทกุ ลาในความรับผิดชอบ ๑.๓ อล.ทร. โดย กผกช.ฯ จะจัดทาแผนปฏิบัติ ๑.๑.๒.๔ การซ่อมจากัด เป็นการซ่อมทา ราชการล่วงหน้า ๒-๓ ปี อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ให้กับหน่วยต่างๆ ตามการ เพื่อจัดเตรียมงบประมาณในการจัดหาพัสดุ ร้องขอหรือขอรับการสนับสนุนการตรวจสอบใน สนับสนุนเรือในกลุ่มเรือพร้อมกับ แผนการซ่อม กรณที ี่หนว่ ยต่างๆ ไม่สามารถดาเนินการเองได้ บารุงเรือของ อร. โดยพิจารณาความจาเป็น ในการ ๑.๒ การสนบั สนนุ เรือในกลุ่มเรอื พร้อม ซอ่ มบารุงเรือให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน ด้วยการใช้ งบ ป ระม าณ อ ย่ างมี ป ระสิ ท ธิภ าพ อุ ป ก รณ์ ภายหลังจาก ที่ อร. แผนได้ซ่อมบารุงเรือต่างๆ อิ เล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ แ ล ะ ค อ ม พิ ว เต อ ร์ มี ค ว า ม พ ร้ อ ม ท่ีเข้ารับการซ่อมบารุงตามแผนประจาปีแล้วเสร็จ สอดคล้อง ตามการส่งมอบเรือ ของ อร. เพ่ือให้ และส่งมอบเรือให้กับหน่วยผู้ใช้เรือแล้วเรือเหล่านั้น หน่วยผู้ใช้เรือมีจานวนเรือเพียงพอ และมีความ จะถือว่าอยู่ในสถานะเรือพร้อม หากในระหว่างการ ใช้งาน ก่อนถึงวงรอบ ๒ ปี ในการดาเนินการตาม แผนแบบ จก.ป. ซึ่งอาจเกิดการชารุดของระบบ วารสารอิเล็กส์ ปีที่ ๒๔ ฉบบั ที่ ๒๕ ๖๗

พร้อมปฏิบัติราชการตามภารกิจที่ได้รับมอบอย่างมี ๔. กำรจดั ทำโครงกำรปรับปรุงระบบ ประสทิ ธิภาพ ระบบหลักของเรือ มีอายุการใช้งานประมาณ ๒. กำรซ่อมบำรุงอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์และ ๒๐-๓๐ ปี ท้ังน้ีเนื่องจากอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มี คอมพวิ เตอร์หนว่ ยบก ความหลากหลาย และมีอายุการใช้งานต่างกัน เช่น คอมพิวเตอร์มีอายุใช้งาน ๕ ปี จาเป็นต้องเปลี่ยน มีแนวทางการดาเนินการเช่นเดียว กับหน่วย ฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ซึ่งส่วนใหญ่มีลิขสิทธิ์ เรือ โดย อล.ทร. จะจัดทาแผนปฏิบัติราชการ เฉพาะมีฮาร์ดล็อกควบคุมการทางานอีกชั้นหน่ึง ล่วงหน้า ๒-๓ ปี เพื่อจัดเตรียมงบประมาณในการ เรดาร์หรือวิทยุ ส่วนใหญ่มีข้อจากัดเรื่องอะไหล่ท่ี สนับสนุนพัสดุให้กับหน่วยบก โดยพิจารณาความ ประกอบเป็นเคร่ือง จึงมีอายุเฉลี่ยประมาณ ๑๐ ปี จาเป็นในการซ่อมบารุง ให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน ในการเปลี่ยนเครื่องทดแทนหลายคร้ังก็ไม่อาจทาได้ ด้วยการใชง้ บประมาณอยา่ งมีประสิทธิภาพ อุปกรณ์ เน่ืองจากเป็นข้อจากัดของระบบที่จะต้องทางาน อิ เล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ แ ล ะ ค อ ม พิ ว เต อ ร์ มี ค ว า ม พ ร้ อ ม ร่วมกันแบบ Forward Compatible และ Backward เพื่อให้หน่วยผู้ใช้มีความพร้อมปฏิบัติราชการตาม Compatible จึงจาเป็นตอ้ งปรับปรุงท้ังโครงการ เช่น ภารกิจท่ีได้รับมอบอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ โครงการปรับปรุงระบบการรบ ร.ล.นเรศวร และ ร.ล.จักรีนฤเบศร เป็นต้น ๒.๑ การซ่อมบารุงตามแผน ใช้แนวทาง เช่นเดียวกับ การซ่อม จก.ป . มีขอบ เขตการ ๕. กำรจำหน่ำยพัสดุ ดาเนินการ คือ ปรับซ่อมอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นการดาเนินการเพ่ือจาหน่ายอุปกรณ์ ต่างๆ ตามสภาพการใช้งาน (Condition Based Maintenance) โดย กผกช.ฯ จะจัดทาแผนสารวจ อิเล็กทรอนิกส์ ออกจากบัญชี/ทะเบียนครุภัณฑ์ และซ่อมบารงุ อุปกรณ์ ปลี ะ ๑ ครงั้ หลังจากการตรวจสอบและซ่อมบารุงแล้ว ไม่ สามารถใช้ราชการได้ แบ่งการจาหน่ายได้ ๓ ๒.๒ การซ่อมบารุงอุปกรณ์ฯ พร้อมใช้ ใช้ ประเภท คือ การซ่อมทา ตามแผนการจาหน่ายเรือ แนวทางเช่นเดียวกับการซ่อมบารุงเรือพร้อมใช้มี และตามโครงการปรบั ปรงุ เรือ ข อ บ เข ต ก า ร ด า เนิ น ก า ร คื อ ป รั บ ซ่ อ ม อุ ป ก ร ณ์ อิเล็ก ท รอ นิ ก ส์ต่ างๆ ต าม ส ภ าพ การใช้ งาน ปญั หำและอปุ สรรคในกำรซอ่ มบำรงุ (Condition Based Maintenance) กระบวนการซ่อมบารุงท่ีสามารถดารงไว้ซึ่ง ๓. กำรสำรวจอุปกรณฯ์ ความพร้อมรบของหน่วยต่างๆ เพื่อตอบสนอง ๓.๑ เป็นการดาเนินการเพ่ือให้ทราบถึง ภารกิจของ ทร. นั้น นับว่าเป็นจุดมุ่งหมายหลักของ การซ่อมบารุง ที่ผ่านมา อล.ทร. ใช้ลักษณะการซ่อม สถานะของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ บารุงตามแผน (Planned Maintenance) และการ ท้งั น้มี ีวตั ถปุ ระสงค์ท่ีสาคัญคือ เพ่ือนาข้อมูลดังกล่าว ซ่อมบารุงแก้ไข (Corrective Maintenance) เป็นส่วน ไปกาหนดขอบเขตงานซอ่ มทา (Scope of Work) ใหญ่ ซึ่งมักจะประสบกับปัญหาเดิมๆ แบบซ้าซาก ได้แก่ ๓.๒ กองโรงงานอิเล็กทรอนิกส์ฯ มีหน้าท่ี สารวจอุปกรณ์ฯ ของเรือทุกลาท่ีจะเข้าซ่อมบารุง ๑. การซอ่ มบารงุ ตามรายงานขอใหต้ รวจสอบ ตามแผนซ่อมประจาปี เพ่ือจัดทารายการซ่อมบารุง หรือซ่อมทาจากหน่วยผู้ใช้ ซึ่งยุทโธปกรณ์น้ัน มัก กาหนดขอบเขตงาน จดั ทาใบส่ังงาน จัดทาแผนซอ่ ม เกิดการชารุดไปแล้ว จึงไม่สามารถวางแผนการซ่อม ทาระดับโรงงาน เตรียมการเร่ืองพัสดุและอะไหล่ บารุงล่วงหน้าได้ และทาให้ไม่สามารถเตรียม สาหรับอุปกรณ์ ฯของหน่วยบกจะสารวจและ พจิ ารณาสนบั สนนุ เป็นกรณไี ป ๖๘ วารสารอิเลก็ ส์ ปีท่ี ๒๔ ฉบบั ที่ ๒๕

งบประมาณหรืออะไหล่ล่วงหน้า เพ่ือรองรับการ ๔. บริหารจัดการทรัพยากรท่ีมีอยู่ เพื่อเพิ่ม ซอ่ มทาได้ ประสทิ ธภิ าพการทางาน ๒. อาการชารุดของยุทโธปกรณ์เสียหาย ๒. กำรซ่อมบำรุงตำมสภำพ (Condition Based รุนแรง จนไม่สามารถซ่อมบารุงให้คงอยู่ในสภาพ Maintenance: CBM) หรอื กลับคนื สสู่ ภาพใช้ราชการได้ การบารุงรักษาตามสภาพ หมายถึง การ ๓. การซ่อมบารุงแบบป้องกัน เป็นการซ่อม ตรวจสอบสภาพ (ค่าการทางาน) ของยุทโธปกรณ์ บารุงก่อนที่ยุทโธปกรณ์น้ันจะชารุด ซึ่งคานวณ ด้วยเครื่องมือ วิธีการ หรือเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม ระยะเวลาซ่อมบารุง จากช่ัวโมงการใช้งานหรือ ทง้ั น้ี เพื่อตรวจสอบหาความผดิ ปกติของยุทโธปกรณ์ ระยะเวลาของการใช้งานยุทโธปกรณ์ แต่ด้วย โดยเทียบค่าการทางานกับมาตรฐานหรือเอกสาร สภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน อาจเกิดการชารุดก่อน ข้อกาหนด(Specification) จากบริษัทผู้ผลิต หาก ถึงเวลาอนั ควร เราเปรียบเทียบการดาเนินการของการซ่อมบารุง ป้องกัน (Preventive Maintenance) และการซ่อม ๔ . ใน กรณี ที่ ต้องจัดส่ง จน ท . (Mobile บารุงแก้ไข (Corrective Maintenance) แล้วการ Team) เพ่ือสนับสนุนการซ่อมบารุงบ่อยๆ ครั้ง บารุงรักษาตามสภาพจะสามารถช่วยลดความเสี่ยง อล.ทร. จะต้องสูญเสียเวลาและงบประมาณเป็น ของการชารุดเสียหายแบบรุนแรงหรือการเกิด จานวนมาก ในการจัดหาอะไหล่และจัด จนท. ไป ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ เน่ื อ ง (Domino Effect) ข อ ง ดาเนินการ ยุทโธปกรณ์ได้มากกว่า และยังช่วยลดค่าใช้จ่าย ลด การทางานซ้าซ้อน และเพิ่มความปลอดภัยของ ๕. กระบวนการซ่อมบารุงไม่เสริมสร้างองค์ ยุทโธปกรณ์ได้ดีอกี ด้วย นอกจากน้ัน การบารุงรกั ษา ความรู้ใหม่ๆ ให้แก่บุคลากร จึงไม่สามารถพัฒนา ตามสภาพสามารถลดช่องว่างของการซ่อมบารุง องค์ความรู้แกบ่ คุ ลากรได้ ป้องกัน โดยไม่จาเป็นต้องรอดาเนินการเปลี่ยน อะไหล่ เมื่อถึงเวลาเปลี่ยนอะไหล่ตามแผน (Time ๖. เคร่ืองมือพิเศษสาหรับการตรวจสอบและ Base Maintenance) ซ่ึงอาจเกิดการชารุดได้ก่อน ประเมินสภาพการทางานของยุทโธปกรณ์ ท่ีอยู่ใน กาห น ด จน ส่งผลกระท บ เสียห ายรุน แรงได้ ความรับผิดชอบของ อล.ทร. ไม่ถูกนาไปประยุกต์ใช้ แม้กระท่ังการประยุกต์ใช้กับการซ่อมบารุงแก้ไข ก็ เพอื่ เพ่มิ ประสิทธิภาพการทางาน สามารถช่วยตรวจสอบความผิดปกตขิ องยทุ โธปกรณ์ ได้อย่างทันท่วงที ดังนั้น การบารุงรักษาตามสภาพ ๗. ยุทโธปกรณ์ทางทหารได้รับการพัฒนา จงึ ช่วยเพิ่มประสิทธภิ าพการทางาน สามารถควบคุม อย่างต่อเนื่อง แต่องค์ความรู้ด้านการซ่อมบารุง ยัง ความเสียหายให้อยู่ในขอบเขต เพ่ิมความพร้อมใช้ ไม่แพร่หลายมากนัก โดยเฉพาะการประยุกต์ใช้ งานและความน่าเช่ือถือ โดยไม่จาเป็นต้องสูญเสีย เคร่ืองมือตรวจวัดเพ่ือการซ่อมบารุง ทาให้การ เวลาและงบประมาณ จากการจัดหาอะไหล่และจัด พัฒนาเทคนิคและวิธีการด้านการซ่อมบารุงใหม่ๆ ทีมไปดาเนินการ (กรณีชารุดเสียหายรุนแรง) เป็นไปอยา่ งยากลาบาก เหมอื นเชน่ เคย วัตถปุ ระสงค์กำรซอ่ มบำรุงตำมสภำพ ๑. ลดความเสี่ยงของอาการชารุดของ ยทุ โธปกรณข์ น้ั เสยี หายรุนแรง ๒. ลดการสูญเสียเวลาและงบประมาณ จาก การจัดหาอะไหล่และจัดทมี ไปดาเนนิ การ ๓ . เสริมสร้างองค์ความรู้ให ม่ๆ ให้ แก่ บคุ ลากร ของ อล.ทร. วารสารอิเล็กส์ ปีที่ ๒๔ ฉบับที่ ๒๕ ๖๙

ภำพที่ ๑ การผสมผสานการซอ่ มบารงุ หลายประเภทใหเ้ กิด ทย่ี ุทโธปกรณ์กาลงั ทางาน หากยุทโธปกรณ์เหล่าน้ัน ประสทิ ธภิ าพสูงสดุ เร่ิมมีอาการชารุดเสียหายหรือผิดปกติ จะแสดง สัญญาณบางอย่างออกมา เช่น เสียงดัง อุณหภูมิ การวางแผนการซ่อมบารุง (Maintenance Plan) ความร้อนสูงข้ึน การสั่นสะเทือน เป็นต้น ดังน้ัน ใหเ้ กิดประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ลได้น้นั ข้ึนอย่กู ับ หากสามารถตรวจจับสัญญาณที่ผิดปกติเหล่านี้ได้ก็ การผสมผสานการใช้งานของการซ่อมบารุงแต่ละ จะสามารถประเมิน วิเคราะห์ และกาหนดแนว ประเภทอย่างเหมาะสม โดยไม่สามารถละท้ิงอย่าง ทางการซ่อมบารุงด้วยวิธีการต่างๆ ได้ก่อนท่ี ใดอย่างหนึ่งได้ เป็นการลดช่องว่างการซ่อมบารุงที่ ยุทโธปกรณ์จะเสียหาย โดยการตรวจสอบสภาพ ไม่อาจ คาดเดาเหตุการณ์หรือช่วงเวลาเกิดเหตุได้ สามารถทาได้หลายลักษณะ ไดแ้ ก่ ซ่ึงการผสมผสานการซ่อมบารุงนี้ นอกจากจะมี ความยืดหยุ่นสูง ยังสามารถเพิ่มค่าประสิทธิภาพ ๑. การสังเกตความผิดปกติของยุทโธปกรณ์ โดยรวมของยุทโธปกรณ์ได้ (Overall Equipment ด้วยประสาทสัมผัสของช่าง เช่น การฟังเสียง การ Effectiveness: OEE) เนื่องจากโอกาสเกิดการ ดมกลิ่น ใชม้ อื สมั ผสั ความร้อนหรืออาการส่ัน เสี ย ห าย ข อ งยุ ท โธ ป ก รณ์ ล ด น้ อ ย ล ง ท าให้ ยุทโธปกรณ์สามารถทางานได้อย่างต่อเนื่องเต็ม ๒. การตรวจสอบสภาพภายนอกของ ประสทิ ธิภาพ ยุทโธปกรณ์ เช่น รอยแตก รอยร้าว รอยรั่ว อาการ ผดิ รูป/ตาแหนง่ OE= Availability x Performance x Quality ๓. การตรวจสอบค่าการทางานจากอุปกรณ์ โดยท่ี เตือนประจายุทโธปกรณ์นั้นๆ (Warning Device) เช่น เกจวัดความดัน/อุณหภูมิ หรือบางอุปกรณ์มี การบารุงรักษาตามสภาพ หรือบางครั้ง ระบบตรวจวัดค่าความผิดปกติของระบบ (Fault เรียกว่า การบารุงรักษาเชิงคาดการณ์ (Predictive Alarm) Maintenance) เปน็ วิธีการซ่อมบารุงตามสถานภาพ ท่เี ปน็ อยขู่ องยุทโธปกรณ์ ซงึ่ ใชห้ ลกั การที่ว่า ในขณะ ๔. เครื่องมือตรวจวัดพิเศษสาหรับการ ตรวจสอบสภาพ เช่น เคร่ืองวัดความสั่นสะเทือน เครื่องวัดระดับเสียง เครื่องตรวจจับความร้อน เครอ่ื งวดั อณุ หภมู ิความช้นื เปน็ ตน้ ๒.๑ เครื่องมอื ตรวจสอบสภำพยทุ โธปกรณ์ ด้ ว ย เท ค โน โล ยี ท่ี พั ฒ น า ก้ า ว ห น้ า ไป อ ย่ า ง ต่อเน่ือง เช่นเดียวกับเครื่องมือตรวจสอบสภาพ/ ตรวจวัดค่าการทางานของอุปกรณ์สาหรับ ช่าง ซ่อมบารุง ท้ังน้ี เพื่อเป็นเคร่ืองมือท่ีช่วยให้ข้อมูล พื้นฐานเก่ียวกับการทางานของอุปกรณ์ อาทิ อุณหภูมิ เสียง ความเร็ว ความส่ันสะเทือน และอื่นๆ เพ่ือใช้สาหรับการประเมินสภาพและการวิเคราะห์ หาสาเหตุการชารุดหรืออาการผิดปกติต่างๆ ของ อุปกรณ์ได้ ๗๐ วารสารอเิ ล็กส์ ปีท่ี ๒๔ ฉบับท่ี ๒๕

อล.ทร. เป็นหน่วยงานเทคนิคที่มีเคร่ืองมือ เค ร่ือ งมื อ ต รวจวั ด Infrared thermometer ที่ ตรวจสอบสภาพของยุทโธปกรณ์ อยู่ในความ อล.ทร. โดยหน่วยซ่อมบารุง (กอล.๒ และ กอล.๓) รับผิดชอบหลายประเภท ไม่ว่าจะได้มาพร้อมกับ เช่น (Fluke Ti20, 561, 62 MAX และ 65 MAX), ระบบใหม่ (เคร่ืองมือประจาเครื่อง) หรือการจัดหา OPTEX MTM-300 และ X-400, LUTRONTM-958, เพื่อสนับสนุนการซ่อมบารุงก็ตาม ล้วนแล้วแต่เป็น XOPTEX X-400C, Infrared and K-type IRT-DT- เคร่อื งมือพนื้ ฐานจาเป็นสาหรับช่างซ่อมบารุง เพราะ 50-1050K เป็นต้น ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ส ภ า พ ยุ ท โธ ป ก ร ณ์ ช่ า ง ซ่ อ ม บ ารุ ง จาเป็นต้องรับรู้สถานภาพปัจจุบันล่าสุด (Real ๒. เครอื่ งวดั ระดับเสยี ง (Sound Level Meter) time) หากเริ่มมีความเสียหายหรือความผิดปกติก็ เป็นเคร่ืองมือสาหรับการตรวจวัดระดับความ สามารถดาเนินการแก้ไขได้อย่างทันท่วงที โดย ดังของเสียง ว่ามีค่าความดังเกินเกณฑ์หรือไม่ โดย เครอ่ื งมอื ตรวจสอบสภาพยทุ โธปกรณท์ ่ี อล.ทร. มไี ว้ ส่วนใหญ่จะถูกนามาประยุกต์ใช้กับเครื่องจักรหรือ ใชใ้ นราชการ ประกอบดว้ ย ยุทโธปกรณ์ท่ีมีส่วนเคลื่อนไหว เพื่อตรวจสอบความ ผิดปกติขณะเคร่ืองกาลังทางาน ใช้หลักการทางาน ๑. เคร่ืองมือตรวจจับความร้อน (Infrared แปลงสัญญาณเสียงท่ีได้จากไมโครโฟนเป็นสัญญาณ Thermometer) ทางไฟฟ้าและมีหน่วยวัดเป็น เดซิเบล (Decibel: dB) เป็ น เคร่ืองมือตรวจวัดรังสีอิน ฟ ราเรด (Infrared) ซึ่งแผ่ออกจากวัตถุขณะกาลังทางาน ภำพที่ ๓ การใชง้ าน Sound Level Meter ตรวจวดั ความ และใช้หลักการแปลค่าปริมาณ ของพลังงาน ดงั ของสายอากาศเรดาร์ อินฟราเรดท่ีแผ่ออกจากวัตถุและค่า Emissivity ของวัตถุเป็นอุณหภูมิ ซึ่งการใช้งานส่วนใหญ่ จะใช้ ๓ . เค รื่ อ ง วั ด อุ ณ ห ภู มิ แ ล ะ ค ว า ม ชื้ น ในกรณี การวัดอุณ หภูมิท่ีพื้นผิวของวัตถุจาก (Temperature Humidity Meter) ระยะไกล วตั ถุซึ่งอย่ใู นพืน้ ท่ีทย่ี ากแก่การเขา้ ถึง หรือ วัตถุซ่ึงมีความร้อนมากไม่สามารถสัมผัสกับวัตถุได้ เป็ น เค รื่ อ ง มื อ ต ร ว จ วั ด อุ ณ ห ภู มิ โดยตรง โดยเครื่องมือตรวจจับความร้อนน้ีเป็นหน่ึง (Temperature) และความชื้นสัมพัทธ์ (Relative ในเครือ่ งมือพื้นฐานการสนับสนนุ การซ่อมบารุงของ Humidity: RH) สาหรับห้องปฏิบัตกิ ารหรือห้องเก็บ ช่างอิเล็กทรอนิกส์ เพ่ือตรวจสอบปริมาณความร้อน อุปกรณ์ ท่ีต้องการควบคุมระดับความร้อน/เย็น ของยุทโธปกรณ์ว่ามีความร้อนเกินค่าเกณฑ์การ และปริมาณ ความช้ืนภายในห้อง ปัจจุบันได้ ทางานปกติหรือไม่ อาทิ ตู้อุปกรณ์ Circuit Breaker ก ล า ย เป็ น เค รื่ อ ง มื อ ท่ี มี ค ว า ม ส า คั ญ แ ล ะ จ า เป็ น ตู้อุปกรณ์ Power Supply แผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ สาหรับการตรวจวัดและบันทึกจัดเก็บข้อมูลแบบ สายไฟฟ้า เป็นตน้ อัตโนมัติ เพราะสามารถให้ข้อมูลพ้ืนฐานของการ เปล่ียนแปลงสภาวะแวดล้อมภายในห้องได้เปน็ อยา่ ง ภำพท่ี ๒ การใช้งาน Infrared Thermometer สนับสนุน ดี โดยเฉพาะในกรณีท่ีต้องการวิเคราะห์ปัญหา การซอ่ มทา หาสาเหตุการชารุดของยุทโธปกรณ์ หรือการป้องกัน การชารุดเสียหายของอุปกรณ์ (Environmental วารสารอิเลก็ ส์ ปีที่ ๒๔ ฉบบั ท่ี ๒๕ ๗๑

Monitoring) หากอณุ หภูมิและความช้ืนมผี ลกระทบ ๒.๒.๑ กำรตรวจสอบสถำนภำพสำยอำกำศ ตอ่ ประสทิ ธิภาพการทางานของเคร่อื ง โดยท่ีรายการ เรดำร์ เครื่องมือตรวจวัดอุณหภูมิและความช้ืนที่ อล.ทร. โดยหนว่ ยซ่อมบารุง (กอล.๒ และ กอล.๓) มีไว้ใช้ใน ๑. เมื่อ ๒ มี.ค.๖๐ ร.ล.จักรีนฤเบศร ได้ ราชการ เช่น Temperature Humidity Meter ตรา ตรวจพบสายอากาศเรดาร์ AMB มีเสียงดังผิดปกติ อักษร Tenmars รุ่น TM-185D และตราอักษร AZ ขณะทาการแพร่คลื่น ทางเรือจึงเสนอรายงานซ่อม ร่นุ 87799 เปน็ ตน้ ทามายัง อล.ทร. เพื่อให้ดาเนินการตรวจสอบ ต่อมา อล.ทร. ได้ประสานไปยังบริษัท Saab AB(publ) ภำพที่ ๔ การใช้งาน Temperature Humidity Meter เนื่องจากระบบฯ นั้น ยังคงอยู่ในระยะเวลา ตรวจวดั อณุ หภมู ิและความชื้นภายในห้อง รับประกัน (ส้ินสุดใน ๑๖ ธ.ค.๕๙) เพ่ือขอรับการ สนับสนุนเจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญ มาดาเนินการ ๒.๒ กรณีศึกษำกำรประยุกต์ใช้ CBM กับกำร ต ร ว จ ส อ บ ส ภ า พ แ ล ะ ห า ส า เห ตุ ข อ ง เสี ย ง ซ่ึ ง ดั ง ตรวจสอบสำยอำกำศเรดำร์ AMB ของ ร.ล. ผิดปกติ จักรีนฤเบศร ๒. จนท.อล.ทร. (แผนกเครื่องเรดาร์ กอล.๓) ความเป็นมา ร.ล.จักรีนฤเบศร เป็นเรือบรรทุก ร่ว ม กั บ ผู้ ป ระส าน งาน ข อ งบ ริษั ท Saab ได้ เฮลิคอปเตอร์ ที่มีระวางขับน้า ๑๑,๗๔๓ ตัน และมี ดาเนินการตรวจวัดระดับความดังของเสียง ใน ขีดสมรรถนะสงู ในการปฏิบัติการทางเรือและภารกิจ บริเวณสายอากาศเรดาร์ ท่ีตาแหน่งต่างๆ ซึ่ง ต่างๆ ให้กับกองทัพเรือ กระทั่งปัจจุบัน ร.ล.จักรีนฤ คาดการณ์ว่าเป็นต้นเหตุของเสียงที่ดังผิดปกติ ด้วย เบศร ได้รับการปรับปรุงระบบการรบ (Combat เครื่องมือตรวจวัดเสียง (Sound Level Meter) System) ประกอบด้วยระบบย่อยต่างๆ ได้แก่ ตราอักษร TES รุ่น 1352H ทั้งน้ีเพื่อตรวจสอบหา ระบบอานวยการรบ (CMS) ระบบเรดาร์ตรวจการณ์ ข้อเท็จจริงเบ้ืองต้น โดยตรวจสอบที่รอบการหมุน (AMB) ระบบพิสูจน์ฝ่าย (IFF) ระบบเรดาร์เดินเรือ ของสายอากาศเรดาร์ท่ีแตกต่างกัน (๓๐/๖๐ รอบ ระบบ Radar ESM ระบบเชือ่ มโยงขอ้ มลู ทางยุทธวิธี ต่อนาที) โดยผลการตรวจสอบระดับความดังของเสียง (Tactical Data Link) ร ะ บ บ Aircraft Mission ขณะหมุนสายอากาศเรดาร์ AMB ของ ร.ล.จักรีนฤเบ Planning System (AMPS) ร ะ บ บ Automatic ศร ดว้ ย Sound Level Meter สามารถสรปุ ได้ดงั นี้ Dependent Surveillance-Broadcast (ADS-B) ระ บ บ Plotting Table ระบ บ Electronic Chart ระดับความดังของเสยี งสายอากาศเรดาร์ AMB Display and Information System (ECDIS) ระบ บ CCTV System แ ล ะ ร ะ บ บ AIS: Automatic ร.ล.จกั รีนฤเบศร Identification System ซึ่งกองทัพเรือได้รับระบบ การรบนไ้ี วใ้ ชใ้ นราชการ ต้ังแต่ ๒๑ ก.ย.๕๘ ๓๐ รอบ/นาที ๖๐ รอบ/นาที ๘๒-๘๓ dBm ๙๓ dBm ภำพที่ ๕ การใช้งาน Sound Level Meter ตรวจวดั ความ ดังของสายอากาศเรดาร์ บน ร.ล.จักรีนฤเบศร ๗๒ วารสารอเิ ล็กส์ ปีที่ ๒๔ ฉบบั ท่ี ๒๕

แต่ด้วยบริษัทผู้ผลิตเรดาร์ ไม่ได้กาหนดเกณฑ์ แนวทางแก้ปัญหาต่อไป แต่โดยความคิดเห็นใน มาตรฐานระดับความดังเสียงของสายอากาศในขณะ เบื้องตน้ นา่ จะเกิดจาก Main Bearing ชารุด เรดาร์หมุนทางาน และไม่เคยเกิดเหตุการณ์ใน ลักษณะน้ีมาก่อน จึงจาเป็นต้องใช้ลักษณะการ ๔. เม่ือ ๒๓ มี.ค.๖๐ บริษัท Saab ได้สรุป เปรียบเทียบระดับเสียงกับระบบเรดาร์ตรวจการณ์ สาเหตุเบอ้ื งต้นของระดบั เสยี งท่ดี ังผิดปกตขิ องเรดาร์ ตราอักษรและแบบ/รุ่นเดียวกัน (Radar AMB) ซึ่ง AMB บน ร.ล.จักรีนฤเบศร และได้กาหนดแนว สามารถนามาเปรียบเทียบกับเรดาร์ของ ร.ล. ทางการแก้ปัญหา ดงั น้ี นเรศวร และ ร.ล.ตากสิน ได้ โดยผลการตรวจสอบ ระดับความดังของเสียงสายอากาศเรดาร์ AMB ๔.๑ สาเหตุของเสียงดังผิดปกติขณะหมุน ขณ ะกาลังหมุนทางานของ ร.ล.จักรีนฤเบศร สายอากาศ นั้น เกิดจากการชารุดของอุปกรณ์ชุด เปรียบเทียบกับ ร.ล.นเรศวร และ ร.ล.ตากสิน ด้วย Main Bearing ในสายอากาศ ซึ่งการตรวจสอบ Sound Level Meter สามารถสรปุ ไดด้ งั นี้ สาเหตกุ ารชารดุ ของอุปกรณ์ดังกลา่ ว จะตอ้ งถอดชุด อุปกรณ์ท่ีเก่ียวข้อง ส่งไปวิเคราะห์และตรวจสอบ จาก ต ารางเป รีย บ เที ย บ ระดั บ ค ว าม ดั งขอ ง อย่างละเอยี ดยงั โรงงานผู้ผลิตในต่างประเทศ สายอากาศเรดาร์ AMB แสดงให้เห็นได้อย่างชัดเจน ว่าเรดาร์ของ ร.ล.จักรีนฤเบศร มีความผิดปกติทาง ๔.๒ การแก้ไขปัญหาการ กลส่วนล่าง (Turntable) เน่ืองจาก มีระดับความ ชารุดในระยะยาว ได้แก่ การ ดังที่สูงกว่าเรดาร์ลาอื่น ดังน้ัน อล.ทร. จึงได้ระงับ เปลี่ยนชุด Main Bearing โดยจะ การใช้งานเรดาร์ AMB ของ ร.ล.จักรีนฤเบศร ไว้ ใช้ เว ล า ผ ลิ ต ก ร ะ ทั่ งส่ งม อ บ ช่ัวคราว ท้ังนี้ เพื่อป้องกันการชารุดเสียหายแบบ ประมาณ ๙ เดือน และสามารถ รนุ แรง ดาเนินการในประเทศได้ ส่วนการ แก้ปัญหาในระยะสั้น ได้แก่ การ ๓. เมื่อ ๑๔ มี.ค.๖๐ จนท.อล.ทร. (แผนก หม่ันอัดจาระบีท่ี Main Bearing โดยเฉพาะ ในกรณี เครื่องเรดาร์ กอล.๓) ร่วมกับผู้ประสานงานของ ที่ตรวจวัดค่า Noise Level ขณ ะท าการห มุน บริษัท Saab ได้ดาเนินการตรวจสอบ Turntable สายอากาศ เกินระดับความดังท่ีเป็นอยู่ในปัจจุบัน ซ่ึงสันนิษฐานว่าเป็นต้นเหตุของเสียงที่ดังผิดปกติ ท้ังนี้บริษัทฯ ขอให้มีการใช้งานเรดาร์ฯ อย่างจากัด โดยการอัดจาระบีท่ี Main Bearing ทั้งส่ีมุมและ เท่านั้น เพ่ือป้องกันความเสียหายเพิม่ ขึ้น ในระหว่าง หมุนสายอากาศแบบ Manual และทดลองหมุน น้ีบริษัทจะส่งเจ้าหน้าท่ีเข้ามาดาเนินการตรวจสอบ สายอากาศด้วยความเร็ว 30RPM และ 60 RPM เรดาร์ฯ เป็นระยะๆ จนกว่าจะได้รับการเปล่ียน ตามลาดับ โดยได้ทดสอบทดลองหลายๆ ครั้ง พบว่า อปุ กรณช์ ุด Main Bearing ยังคงมีเสียงดังผิดปกติ ดังน้ัน ผู้ประสานงานของ ๕. ในระหว่างท่ีรอกระบวนการเปลี่ยนชุด บ ริษั ท Saab จ ะราย งาน ผ ล แ ล ะป รึก ษ ากั บ Main Bearing ในสายอากาศ จนท.อล.ทร. (แผนก ผู้เช่ียวชาญด้าน Mechanics ของบริษัท เพื่อหา เคร่ืองเรดาร์ กอล.๓) ได้ดาเนินการอัดจาระบีท่ี Main Bearing เพ่ือป้องกันความเสียหายท่ีอาจเพิ่ม มากข้ึน วารสารอิเล็กส์ ปีที่ ๒๔ ฉบบั ท่ี ๒๕ ๗๓

ภำพท่ี ๖ การอัดจาระบีท่ี Main Bearing และการตรวจวัด ระดับความดงั ของเสียง ๒.๒.๒ กำรเปล่ียนชุด Main Bearing สำยอำกำศ เรดำร์ AMB เม่อื ๔-๗ ก.ย.๖๐ จนท.อล.ทร. (แผนกเคร่อื ง เรดาร์) ร่วมกับ Service Engineer ของบริษั ท Saab ได้ดาเนินการร้ือถอนสายอากาศเรดาร์ AMB ของ ร.ล.จักรีนฤเบศร เพ่ือเปลย่ี นชุด Main Bearing ในสายอากาศ ภำพท่ี ๘ การถอดประกอบชุด Main Bearing ภำพที่ ๗ การร้อื ถอนสายอากาศเรดาร์ AMB ภำพท่ี ๙ การตดิ ตั้งสายอากาศเรดาร์ AMB ร.ล.จักรนี ฤเบศร ร.ล.จกั รนี ฤเบศร โดยกระบวนการข้ันตอนการร้ือถอน การยก สายอากาศ การถอดส่วนประกอบ การเปล่ียนชุด Main Bearing กระทั่งการติดต้ังสายอากาศจนแล้ว เสร็จ น้ัน ค่อนข้างซับซ้อน มีเทคนิคและวิธีการมาก จ าเป็ น ต้ อ งด าเนิ น ก ารต าม คู่ มื อ ก ารติ ด ต้ั ง (Installation Instruction) ป ระ จ าร ะ บ บ โด ย เคร่งครดั ๗๔ วารสารอเิ ลก็ ส์ ปีที่ ๒๔ ฉบบั ท่ี ๒๕

หลังจากดาเนินการติดต้ังสายอากาศเรดาร์ แล้ว หน่วยเทคนิคจาเป็นจะต้องเตรียมการให้พร้อม AMB แล้วเสร็จ จนท.อล.ทร. (แผนกเคร่ืองเรดาร์) เสมอ ทั้งลาดับขั้นตอน บุคลากร อะไหล่ที่สาคัญ ได้ดาเนินการตรวจวัดระดับความดังของเสียง ขณะ เคร่อื งมอื และองคค์ วามรู้ สายอากาศเรดาร์ขณะทาการหมนุ ในตาแหน่งต่างๆ โดยผลการตรวจวัดมีค่าความดังลดต่าลง และมี ๒. การซ่อมบารุงตามสภาพกับยุทโธปกรณ์ ความใกล้เคยี งกบั เรอื ลาอนื่ ดงั น้ี สายอิเล็กทรอนิกส์ นั้น เป็นส่ิงที่ควบคู่กัน เพราะ การใช้เคร่ืองมือตรวจวัดเป็นสิ่งที่ต้องดาเนินการใน ตำแหนง่ กำรวดั ระดบั ควำมดังของเสียง ลาดับแรก หากมองในด้านการซ่อมบารงุ เชิงป้องกัน (องศำ) สำยอำกำศเรดำร์ AMB ร.ล. จะตรวจวัดเพื่อจัดเก็บข้อมูลและใช้ประเมินสภาพ จักรีนฤเบศร ของอุปกรณ์ ซึ่งสามารถใช้ปรับแต่งระยะเวลาเข้า ๓๐ รอบ/นาที ๖๐ รอบ/นาที ดาเนินการได้อย่างเหมาะสม หากมองในด้านการ ๐๐๐ ๗๒.๐ dBm ๘๑.๙ dBm ซอ่ มบารุงเชงิ แกไ้ ขจะตรวจวัดเพ่ือหาสาเหตุของการ ๐๙๐ ๗๒.๕ dBm ๘๒.๐ dBm ชารุด และหากมองในด้านการซ่อมบารุงเชิง ๑๘๐ ๗๒.๑ dBm ๘๑.๒ dBm คาดการณ์(Predictive Maintenance) ก็จะตรวจวัด ๒๗๐ ๗๒.๒ dBm ๘๑.๗ dBm เพื่อประเมินสภาพและคาดการณ์แนวโน้มการชารุด เสียหาย ซึ่งสามารถวางแผนการซ่อมบารุงรักษาได้ สรุปผล ใกล้เคียงกับสถานภาพปจั จบุ นั ก ร ณี ศึ ก ษ ำ ก ำ รป ระ ยุ ก ต์ ใช้ CBM กั บ ก ำ ร ๓. การดูแลเอาใจใส่ระบบอุปกรณ์ในความ ตรวจสอบสำยอำกำศเรดำร์ AMB ของ ร.ล. รับผิดชอบของหน่วยผู้ใช้ เป็นอีกปัจจัยหน่ึงที่มี จักรนี ฤเบศร ความสาคัญ หากหน่วยผู้ใช้มีความรู้ความเข้าใจใน ระบบเป็นอย่างดี และหม่ันตรวจสอบสภาพอย่าง จากการดาเนินการตรวจสอบและประเมิน สม่าเสมอจะช่วยให้ทราบถึงความผิดปกติได้อย่าง สภาพของสายอากาศเรดาร์ AMB ท่ีพบความ รวดเร็ว และช่วยลดความเสี่ยงการชารุดเสียหาย ผิดปกติทางเสียง ด้วยเคร่ืองมือตรวจวัดระดับเสียง แบบรนุ แรงได้อกี ด้วย Sound Level Meter ดังข้างต้น ทาให้เจ้าหน้าที่ ซ่อมบารุงสามารถวิเคราะห์หาจุดเสียและประเมิน ๒.๓ กำรควบคุมสภำพแวดล้อมตำมแนวทำง ระดับความเสียหายได้โดยทันที จนกระท่ังนาไปสู่ CBM แนวทางการซ่อมบารุงได้สาเร็จ ดังนั้น การนาเอา CBM มาประยุกต์ใช้กับงานซ่อมบารุง จึงเป็นอีก ปั จ จุ บั น เท ค โน โล ยี แ ล ะ ก า ร พั ฒ น าอ า วุ ธ แนวทางหนึ่งที่สามารถช่วยวเิ คราะห์ ประเมินสภาพ ยุทโธปกรณ์ทางทหาร ล้วนเกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ และคาดการณ์แนวโน้มการชารุดเสียหายได้เป็น และระบบการควบคุม ซึ่งประกอบด้วยอุปกรณ์หรือ อย่างดี แต่อย่างไรก็ตาม กระบวนการซ่อมบารุงใน ช้ินส่วนอิเล็กทรอนิกส์เกือบทั้งหมด รวมไปถึง ครั้งนี้ นอกจากสะท้อนให้เห็นถึงการผสมผสานการ ยุทโธปกรณ์บนเรือรบของกองทัพเรือด้วยเช่นกัน ซ่อมบารุงในหลายประเภทแล้ว ยังสามารถสะท้อน และโดยส่วนใหญ่ ตู้ยุทโธปกรณ์ (ตู้อิเล็กทรอนิกส์) ให้เห็นถึงบริบทที่เกี่ยวข้องของหน่วยเทคนิคและ และอุปกรณ์ชุดควบคุมจะถูกติดต้ังอยู่ภายในห้อง หนว่ ยผ้ใู ชอ้ ีกด้วย โดยสรุปไดด้ งั น้ี เก็บอุปกรณ์ ซ่ึงบริษัทผู้ผลิตได้กาหนดสภาวะ แวดล้อมท่ีเหมาะสมขณะอุปกรณ์ทางาน หรือ ๑. ความรวดเร็วในการเข้าดาเนินการซ่อม ไม่ทางาน (Environment Control System) โดย บ ารุงของห น่ วยเท คนิ ค น อกเห นื อจากการ เฉพาะระดับอุณหภูมิและความชื้น ทั้งนี้ หากห้อง ดาเนินการตามแผนการซ่อมบารุงท่ีได้ถูกกาหนดไว้ เกบ็ อปุ กรณ์อยู่ภายใตส้ ภาวะที่มีความช้ืนสูงหรอื เกิด วารสารอเิ ลก็ ส์ ปีที่ ๒๔ ฉบับท่ี ๒๕ ๗๕

การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิแบบฉับพลัน จะทาให้ จ าก ก ร า ฟ ใน ข้ างต้ น แ ส ด งให้ เห็ น ถึ ง เกิดการควบแน่นของน้า ซึ่งช้ินส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ร ะ ห ว่ า ง อุ ณ ห ภู มิ ร อ บ ข้ า ง หากถูกไอน้าเกาะจะเกิดการสึกกร่อนได้ง่าย และ (Environmental Temperature) และอัตราความ อาจสร้างความเสียหายต่ออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ได้ ล้มเหลว (Failure Rate) ของ Semi conductor เม่ือ หากเกิดขึ้นสะสมต่อไป อุณ หภูมิความร้อนก็ อุณหภูมิเกิดการเปลี่ยนแปลง โดยที่อุณหภูมิเท่ากับ เช่นเดียวกัน เพราะจากผลการทดลองพบว่าความ ๔๐°C จะเกิดความผิดพลาด ๑ ครั้ง และจะเพิ่ม ร้ อ น มี ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ ก า ร ท า ง า น ที่ ผิ ด พ ล า ด ข อ ง จานวนคร้ังเป็น ๑๐-๓๐ คร้ัง เมื่ออุณหภูมิ ๖๐°C ช้ินส่วนอิเล็กทรอนิกส์และทาให้อายุการทางานสั้น แต่ในขณะที่อณุ หภูมิ ๘๐°C ความผดิ พลาดกลับเพิ่ม ลง มากข้ึนถึง ๑๐๐-๓๐๐ ครั้ง จึงแสดงให้เห็นได้อย่าง ๒.๔ ผลกระทบของควำมร้อน (Heat) ต่ออุปกรณ์ ชัดเจนว่าอัตราความล้มเหลวของ Semiconductor อเิ ลก็ ทรอนิกส์ และช้ินส่วนอิเลก็ ทรอนกิ ส์ แปรผนั ตามอณุ หภมู ิ ความร้อนนั้นส่งผลกระทบโดยตรงต่อการ ด้วยทิศทางการพัฒนาและการผลิตอุปกรณ์ ทางานของชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ โดยได้รับการ อิเล็กทรอนิกส์ ที่พยายามจะลดขนาดลงแต่เพ่ิม พิสูจน์แล้วว่า Semiconductor หรือสารกึ่งตัวนา ประสิทธิภาพน้ัน กลับทาให้ช้ินส่วนอิเล็กทรอนิกส์ รวมถึงชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ท่ีอยู่ภายใต้สภาวะ เกิดความร้อนสะสมมากยิ่งขึ้น ตัวอย่างเช่น แผง แวดล้อมท่ีมีความร้อนหรืออุณหภูมิสูง จะมีอัตรา ควบคุมการทางานจะมีอุณหภูมิขณะใช้งานเฉลี่ย ความล้มเหลว (Failure Rate) เพิ่มมากข้ึน และอายุ ๕๕-๖๐°C ซึ่งจะทาให้อายุการใช้งานของตัวเก็บ การทางาน (Lifetime) ทสี่ ้นั ลง ประจุไฟฟ้า (Condenser) ในแผงควบคุมสั้นลง เป็นอย่างมาก โดยแสดงไดด้ ังกราฟ ภำพที่ ๑๐ กราฟความสมั พันธ์ Environmental ภำพที่ ๑๑ กราฟความสัมพนั ธร์ ะหว่างอณุ หภูมขิ องตวั เกบ็ Temperature) และอตั ราความลม้ เหลว (Failure Rate) ประจไุ ฟฟ้า (Condenser Environmental ของ Semiconductor Temperature) และอายกุ ารใช้งาน (Time) จากกราฟแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่าง อุณ หภูมิของตัวเก็บประจุไฟ ฟ้า (Condenser Environmental Temperature) และอายุการใช้ งาน (Time) โดยในขณะท่ีตัวเก็บประจุมีอุณหภูมิ ๓ ๐ °C จ ะ มี อ ายุ ก ารใช้ งาน ข อ ง Electrolytic Condenser (ตัวเก็บประจุชนิดอิเล็กโตรไลต์ ) ๗๖ วารสารอเิ ลก็ ส์ ปีท่ี ๒๔ ฉบบั ท่ี ๒๕

ยาวนานถึง ๘๐,๐๐๐ ชั่วโมง ขณะท่ีตัวเก็บประจุมี ภำพที่ ๑๓ กราฟความสมั พันธร์ ะหว่างการกดั กรอ่ น(Rust) อุณหภูมิ ๔๐°C จะมีอายุการใช้งานลดลงเหลือ ๔๐,๐๐๐ ช่ัวโมง หรือเหลือประมาณคร่ึงหนึ่ง แต่ และความชนื้ สมั พัทธ์ (Relative Humidity) เมื่อตัวเก็บประจุมีอุณหภูมิอยู่ที่ ๖๐°C จะมีอายุการ ใช้งานลดลงเหลือ ๑๐,๐๐๐ ชั่วโมง เท่าน้ัน ดังนั้น จ า ก ก ร า ฟ แ ส ด ง ให้ เห็ น ถึ ง ค ว า ม สั ม พั น ธ์ จึงจะเห็นไดว้ ่า ความรอ้ นมีผลโดยตรงต่ออายุการใช้ ระหว่างการกัดกร่อน (Rust) และความช้ืนสัมพัทธ์ งานของเซมิคอนดักเตอร์และช้นิ ส่วนอิเล็กทรอนกิ ส์ (Relative Humidity) โดยทิศทางของเส้นกราฟได้ แสดงให้เห็นว่า หากความชื้นสูงกว่า 60 เปอร์เซ็นต์ ๒ .๕ ผ ล ก ระท บ ข อ งค ว ำม ชื้ น (Humidity) จะทาให้เกิดการกัดกร่อนเพ่ิมมากย่ิงขึ้นตามลาดับ ตอ่ อุปกรณอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์ โดยความช้ืนที่เหมาะสมสาหรับห้องเก็บอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ น้ัน สอดคล้องกับข้อกาหนดของ ความช้ืนเป็นปัจจัยสาคัญท่ีทาให้เกิดความ บริษัทผู้ผลิตท่ีอ้างอิงมาตรฐาน MIL-STD-810 เสียหายแก่แผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ด้วยเพราะ สาหรับการตดิ ต้ังอุปกรณอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส์ภายในเรอื ชน้ิ ส่วนอิเลก็ ทรอนกิ ส์ที่ติดต้ังอยู่บนแผงวงจรนนั้ ทา จากวัสดุหลายชนิด ในกรณีที่การประกอบเชื่อมต่อ การซ่อมบารุงตามสภาพ จึงเป็นส่วนสาคัญ ของวัสดุต่างชนิดกัน หรือวัสดุชนิดเดียวกันแต่มีค่า ที่จะช่วยลดการชารุดเสียหายจากสภาวะแวดล้อม ความต่างศักย์ไฟฟ้าต่างกัน มาเช่ือมต่อกันจะเกิด ของห้องที่ไม่เหมาะสม ด้วยการใช้เคร่ืองมือตรวจ ความต่างศักย์ไฟฟ้าขน้ึ โดยจะทาใหเ้ กดิ การไหลของ สภาพเพ่ือเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะ อเิ ล็กตรอนระหวา่ งวัสดุทั้งสอง หากวสั ดทุ ่ีมีคา่ ความ ระดับอุณหภูมิและความชื้น ท่ีผ่านมา อล.ทร. ได้ ต่างศักย์ต่ากว่าจะทาให้สูญเสียอิเล็กตรอนและจะ เล็งเห็นถึงความจาเป็นจึงดาเนินการจัดหา Data ถูกกัดกร่อนในท่ีสุด ซ่ึงการกัดกร่อนในลักษณะนี้ Logger ห รือเคร่ืองวัดอุณ ห ภู มิ และความ ช้ืน เรียกว่า การกัดกร่อนจากความต่างศักย์ (Galvanic (Temperature Humidity Meter) เพ่ือติดต้ังใหก้ ับ Corrosion) โดยที่ความชื้นจะเป็นปัจจัยท่ีชว่ ยเร่งให้ ห้องเก็บอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยเฉพาะหนว่ ยเรือ เกิดการกดั กรอ่ นมากย่งิ ขนึ้ ท่ีมีความสาคัญทางยุทธการสูง ทั้งนี้ก็เพ่ือใช้เป็น เครื่องมือตรวจวัดและจัดเก็บข้อมูลพ้ืนฐาน ซ่ึง ภำพท่ี ๑๒ การกัดกร่อนบนบอร์ดอิเล็กทรอนกิ ส์ทเี่ กดิ จาก สามารถใช้เป็นข้อมูลประเมินสภาพของอุปกรณ์ ความชื้น กระท่ังการหาสาเหตุการชารุดได้ นอกจากนี้ วิธีการ ก า ร ป้ อ ง กั น ด้ ว ย ก า ร ติ ด ต้ั ง เค ร่ื อ ง ดู ด ค ว า ม ช้ื น (Dehumidifier) ก็เป็นอีกแนวทางหนึ่งท่ีถูกนามาใช้ วารสารอิเลก็ ส์ ปีท่ี ๒๔ ฉบับที่ ๒๕ ๗๗

ด้วยเช่นกัน เน่ืองจากปัจจัยท่ีทาให้เกิดความช้ืน ๓. สรุปและข้อเสนอแนะ ภายในห้อง นอกจากจะข้ึนอยู่กับประสิทธิภาพการ การบารุงรักษาตามสภาพ ด้วยเคร่ืองมือ ทางานของระบบเคร่ืองปรับอากาศของเรือแล้ว อาจ เกดิ จากการผนกึ อากาศทไ่ี ม่มปี ระสิทธิภาพอีกดว้ ย วิธีการ หรือเทคโนโลยี เพื่อตรวจสอบหาความ ผิดปกติของยุทโธปกรณ์ โดยเทียบค่าการทางานกับ ภำพที่ ๑๔ การติดตงั้ เครอื่ งดดู ความชน้ื ภายในห้องเกบ็ มาตรฐานหรือเอกสารข้อกาหนด (Specification อุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ Document) จากบริษัทผู้ผลิต จะสามารถช่วยลด ความเส่ียงการชารุดของยุทโธปกรณ์ขั้นเสียหาย จากท่ีได้อธิบายเก่ียวกับสภาพแวดล้อมของห้องเก็บ รุนแรง ลดการสูญเสียเวลาและงบประมาณได้ โดย อุปกรณ์ ซ่ึงมีผลกระทบต่ออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เมื่อพิจารณาจากกรณีศึกษาการซ่อมทาระบบเรดาร์ โดยก่อให้เกิดการทางานท่ีผิดพลาดของช้ินส่วน ตรวจการณ์ (AMB) ของ ร.ล.จักรีนฤเบศร แล้วนั้น อิเล็กทรอนิกส์ ทาให้อายุการทางานส้ันลง กระท่ัง สามารถแสดงได้อย่างชัดเจนว่าการใช้เคร่ืองมือ สามารถสรา้ งความเส่ือมสภาพและความเสียหายแก่ ตรวจวัดสภาพการทางานของอุปกรณ์ สามารถใช้ อุปกรณ์ ไปแล้วในข้างต้นน้ัน การซ่อมบารุงตาม ประเมินความเสียหายและการวิเคราะห์จุดเสียได้ สภาพ หรือ CBM จึงได้เข้ามามีบทบาทในการ อย่างแม่นยา ก่อนที่อุปกรณ์จะชารุดเสียหายรุนแรง ตรวจสอบและเก็บข้อมูล เพ่ือเฝ้าสังเกตการณ์ จนเกิดผลกระทบต่อเน่ือง สภาวะแวดล้อมต่างๆ ได้แก่ การตรวจวัดอุณหภูมิ ความช้ืน รวมถึงแนวทางการป้องกัน เพ่ือช่วย นอกจากน้ี การบารุงรักษาตามสภาพยัง ประเมินสภาพการทางานและลดความเส่ียงการ สามารถลดชอ่ งวา่ งของการซ่อมบารุงปอ้ งกัน โดยไม่ ชารุดเสียหายข้ันรุนแรงของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ จาเป็นต้องรอดาเนินการเปลี่ยนอะไหล่ หาก กอปรกับแนวทางการติดตั้งยุทโธปกรณ์ สาย ตรวจสอบและประเมินแล้วพบว่าเร่ิมมีอาการชารุด อิเล็กทรอนิกส์ในปัจจุบัน นอกจากการออกแบบตัว แม้กระท่ังการประยุกต์ใช้กับการซ่อมบารุงแก้ไข ก็ เรือเพื่อความเหมาะสมแล้ว ยังต้องพิจารณาถึง สามารถช่วยตรวจสอบความผดิ ปกติของยุทโธปกรณ์ คุณสมบัติของอุปกรณ์ท่ีผ่านมาตรฐาน MIL-STD- ได้อย่างทันท่วงที ดังนั้น การซ่อมบารุงตามสภาพ 810 ซ่ึงต้องทนทานต่อสภาวะแวดล้อม ควบคู่ไปกับ จึ ง ส า ม า ร ถ ช่ ว ย เพ่ิ ม ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ก า ร ท า ง า น การป้องกันอีกด้วย สามารถควบคุมความเสียหายให้อยู่ในขอบเขต เพ่ิม ความพร้อมใช้งานและความน่าเชื่อถือได้ การที่ อล.ทร. เป็นหน่วยงานเทคนิคซ่ึงมีหน้าที่สนับสนุน การซ่อมบารุงเพ่ือความพร้อมรบของหน่วยต่างๆ จาต้องพัฒนากระบวนการซ่อมบารุงด้วยแนวทาง ใหม่ๆ เพ่ือก่อให้เกิดการพัฒนาองค์ความรู้แก่ บคุ ลากรสายช่างอิเล็กทรอนิกส์ และต้องเกาะติดกับ เทคโนโลยีทางทหารที่ถูกพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ท้ังนี้ เพื่อให้เป็นไปในลักษณะของการซ่อมบารุงเชิงรุก มากยิ่งข้ึน ท้ังทางด้านเครื่องมือซ่อมบารุงและด้าน องค์ความรู้ของบุคลากรใน อล.ทร. ให้สอดคล้อง ได้ มาตรฐาน และเป็นหน่วยเทคนิคที่มีการปฏิบัติงาน แบบมืออาชพี ๗๘ วารสารอิเล็กส์ ปีที่ ๒๔ ฉบับท่ี ๒๕

เอกสำรอำ้ งองิ ๑. นโยบายกองทัพเรือประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๑ ๒. คาสั่งกองทัพเรือเฉพาะ ท่ี ๒๑๑/๒๕๕๔ ๓. การบริหารการซอ่ มบารงุ กรมอูท่ หารเรือ พ.ศ.๒๕๕๐ ๔. การซอ่ มบารุงตามสภาพ (Condition Based Maintenance : CBM) กรมอู่ทหารเรอื พ.ศ.๒๕๕๕ ๕. คู่มือการบริหารงานซอ่ มบารุงอุปกรณ์ อเิ ล็กทรอนิกสแ์ ละคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๖ ๖. เอกสารการบรรยาย เรือ่ งการลดตน้ ทุนในการ ผลิตด้วยงานบารุงรกั ษา พาราดิน จันทเขตต์ ศูนยบ์ ารงุ รักษาและการจัดการอุตสาหกรรม สถาบนั ไทย-เยอรมนั ๗. สบื คน้ จาก : http://www.apiste-global.com วารสารอิเลก็ ส์ ปีท่ี ๒๔ ฉบบั ที่ ๒๕ ๗๙

๑. หลักการและเหตุผล น.อ.ปรัชญา ฮวดปากน้า ในการจัดประชุม สัมมนา โดยท่ัวไป จะนัด ภารกิจเสร็จส้ิน (AAR: After Action Review) เพื่อ หมายให้สมาชิกที่มีส่วนเกี่ยวข้องมาประชุม สัมมนา ทบทวนการทางาน กาหนดแนวทางแก้ไขปัญหา สู่ เพ่ือระดมความคิด (Brainstorming) ศึกษาปัญหา การพัฒนาท้ังคนและงาน ล้วนนาไปสู่ความสาเร็จ วิเคราะห์ สรุปผลหาแนวทางแก้ปัญหา หรือหาข้อ บรรลุวัตถุประสงค์ และเปา้ หมายทไ่ี ดต้ ัง้ ไว้ทง้ั สนิ้ ยุติร่วมกัน ส่วนการสัมมนา (Seminar) เป็นการ ประชมุ ของผู้ท่ีปฏิบัติงานอยา่ งเดียวกนั หรือคล้ายกัน ภาพที่ ๑ กิจกรรมการประชุมของชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) แล้วพบปัญหาท่ีเหมอื นๆ กนั เพ่ือแสดงความคิดเห็น เพ่อื ระดมความคิดเห็น หาแนวทางปฏิบัติในการแก้ปัญหา ปกติจะบรรยาย ให้ความรู้พ้ืนฐานก่อนแล้วจึงแบ่งกลุ่มย่อย จากนั้น แต่ในบางสถานการณ์ องค์ประกอบ ท้ังคน สถานที่ จึงนาผลการอภิปรายของกลุ่มย่อยเสนอที่ประชุม อุปกรณ์ สนับสนนุ เครอ่ื งมือตา่ งๆ และช่วงเวลาอาจ ใหญ่ (สมคิด บางโม, ๒๕๔๕. หน้า ๙๒) บ่อยคร้ัง ไม่พร้อม เช่น ห้องประชุมไม่ว่าง องค์ประชุมอยู่ไม่ ท่ีสมาชิกอาจติดภารกิจอื่น หรืออยู่ในพ้ืนท่ีห่างไกล ครบ เวลาแต่ละคนท่ีต้องเข้าร่วมหารือว่างไม่พร้อม ไม่สะดวกในการเดินทางเข้าร่วมประชุม หรือมี กันหรืออยู่ห่างไกลกัน ต้องเสียเวลาและค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่ายจานวนมากในการเข้าร่วมประชุม แต่ด้วย มากในการเดนิ ทาง หรอื ในกรณีของงานซ่อมบารุง ผู้ เทคโนโลยปี จั จุบัน มีเคร่อื งมือและอุปกรณ์สนับสนุน ที่มีความเชี่ยวชาญไม่สามารถไปอยู่หน้างานพร้อมๆ หลายรูปแบบท่ีสามารถช่วยแก้ไขปัญหาอุปสรรค กบั ทีมงานได้ หรืออาจมีข้อจากัดอ่ืนเชน่ งานในพ้ืนที่ ดังกล่าวเช่น ระบบประชุมทางไกล VTC (Video ท่ีมีความเสี่ยง งานท่ีสูง งานท่ีมีลาดับความสาคัญ Tele Conference) แต่ก็มีค่าใช้จ่ายต่างๆ สูงมาก พอๆ กัน แต่อยู่ห่างไกลกัน งานที่มีความจาเป็นต้อง ภายใตข้ อ้ จากัดดา้ นงบประมาณ บางหน่วยงานจงึ ไม่ ได้รับข้อมูลประกอบการตัดสินใจเร่งด่วน หรืองานที่ สามารถจัดเตรียมเคร่ืองมือ อุปกรณ์สนับสนุนให้กับ ต้องเข้าถึงข้อมูลแบบ Real Time ทั้งภาพและเสียง สมาชกิ สาหรบั การดาเนนิ การดังกลา่ วไดอ้ ยา่ งท่ัวถึง เป็นขอ้ จากัดท่ีอาจสง่ ผลใหง้ านนน้ั ๆ ไมป่ ระสบความ สาเร็จตามเป้าหมายที่ได้ต้ังไว้ กรมอิเล็กทรอนิกส์ ๒. ปญั หาและอปุ สรรคในการปฏบิ ัติงาน ทหารเรือ มีหน่วยงานในสังกัดท่ีต้ังอยู่ห่างกันใน การระดมสมองจากทีมงานอาจมีข้อจากัดท้ัง หลายพ้ืนท่ี ทั้งส่วนของกองบังคับการที่ตั้งอยู่ใน ในรูปแบบก่อนที่ภารกิจจะเร่ิมข้ึน (BAR: Before Action Review) เพื่อเตรียมความพร้อม กาหนด เป้าหมาย ป้องกันข้อผิดพลาดระหว่างการปฏิบัติ ภารกิจ (DAR: During Action Review) เพื่อทบทวน กระบวนการและปรับเปล่ียน ตลอดเวลาเพื่อความ เหมาะสมกบั บรบิ ทตา่ งๆ หรอื ภายหลงั การปฏิบัติ ๘๐ วารสารอิเลก็ ส์ ปีที่ ๒๔ ฉบับท่ี ๒๕

บริเวณป้อมพระจุลจอมเกล้า หน่วยซ่อมในพื้นท่ี ทั้งการสนับสนุนการซ่อมบารุงทางไกล การส่งกาลัง กทม.(กอล.๑) หน่วยซ่อมภายในอู่ทหารเรือ บารุงยุทโธปกรณ์สายอิเล็กทรอนิกส์และการผลิต พระจุลจอมเกล้า (กอล.๒) หน่วยซ่อมภายใน และพัฒนากาลังพลสายวิทยาการวิศวกรรมไฟฟ้า อู่ราชนาวีมหิดล (กอล.๓) หน่วยซ่อมท่ีเตรียมการ และอิเล็กทรอนิกส์ได้อย่างมีประสิทธิภาพด้วย จัดต้ังใหม่เพิ่มเติมในพื้นที่อ่าวไทยตอนใต้และฝั่ง ตน้ ทนุ ท่ตี ่ากว่าระบบอนื่ ทะเลอันดามัน (กอล.๔ และ กอล.๕) และทีม ซ่อมบารุง (mobile team) ที่ต้องไปปฏิบัติงาน ๓.๔ เพื่อเป็นเคร่ืองมือในการแลกเปล่ียนเรียนรู้ ให้บริการยังหน่วยต่างๆ ท่ัวทั้งกองทัพเรือ ตลอดจน ให้กับผู้ที่สนใจสามารถนาไปศึกษาและประยุกต์ใช้ หน่วยซ่อมที่ต้องส่งข้าราชการในสายวิทยาการ งานได้ตามความตอ้ งการของแตล่ ะบุคคลและองค์กร หมุนเวียนไปประจา อาทิ กฟอ.ศซส.สพ.ทร. กองซ่อมต่างๆ ท่ีกระจายอยู่ในหน่วยบก กองบิน ๔. ประโยชน์ทีค่ าดวา่ จะได้รบั ท ห า ร เ รื อ แ ล ะ ห น่ ว ย เ รื อ ท า ใ ห้ ก า ร ติ ด ต่อ ๔.๑ ได้รู้จักอรรถประโยชน์ของโปรแกรมสาหรบั ประสานงาน ขอรับคาปรึกษา แนะนา จาก ผู้เช่ียวชาญหรือผู้บังคับบัญชาต้องใช้เวลาและ การประชุม สัมมนาทางไกลผ่านระบบเครือข่าย ค่าใช้จ่ายพอสมควรตามข้อจากัดของแต่ละพ้ืนที่ อินเตอร์เน็ตด้วยอุปกรณ์คอมพิวเตอร์หรือ Smart นอกจากน้ีการปฏิบัติงานบางครั้งต้องกระทา ใน Devices ตา่ งๆ พ้ืนที่เส่ียงภัยอันตรายหรือความเสี่ยงจากสภาวะ แวดล้อมเช่น การซ่อมโครงข่ายสายบนที่สูง การ ๔.๒ สามารถเตรียมอุปกรณ์พ้ืนฐานท่ีจาเป็น ตรวจสอบเสาและสายอากาศ เคร่ืองมือสาหรับ ส า ห รั บ ก า ร ใ ช้ ง า น โ ป ร แ ก ร ม Zoom Cloud อานวยความสะดวกในติดต่อส่ือสาร ท้ังภาพ เสียง Meeting เพ่ือนาไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติภารกิจ ข้อมูลรายละเอียดของแผนผังวงจร หรือ part ท่ีได้รบั มอบหมายได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ number อะไหล่ท่ีถูกต้อง ชัดเจนระหว่างทีมซ่อม หน้างานกับผู้เช่ียวชาญ และ คลังชิ้นส่วนอะไหล่ ๔.๓ สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการแลกเปลี่ยน จะช่วยให้การปฏิบัติงานบรรลุภารกิจได้อย่างมี เรียนรู้และประยุกต์ใช้งานได้ตามความต้องการของ ประสิทธิภาพ ถูกต้อง รวดเร็ว ตอบสนองความ แต่ละบุคคลและองค์กร โดยผู้เข้าร่วมประชุม ตอ้ งการหน่วยผ้รู ับบรกิ ารได้สมบรู ณ์แบบมากกว่า สัมมนาหรือทีมผู้ปฏิบัติงาน ไม่จาเป็นต้องเดินทาง มาร่วมประชุมในห้องประชุม ณ สถานที่เดียวกัน ๓. วตั ถุประสงค์ ตามรูปแบบเดิม อานวยความสะดวกในการให้ ๓ . ๑ เ พื่ อ ใ ห้ ผู้ อ่ า น รู้ จั ก ก า ร ท า ง า น แ ล ะ ผู้ร่วมงานสามารถเห็นภาพสถานการณ์ร่วมกันใน เวลาเดียวกัน ลดความเสี่ยงในการเดินทาง อรรถประโ ยช น์ของ Application Program ท่ี ประหยัดเวลา และค่าใช้จ่ายต่างๆ สามารถติดตาม สามารถนาไปใช้ในการจัดประชุมสัมมนาทางไกล สถานการณฉ์ ุกเฉินได้อยา่ งทนั ทว่ งที ผ่ า น ร ะ บ บ เ ค รื อ ข่ า ย อิ น เ ต อ ร์ เ น็ ต บ น อุ ป ก ร ณ์ คอมพิวเตอร์หรือ Smart Devices ต่างๆ ได้ ภาพที่ ๒ การใช้เครื่องมือจัดการความรู้หลายประเภทใน การแลกเปลย่ี นเรียนรู้เพื่อสนบั สนุนการทางาน ๓.๒ เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถเตรียมอุปกรณ์ พ้ืนฐานทจี่ าเปน็ สาหรบั การใช้งานโปรแกรม Zoom Cloud Meeting ได้ ๓.๓ เพื่อนาโปรแกรม Zoom Cloud Meeting ไปประยุกต์ใช้ในการปฏบิ ัตภิ ารกิจท่ีไดร้ ับมอบหมาย วารสารอิเลก็ ส์ ปีที่ ๒๔ ฉบับท่ี ๒๕ ๘๑

๕ . ปั จ จั ย แ ห่ ง ค ว า ม ส้ า เ ร็ จ ( Key Success ภาพท่ี ๓ ปัจจัยความสาเร็จจากการบูรณาการความมุ่งม่ัน Factor) ของผู้นาองค์กร ขีดสมรรถนะทีด่ ีของกาลังพล การปรับปรงุ กระบวนการทางานและเทคโนโลยสี มัยใหม่ ปัจจัยแห่งความสาเร็จของการนาโปรแกรม Zoom Cloud Meeting มาสนับสนนุ การปฏบิ ตั ิงาน ๖. องค์ประกอบท่ีจ้าเปน็ ขององค์กรเพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ท่ีตั้งไว้ และ องค์ประกอบท่ีจาเป็นสาหรับการเรียนรู้การ บุ ค ล า ก ร ใ น อ ง ค์ ก ร ส า ม า ร ถ น า ม า ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ สนับสนุนการปฏิบัติภารกิจในความรับผิดชอบได้ ใ ช้ ง า น โ ป ร แ ก ร ม Zoom Cloud Meeting อย่างเป็นรูปธรรม คือผู้บริหารทุกระดับช้ันให้การ ประกอบด้วย ความต้องการเบื้องต้นของระบบ การ สนับสนนุ งบประมาณการดาเนนิ งาน และมสี ว่ นร่วม ติดต้ังใช้งาน เทคนิควิธีการใช้งานต่างๆ ต้นทุน ในการกระตุ้นส่งเสริมกิจกรรม การจัดการความรู้ ค่าใช้จ่ายในขณะที่ดาเนินการ อรรถประโยชน์ท่ี เพ่อื นาไปส่กู ารเป็นองค์กรแหง่ การเรียนรู้ บคุ ลากรมี โปรแกรมน้ีสามารถนาไปประยุกต์ใช้งาน ตลอดจน ขีดความสามารถในการเรียนรู้ใช้งานอุปกรณ์ ปัญหาอุปสรรคข้อขัดข้องที่ทาให้เกิดคาถามอัน คอมพิวเตอร์ เครือข่ายหรือ Smart Phone Smart นาไปสู่คาตอบจากการได้นามาประยุกต์ใช้งานจริง Devices ต่างๆ ที่รองรับการใช้งาน โปรแกรม ซ่ึง ภายในกองทัพเรอื สามารถติดต้ังใช้งานได้อย่างรวดเร็ว และไม่เป็น การรบกวนหรือเป็นภาระเพิ่มต่อการปฏิบัติงาน ภาพที่ ๔ องค์ประกอบของการจัดการความรเู้ ร่ืองการใช้งาน หลักการวางแผนการดาเนินงาน มีการนัดหมาย โปรแกรม ZoomCloud Meeting ตลอดจนการซกั ซอ้ มที่ดีก่อนการปฏบิ ัติจรงิ มกี ารตั้ง คณะทางานหรือแบ่งหน้าที่ ให้ชัดเจนในแต่ละกลุ่ม ย่อย กาหนดผู้รับผิดชอบงานในแต่ละขั้นตอนของ การจัดประชุมทางไกลจะช่วยให้การปฏิบัติงาน บรรลุเป้าหมายท่ีกาหนดไว้ได้เป็นอย่างดีมีระบบ เครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์ นต็ ทีท่ นั สมัย สามารถแลกเปล่ียน ข้อมูลได้รวดเร็วและมีความปลอดภัย เชื่อถือได้ บุคลากรในทุกระดับงาน มีความรู้ความเข้าใจ และ ย อ ม รั บ แ น ว คิ ด ก า ร แ ล ก เ ป ลี่ ย น เ รี ย น รู้ ผ่ า น โ ป ร แ ก ร ม Zoom Cloud Meeting หรือโปรแกรมที่มี หลักการทางานใกล้เคียงกันมี การสร้างแรงจูงใจสาหรับผู้ที่ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และสร้าง สิ่ ง ท่ี เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ก า ร จัดการความรู้ผ่านการประชุมทางไกล เพ่ือนาไปสู่ การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างสม่าเสมอ จนนาไปสู่การสร้างและพัฒนาองค์ความรู้ท่ีจะ จดั เกบ็ และคลังความรู้สายอิเล็กทรอนิกส์ ๘๒ วารสารอิเลก็ ส์ ปีที่ ๒๔ ฉบับท่ี ๒๕

๖.๑ หลักการท้างานเบอื งต้น ๖.๒ ความต้องการพืนฐานของระบบ การติดต่อสื่อสารระหว่างเครื่องแม่ข่ายและเคร่ือง การใช้งานต้องเริ่มต้นจากการจัดเตรียมอุปกรณ์ ปลายทางต่างๆ ที่ได้ลงโปรแกรมไว้แล้วและมีการ พื้นฐานท่ีจาเป็นได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์ PC, นัดหมายกัน จะกระทาผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต Notebook บนระบบปฏิบัติการ Windows หรือ ด้ ว ย โ ป ร แ ก ร ม ป ร ะ ยุ ก ต์ ที่ ชื่ อ Zoom Cloud Macintosh ห รื อ Smart Devices ท้ั ง ร ะ บ บ Meeting โดยการเชอื่ มต่อจะมีความเสถียรมากน้อย Android และ IOS ซึง่ ต้องมอี ปุ กรณพ์ นื้ ฐานท่ีจาเป็น หรือไม่น้ันข้ึนอยู่กับความเสถียรของการเชื่อมต่อ เช่น ไมโครโฟน ลาโพง กล้อง HD Webcam และ อินเตอร์เน็ต เท่าที่ลองเก็บข้อมูลจากการใช้งานดู การเชือ่ มต่อกบั เครอื ขา่ ยอินเตอร์เน็ต หลายๆ ครั้ง พบว่าถ้าสมาชิกการประชุมไม่มากนัก โครงข่ายอินทราเน็ต ทร. ก็สามารถรองรับการใช้ ภาพท่ี ๕ อุปกรณ์พน้ื ฐานสาหรับการใช้งาน Zoom Cloud งานได้ ตามปกติ Zoom Cloud Meeting Free Meeting Version จะจากัดช่วงเวลาของการใช้งานที่ ๔๐ นาที ในการเช่ือมต่อแต่ละครั้ง จากัดผู้เข้าร่วม ๖.๓ การติดตังโปรแกรม ประชุมไม่เกิน ๕๐ คน ต้ังแต่ ๑ ต.ค.๖๐ ที่ผ่านมา เร่ิมจาก ดาวนโ์ หลด Zoom Cloud Meeting แต่ถ้าต้องการเวลาประชุมท่ียาวขึ้นต้องเสียค่าสมัคร รายเดอื น หรือรายปีซึ่งมหี ลากหลายรูปแบบสามารถ Application มาติดต้ังในเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือ เข้าไปดูรายละเอียดได้ท่ี www.zoom.us ข้อดีท่ี Smart devices ดังกลา่ วตามคาแนะนาจากเว็บไซต์ ต่างจาก Line application, Facebook Live หรือ www.Zoom.us ส า ห รั บ Application นี้ มี ก า ร โปรแกรมท่ีทางานคล้ายกันแบบอื่นๆ คือ มี พัฒนามานานกว่าห้าปีแล้วต้ังแต่ปลายปี พ.ศ. Function การทางานตอบสนองการประชุมท่ี ๒๕๕๗ แตย่ งั ไมแ่ พรห่ ลายนัก การใช้งานคล้ายๆ กับ หลากหลายกว่า ในรูปแบบ interactive สามารถ Hang out ข อ ง Google Plus, Team viewer, นาเสนอหรือ แบ่งปัน จอภาพที่กาลังบรรยายได้ Skype, Blue jeans, WebEx, Real presence โดย ในขณะท่ีฝ่ายผู้ฟัง สามารถโต้ตอบ แก้ไขส่ิงที่กาลัง สามารถนามาใช้แทนที่ระบบ VTC หรือ Video Tele นาเสนอได้ทันที โดยฝ่ังผู้จัดการประชุมท่ีเรียกว่า Conference ท่ีสามารถมองเห็นกนั ระหว่างผู้เข้าร่วม Host สามารถควบคุมรูปแบบการประชุมได้โดย ประชุมทางไกล โดยไม่จาเป็นต้องลงทุนซ้ือระบบ สมบูรณ์ แพงๆ แต่อาศัยอุปกรณ์ท่ีกล่าวข้างต้นมาใช้ได้เลย เพียงแค่เข้าไปสมัครและดาวน์โหลด Application เมื่อผู้เข้าร่วมประชุม โหลด Application มาติดตั้งไว้ในเครื่องผ่านทางเว็บไซต์ของผู้ให้บริการ มาไว้ในเครื่องและทาตามขั้นตอนโดยตลอดแล้ว จะ โดยผู้ใช้สามารถเลือกแบบฟรีหรือแบบเสียค่า ได้รับ Meeting ID สาหรับการเร่ิมการประชุมโดยผู้ สมาชิกกไ็ ด้ ที่ทาหน้าท่ีเป็น Host หรือ Master สามารถแจ้งให้ สมาชิก (Participants) เข้าร่วมการประชุมโดยการ Join Meeting ด้ ว ย Meeting ID ข อ ง Host นอกจาก นี้ ยังมี Function การใช้งานท่ีมีประโยชน์ อีกมาก โดยเฉพาะผู้ติดธุระจาเป็นไม่สามารถเข้า ร่วมประชุมได้ก็ยังสามารถเกาะติดสถานการณ์ได้ จากทุกท่ที ุกเวลา วารสารอิเล็กส์ ปีท่ี ๒๔ ฉบับท่ี ๒๕ ๘๓

๖.๔ ลักษณะการใชง้ านโปรแกรม เ มื่ อ ติ ด ตั้ ง โ ป ร แ ก ร ม ก า ร ใ ช้ ง า น แ ล้ ว ต้ อ ง ลงทะเบียนการใช้งาน ( Sign Up) โดยป้อนข้อมูลท่ี จาเป็นเช่น e-mail address ต้ังรหัสผ่านเพื่อใช้ใน การเขา้ สูร่ ะบบครง้ั ตอ่ ๆ ไป (Sign In) ภาพที่ ๖ หน้าจอเร่มิ ต้นของโปรแกรมติดตอ่ ผใู้ ชใ้ ห้ ภาพที่ ๘ เลอื กใชง้ านแบบเปดิ กล้อง Start with Video จะ ลงทะเบียนโดยไม่มีคา่ ใช้จา่ ย เปน็ ภาพวิดีโอและช่ือผ้ใู ช้งานจากกลอ้ ง ภาพท่ี ๗ Sign In ผ่านทาง Google mail สาเร็จจะปรากฏ เมื่อผู้ใช้เลือกใช้งานแบบเปิดกล้อง (Start with ตวั เลอื กการใช้งานดา้ นขวา Video) จะปรากฏภาพที่กล้อง Webcam จับภาพ อยู่บนหน้าจอ แต่ยังไม่มีการถ่ายทอดเสียงไปยังผู้ จากภาพผู้ใช้สามารถลงทะเบียนเข้าใช้โปรแกรมได้ ร่วมประชุม แต่ถ้าเลือก Start without video ทั้งการป้อน User name ในระบบ Single Sign on สามารถเริ่มต้นการประชุมได้โดยไม่มีการแพร่ภาพ หรือ ป้อน e-mail Google ที่ได้ลงทะเบียนไว้ก่อน ข้ อ ส า คั ญ คื อ ต้ อ ง ไ ม่ ลื ม เ ลื อ ก Unmute หน้าน้ี หรือการ Log in ผ่านทาง Facebook ก็เป็น Microphone เช่นกัน อกี ทางเลือกหน่ึง สาหรับผู้ใช้งานท่ีเข้าร่วมประชุมจะต้องเปิด โปรแกรมแล้ว Join Meeting ด้วย Meeting ID ที่ ได้นัดหมายกันไว้ก่อนหน้า เมื่อการเชื่อมต่อ ดาเนินการมาถึงขั้นตอนน้ีแสดงว่าการทางานของ โปรแกรมประชุมทางไกล Zoom Cloud Meeting สามารถใช้งานได้แล้ว สาหรับการต้ังค่าต่างๆ ใน โปรแกรม อาทิ การเลือกไมค์ ลาโพง กล้อง Webcam การแบ่งปันหน้าจอให้ผู้เข้าร่วมประชุม เห็นและร่วมแก้ไขข้อมูล (Share screen) การ บั น ทึ ก ข้ อ มู ล ก า ร ป ร ะ ชุ ม ทั้ ง ภ า พ แ ล ะ เ สี ย ง บ น คอมพิวเตอร์หรือบน Cloud สามารถดูรายละเอียด คูม่ อื การใช้จาก Zoom cloud meeting ๘๔ วารสารอิเลก็ ส์ ปีที่ ๒๔ ฉบบั ท่ี ๒๕

ภาพท่ี ๙ หน้าจอโทรศัพท์เคล่ือนที่ของผู้ใช้งาน ที่จะเข้า เลือกใช้ ส่วนอุปกรณ์การเชื่อมต่อและการประชุม ร่วมประชุมต้อง join meeting ด้วย Meeting ID ท่ีได้นัด รวม ๑๗,๕๕๐ บาท ซ่ึงแล้วแต่คุณภาพของอุปกรณ์ หมายกันไวก้ ่อน ที่เลือกใช้ แต่ถ้าเป็นอุปกรณ์ที่มีใช้งานอยู่แล้วก็แทบ ไม่ต้องลงทนุ เพิม่ ค่าลงทะเบียนสมาชิกเข้าใช้ โปรแกรม มี หลายตัวเลือกแล้วแต่รูปแบบการใช้งานถ้าต้องการ ประหยัดก็เลือกแบบทดลองใช้งานฟรีไม่มีค่าใช้จ่าย แต่มีข้อจากัดท่ีการเชื่อมต่อจะถูกตัดทุกๆ ๔๐ นาที จากัดจานวนผู้ใช้ไม่เกิน ๑๐๐ คน ผู้เขียนเลือกใช้ งาน แบบ Pro การเช่ือมต่อจะต่อเน่ืองไม่ถูกตัดแต่ จากัดจานวนผู้ใช้ไม่เกิน ๑๐๐ คนเช่นกัน โดยมี คา่ ใช้จ่าย ๑๕ US$ ตอ่ เดอื น แต่มตี ัวเลือกอ่ืนให้เพิ่ม มากขึ้น อีกทางเลือกท่ีผู้เขียนอยากแนะนาคือ องค์กรหรือหน่วยงานเป็นผู้สมัครสมาชิกแล้วให้ บุคลากรในองค์กรสามารถนา User ไปใช้จัดการ ประชุมได้โดยผู้เข้าร่วมประชุมไม่จาเป็นต้องเสีย ค่ า ใ ช้ จ่ า ย อ่ื น ใ ด น อ ก จ า ก ค่ า ใ ช้ ง า น อิ น เ ต อ ร์ เ น็ ต ถ้าไม่ได้เช่อื มต่อกับระบบ Wi-Fi ขององค์กร ภาพท่ี ๑๐ ตวั อยา่ งหนา้ จอของผู้จดั ประชมุ ทางไกล (Host) ๖.๕ ตัวอย่างการใช้ประโยชน์จากโปรแกรม ทม่ี ีผู้เข้ารว่ มประชมุ Zoom Cloud Meeting ๖.๔ รายละเอยี ดคา่ ใช้จา่ ย ตั้งแต่เร่ิมต้นเปิดตัวโปรแกรม Zoom Cloud ค่าใช้จ่ายท่ีจาเป็นต้องเตรียมสาหรับการ Meeting มีผู้ใช้งานได้นาไปประยุกต์ใช้งานมากมาย ท้ังการประชุม สัมมนาทางไกล การเรียน การสอน ประชุมทางไกลผ่านระบบ Zoom Coud Meeting ทางไกล การให้คาปรึกษาการทางานทางไกลเช่น นับว่าประหยัดมากเมื่อเปรียบเทียบกับการใช้งาน การแพทย์ การซ่อมบารุง เชิงรุก การตรวจสอบ ประชุมทางไกลผ่านระบบ VTC(VideoTeleconferences) การเฝ้าระวังต่างๆ ท่ีต้องมีการแลกเปล่ียนข้อมูลทั้ง แบบเดิม เนื่องจากสามารถใช้อุปกรณ์ที่ใช้งาน ภาพและเสียง จึงนับว่าเป็นโปรแกรมท่ีมีประโยชน์ ประจาวันท่ีมีขายอยู่ในท้ อ งตลาด ทั่ว ไ ป ม า คุ้มค่า ดังเช่นท่ีมีการใช้งานอย่างแพร่หลายจนติด ประยุกต์ใช้งานผ่านอินเตอร์เน็ตได้ทันที ค่าใช้จ่าย อันดับจากการสารวจของสถาบันชั้นนาดังที่ได้กล่าว สามารถแบ่งออกเป็นสองกลุ่มหลักๆ ได้แก่ ค่า มาแล้วข้างต้น ในส่วนของ กรมอิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์ต่างๆ รวมค่าใช้งานอินเตอร์เน็ต และค่า ท ห า ร เ รื อ แ ล ะ ก อ ง ทั พ เ รื อ ไ ด้ เ ร่ิ ม มี ก า ร น า ม า ใ ช้ สมาชิกโปรแกรม Zoom Cloud Meeting สนับสนุนการปฏิบัติงานในหลายๆ ด้านด้วยกัน ดงั เช่นตวั อยา่ งที่จะแสดงตอ่ ไปนี้ ค่าอุปกรณ์ Hardware Computer ข้ึนอยู่ กบั ขีดสมรรถนะ ระหว่าง ๓,๐๐๐ บาท ถงึ ๓๐,๐๐๐ บาท และค่าใช้งานอินเตอร์เน็ต ค่าอินเตอร์เน็ตราย เดือน ๕๐๐- ๑,๐๐๐ บาท แล้วแต่ความเร็วที่ วารสารอิเล็กส์ ปีที่ ๒๔ ฉบับที่ ๒๕ ๘๕

ภาพที่ ๑๑ การบรรยายพิเศษการจดั การความรขู้ อง ภาพท่ี ๑๔ การจัดงานกจิ กรรมการแบ่งปนั ความรู้ โชว์ แชร์ คณะกรรมการ KM ทร. เมือ่ ๒๗ พ.ย.๖๐ ช้อปใช้ ณหอประชุมกองทพั เรือใน๑๗ม.ค.๖๑ การบรรยายพิเศ ษก ารจัด ก ารคว าม รู้ ของ ตามสั่งการของประธานคณะทางานการจัดการ คณะกรรมการจัดการความรู้กองทัพเรือ เม่ือ ความรู้ของกองทัพเรือ ให้ หน่วยขึ้นตรงกองทัพเรือ ๒๗ พ.ย.๖๐ เพื่อชี้แจงแนวทางในการจัดการความรู้ และหน่วยเฉพาะกิจ ท่ีมีการดาเนินงานจัดการ ของกองทพั เรอื ในปี งป. ๒๕๖๑ ความรู้ ร่วมสง่ ผลงานมานาเสนอและให้หนว่ ยต่างๆ ได้มาคัดเลือกเพ่ือนาไปประยุกต์ใช้กับภารกิจของ หน่วยเพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้ามสายงาน นับว่าเป็นประโยชน์อย่างย่ิงที่บุคลากรได้มีโอกาส นาเสนอผลงาน กิจกรรมที่ได้ดาเนินการจนประสบ ความสาเร็จและพร้อมที่จะถ่ายทอดความรู้ให้กับ หนว่ ยอ่ืนได้นาไปใชป้ ระโยชนด์ ้วย ภาพท่ี ๑๒ การจัดคลินิกพิเศษให้คาปรึกษาก่อนงาน กิจกรรมแบ่งปันความรู้ของ คณะกรรมการ KM ทร. ใน ๒๙ ธ.ค.๖๐ ภาพท่ี ๑๓ การจัดกิจกรรมตลาดนัดความรู้ (KM Forum ) ภาพที่ ๑๕ การให้คาแนะนาการซอ่ มบารุงทางไกลระหว่าง ของ อล.ทร. ใน ๑๒ ม.ค.๖๑ หน่วยงานใน อล.ทร. กับหน่วยปฏิบัติการเกาะกูด จ.ตราด ใน ๕ ก.พ๖๑ ๘๖ วารสารอเิ ลก็ ส์ ปีที่ ๒๔ ฉบับท่ี ๒๕

สามารถแบ่งปันภาพ เสียง ข้อมูลการบรรยาย และ การปรับแก้ไขข้อมูลจากการอภิปรายได้แบบ Real Time หรือ Interactive แมว้ ่าจะเปน็ การประชุมที่มี ผ้เู ข้าร่วมจานวนมากอย่ตู า่ งพื้นทกี่ ันกต็ าม ภาพที่ ๑๖ การสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพ่ือพัฒนา KM บทสรุป การประชุม สัมมนาทางไกลผ่านระบบ เครือข่ายอินเตอร์เน็ตด้วยอุปกรณ์คอมพิวเตอร์หรือ Facilitator สู่ผู้นาการเปล่ียนแปลง Change Agent ใน ๔ Smart devices ต่างๆ ผ่านทางโปรแกรมประยุกต์ Zoom Cloud Meeting สามารถทาได้ง่าย โดย และ ๑๗ เม.ย.๖๑ ณ หอ้ งประชุม กวก.อล.ทร. ผู้เข้าร่วมประชุมไม่จาเป็นต้องเดินทางมาร่วม ประชุมในห้องประชุม ณ สถานที่เดียวกันตามรูป ๖.๖ คา้ ถามทีพ่ บบ่อย แบบเดิม ลดความเส่ยี งในการเดนิ ทาง ประหยดั เวลา จากประสบการณ์ของทีมงาน การจัดการ และค่าใช้จ่ายต่างๆ เพ่ิมประสิทธิภาพในการทางาน ได้หลายรูปแบบ ตอบสนองความต้องการของ ความรู้ของ อล.ทร. ได้ใช้งานโปรแกรม Zoom ผู้รับบริการ นอกจากนี้ยังสามารถใช้เพื่อเป็น Cloud Meeting สามารถ สรุปปัญหาข้อขัดข้อง เครื่องมือสนับสนุนการติดตามสถานการณ์ฉุกเฉิน และแนวทางการแกไ้ ขไดด้ ังน้ี และแก้ปญั หาวิกฤติตา่ งๆ ได้อยา่ งทันทว่ งที สามารถ น า ม า ใ ช้ ง า น แ ท น ร ะ บ บ VTC (Video Tele ๑. การประชุมไม่ได้ยินเสยี งหรอื ไม่ชัดเจน ต้อง conference) ใ น ก ร ณี ที่ มิ ใ ช่ ข้ อ มู ล ค ว า ม ลั บ ท่ี ตรวจสอบการตั้งค่าไมโครโฟน หรืออาจอยู่ตาแหน่ง เกี่ยวข้องกับความม่ันคงของประเทศ แม้ว่าตัวระบบ Mute Microphone หรือเลือกเชื่อมต่อสายเข้ากับ เองจะมีขีดความสามารถในเรอ่ื งของการรักษาความ mixer ของชดุ ประชมุ ในหอ้ งประชมุ ปลอดภัยอยู่ระดับที่เช่ือถือได้ระดับหน่ึง แต่ เน่ืองจากข้อมูลทั้งหมดจะอยู่ใน Cloud server ที่ ๒. การประชุมไม่เห็นภาพหรือไม่ชัดเจน ต้อง กระจายอยู่ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตโอกาสที่จะถูก ตรวจสอบการตั้งค่ากล้อง หรืออาจอยู่ตาแหน่งปิด Hacking ก็ยังมีโอกาสที่จะรั่วไหลได้ ดังนั้นหาก กล้อง โฟกัสไม่ตรงตาแหน่ง หรือแสงสว่างในห้อง จาเป็นต้องใช้งานที่เก่ียวข้องกับความมั่นคงหรือช้ัน ประชมุ นอ้ ยเกินไป ความลับควรหลีกเล่ียงไปใช้ระบบที่มีการเข้ารหัสท่ี ซบั ซอ้ นมากกว่า ๓. การประชุมไม่ต่อเนื่อง หรือขาดหายเป็น เวลานานต้องตรวจสอบการเชื่อมต่อ อินเตอร์เน็ต อุปสรรค ข้อขัดข้อง โอกาสในการเกิดความ จากระบบ Wi-Fi, Mobile data การเติมเงิน การ ล้มเหลวหรือไม่สมบูรณ์ของการประชุม สัมมนา หลุดหลวมของ Sim card รัศมีการให้บริการของ ทางไกลผ่านโปรแกรม Zoom Cloud Meeting เครือข่ายอินเตอร์เน็ต หรือการต่อสถานภาพสมาชิก ได้แก่ผู้เข้าร่วมประชุมท่ียังไม่คุ้นเคยกับรูปแบบการ Zoom Cloud Meeting ใ ช้ ง า น Application program Zoom Cloud Meeting อาจขัดจังหวะหรือรบกวนการดาเนินการ ๔. เหตุผลในการเลือกใช้งานโปรแกรม Zoom ประชุมทางไกลได้ หรือหากขาดอุปกรณ์พ้ืนฐาน Cloud Meeting แทนที่จะเลือกใช้โปรแกรมอ่ืนๆ ตามที่ระบบกาหนด ไม่มีการเช่ือมต่อเครือข่าย เช่น Skype, Line หรอื Facebook live เนอ่ื งจากมี อนิ เตอรเ์ นต็ ท่ีมีความเสถียรอย่างต่อเน่ือง ตลอดการ ขีดความสามารถในการจัดการประชุมทางไกลใน ลักษณะของ Video Teleconference ได้สมบูรณ์ มากกว่า สามารถควบคุมการประชุมได้ท้ังฝ่ัง Host และ ผู้เข้าร่วมประชุม ซ่ึงสมาชิกในแต่ละสถานี วารสารอเิ ลก็ ส์ ปีที่ ๒๔ ฉบบั ท่ี ๒๕ ๘๗

ประชุม เช่น ในพ้ืนท่ีทางานท่ีมีอุปกรณ์ติดต้ังอยู่ บรรณานุกรม ภายในเรือรบซึ่งมีระบบการป้องกันสัญญาณรบกวน ทางอิเล็กทรอนิกส์อย่างดี ก็ทาให้การใช้งานระบบ ๑. จิรัชฌา วิเชียรปัญญา. การจดั การความรู้ : จากทฤษฎสี ู่ ดังกล่าว ลม้ เหลวไดเ้ ช่นกนั การปฏบิ ัต.ิ (On line). ข้อเสนอแนะ ผู้เข้าร่วมประชุมจาเป็นต้องศึกษาการ Available :m.midscaleoffice7.com/uploads/ ใ ช้ ง า น Application Zoom Cloud Meeting present/65.ppt เบ้ืองต้นให้เกิดความเช่ียวชาญ และจัดเตรียม ๒. พรธดิ า วเิ ชยี รปญั ญา. การจดั การความรู้ : พ้ืนฐานและ อุปกรณ์พื้นฐานตามท่ีระบบกาหนด ต้องมีความ การประยกุ ต์ใช้. กรงุ เทพฯ : เอก็ ซเปอร์เนต็ , 2547 (p.14 พร้อมของการเช่ือมต่อเครือข่ายอินเตอร์เน็ตอย่าง โลกของการทางาน) ต่อเน่ืองตลอดการประชุม สัมมนา โครงสร้างของ ๓. สมคิด บางโม องค์การและการจัดการ สานักพิมพ์ ระบบเครือข่ายต้องมีความเสถียร มีประสิทธิภาพสูง วิทยพฒั น์ กรงุ เทพฯ (2545) สามารถรองรับการรับ-ส่งข้อมูลท่ีมีท้ังภาพและเสยี ง ๔. https://kmlite.wordpress.com/2010/06/18/ ตลอดจนภาพเคลอ่ื นไหว และมี Bandwidth ที่กว้าง v3i3-06/ เพียงพอ เหมาะสมกับจานวนสมาชิกที่เข้าร่วมการ ๕. www.zoom.us ประชุมสัมมนา การสมัครสมาชิกโดยมีค่าใช้จ่ายไม่ มากนักช่วยให้เกิดความต่อเนื่องของการประชุม ทางไกลและสามารถรองรับลูกข่ายผู้เข้าร่วมประชุม ได้มากกว่าการทดลองใช้งานจาก โปรแกรมทดลอง ใช้ เครอ่ื งท่ที าหน้าที่ควบคุมการประชุม (Host) อาจ ต้องใช้สายสัญญาณเชื่อมต่อ (LAN) ระหว่าง เคร่ืองมือท่ีใช้งาน Zoom Cloud Meeting กับ อุปกรณ์ Router ที่ต้องต้ังไว้บริเวณที่สามารถรับ สัญญาณอินเตอร์เน็ตได้ดีกว่า หากมีการทางาน ร่วมกับเคร่ืองเสียง ชุดประชุม ควรใช้สายต่อเข้ากับ PC ห รื อ Notebook ที่ มี Input Mic. แ ล ะ earphone jack เพ่อื ใหไ้ ดค้ ณุ ภาพของเสยี งในระบบ ท่ีดีท่ีสุด ซึ่งจะช่วยลดเสียงรบกวนและ echo ท่ี เกดิ ข้นึ ได้มาก ๘๘ วารสารอิเล็กส์ ปีที่ ๒๔ ฉบับที่ ๒๕

กลา่ วนา เครดิตภาพ https://www.smartdatacollective.com ทุกวันนี้เราได้ยินคาว่า AI อยู่บ่อยคร้ัง ส่วน วา่ ที่ ร.ต.มานพ ห่างภัย ใหญ่จะได้ยินมาจากการโฆษณาทางโทรทัศน์และ จากข่าวสารต่างๆ ด้านเทคโนโลยี แต่ไม่ค่อยให้ ความใกล้เคียงกับการตัดสินใจด้วยมนุษย์ สรุปคือ ความสนใจเท่าไรนักเพราะคิดวา่ เป็นเรอ่ื งไกลตัว เรา ก า ร ส ร้ า ง เค รื่ อ ง จั ก ร ก ล ห รื อ ค อ ม พิ ว เต อ ร์ ให้ มี ทราบหรือไม่ว่า AI คืออะไร แล้วเก่ียวข้องกับ กระบวนการคิดและตัดสินใจอย่างมีเหตุมีผลภายใต้ ชีวิตประจาวันของเราในแง่มุมใด และจะสามารถ ฐานความรู้ท่ีมี โดยอาศัยหลักการการเลียนแบบ นามาใช้ประโยชน์กับตัวของเราอย่างไรได้บ้าง ซึ่ง พฤติกรรมของมนษุ ย์ ปัจจุบันนี้ AI กาลังมาแรงและแย่งงานมนุษย์ใน หลายๆ งานไปบา้ งแลว้ และมีแนวโนม้ ที่เปน็ ไปไดส้ ูง จากเป้าหมายที่จะสร้างเครื่องจักรให้มีความ ที่มนุษย์จะต้องตกงานเป็นจานวนมากในอนาคต ฉลาดและมีกระบวนการคิดเทียบเท่ามนุษย์จึงทาให้ อนั ใกลน้ ี้ แลว้ AI จะแยง่ งานมนุษย์ได้จรงิ เหรอ น่คี ือ AI ถูกพัฒนามาอย่างต่อเน่ืองจนถึงระดับที่สามารถ คาถามที่หลายท่านอยากจะรู้ ก่อนอ่ืนขออธิบาย นาไปใช้ทางานท่ีมีความซับซ้อนแทนแรงงานจาก คร่าวๆ เพ่ือให้เห็นภาพรวมของ AI ก่อน สาหรับ AI มนุษย์ได้ จึงส่งผลให้แรงงานจากมนุษย์ถูกลดการ ม า จ า ก ค า ว่ า Artificial Intelligence ห รื อ พ่ึงพาลง เน่ืองจากมนุษย์ยังต้องอาศัยพ้ืนฐานทาง ปัญญาประดิษฐ์ กาเนิดใน ค.ศ.๑๙๕๖ โดยกลุ่ม กายภาพหรอื ร่างกาย ทาให้การทางานอาจเกิดความ ของ John McCarthy หมายถึง ความฉลาดเทียมที่ ผิดพลาดข้ึนได้เสมอ แล้วเราจะวัดความฉลาดของ สร้างขึ้นให้กับส่ิงท่ีไม่มีชีวิต ซึ่งเป็นศาสตร์ด้าน AI ท่สี ร้างข้ึนได้อย่างไร คาตอบคือ ถ้าเราไม่สามารถ จิตวิทยาและคณิตศาสตร์ เป็นศาสตร์ย่อยของ แยกไดว้ ่าคาตอบหรอื ผลลัพธ์ท่ีได้นั้นเป็นคาตอบของ วิทยาการคอมพิวเตอร์และวิศวกรรม ท่ีต้องการ คอมพิวเตอร์หรือของคน แสดงว่า AI น้ันผ่านเกณฑ์ พัฒ นาเครื่องจักรกลต่างๆ เช่น คอมพิวเตอร์ วดั ความฉลาด แสดงดงั ภาพที่ ๑ ถา้ เปรยี บเทยี บ AI หุ่นยนต์ ให้มีความสามารถทางด้านความคิด การ กับมนุษย์ ข้อได้เปรียบของ AI คือ มีระบบการ ตัดสินใจ และพฤติกรรมท่ีคล้ายกับมนุษย์มากที่สุด คานวณที่รวดเร็วถูกตอ้ งแม่นยา มีระบบการจัดเก็บ เพื่อแก้ปัญหาหรือหาเหตุผลจากข้อมูลหรือ องค์ ข้อมูลได้ปริมาณมาก สามารทาแบบวนซ้า ได้ดี ความรู้ ท่ี มีอยู่แล้วน ามาวิเคราะห์ และแป ล เป็นต้น แต่ข้อจากัดของ AI คือ ไม่มีความคิด ความหมายให้ได้ผลสรุปหรือผลลัพธ์ท่ีถูกต้องและมี สร้างสรรค์ การตัดสินใจต้องอาศัยข้อมูล และมี หน้าท่ีเฉพาะด้านในด้านหน่ึง ซึ่งสามารถจาแนก AI ออกได้เป็น ๔ ลักษณะ คือ ระบบความคิดที่ เลียนแบบมนุษย์ ระบบการกระทาที่เหนือมนุษย์ วารสารอเิ ลก็ ส์ ปีท่ี ๒๔ ฉบบั ท่ี ๒๕ ๘๙

ระบบความคิดอย่างมีเหตุผลและระบบการกระทา ประสิทธิภาพ ตัวอย่างเช่น ฟาร์มปลูกแตงกวาใน อย่างมีเหตผุ ล ญ่ี ปุ่ น ข อ ง Makoto Koike ได้ น า เท ค โน โล ยี Machine learning และ Deep Learning ภายใต้ ภาพท่ี ๑ การทดสอบความฉลาด ระ บ บ TensorFlow ข อ ง Google พ ร้อ ม ด้ ว ย Raspberry PI 3 มาใช้ในการคัดแยกแตงกวา ซ่ึงให้ จ า ก ที่ ก ล่ า ว ม า ข้ า งต้ น ถ้ า เค รื่ อ งจั ก ร ห รื อ ความถูกต้องถึง ๙๕ % มากกว่าการใช้คนท่ีทาได้ คอมพิวเตอร์มีกระบวนการคิด การเคลื่อนไหวได้ เพียง ๗๐ % เทา่ นนั้ คล้ายมนุษย์หรืออาจเหนือกว่าบางด้าน อาจจะไม่ จาเป็นต้องใช้มนุษย์ทางานอีกแล้วต่อไป แต่ถึง ด้านอุตสาหกรรมการผลิต ใช้เทคโนโลยี AI อย่างไรก็คงต้องใช้เวลาอกี นาน ในฐานะท่ีเปน็ มนุษย์ และหุ่นยนต์เข้ามาดาเนินการผลิตแทนแรงงาน ผู้สร้างเราจะใช้ประโยชน์จากคุณสมบัติของ AI ด้าน มนุษย์ อุตสาหกรรมที่หลายคนเห็นภาพชัดท่ีสุด คือ ใดท่ีจะทาให้ระบบงานของเรา มีประสิทธิภาพสูงขึ้น อุตสาหกรรมยานยนต์ ซ่ึงต่อไปหุ่นยนต์ ในโรงงาน ลองมาดูตัวอย่างการนา AI ไปประยุกต์ใช้งานกัน เหล่านี้จะทางานได้อย่างละเอียดมากขึ้น แม้กระท่ัง นะครับ งานท่ีทาซาๆ และมีความซับซ้อน จนเรียกว่า การประยกุ ตใ์ ชง้ าน AI ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต ต้ั ง แ ต่ ต้ น จ น จ บ อ า จ ไม่ พ่ึ ง พ า แรงงานมนษุ ย์อีกต่อไป ด้านการแพทย์และสุขภาพ ได้นา AI เข้ามา ช่วยแพทย์ในการผ่าตัดและวินิจฉัยโรค ได้อย่าง ด้านการขนส่งสาธารณะ นอกจากรถไร้ แม่นยามากข้ึนหรืออาจเรียกส้ันๆ ว่า หมอ AI คนขับซึ่งเป็นรถส่วนบุคคลที่ใช้เทคโนโลยี AI แล้ว ตัวอย่างเช่น โรงพยาบาลบารุงราษฎร์ นา IBM ยังมีรถขนส่งสาธารณะที่ยังเป็นอีกหน่ึงเป้าหมายท่ี Watson เทคโนโลยี AI เข้ามาช่วยวิเคราะห์การ จะช่วยยกระดับการบริการให้มีประสิทธิภาพมาก รักษาโรคมะเร็ง หรือที่โรงพยาบาลเซ่ียงไฮ้ของ ย่ิงข้ึน ตัวอย่างเช่น Uber ที่จัดตั้ง AI Labs ขึ้นมา ประเทศจีน มีการใช้เทคโนโลยี AI จากบริษัท เพื่อสร้างอัลกอริทึมและเทคโนโลยีสาหรับใช้ใน Infervison เข้ามาช่วยในการวินิจฉัยและเอ็กซเรย์ บริการของ Uber สามารถวิเคราะห์เส้นทางตาม โรงมะเร็งปอด พื้นท่ีต่างๆ เพ่ือให้รู้ว่าพื้นที่ใดมีความต้องการใช้รถ บ้าง และ Uber จะเป็นบริการที่เข้าไปช่วยเหลือ ด้านการเกษตร หรือเรียกส้ันๆ ว่า Smart ตามพ้นื ท่ีตา่ งๆ ไดอ้ ย่างรวดเร็ว Farm เร่ิมถูกนามาใชใ้ นอุตสาหกรรมการเกษตรเพ่ือ ชว่ ยบรรเทาการใช้แรงงานมนุษย์และเพมิ่ ผลผลติ ที่มี ด้านการเงินและการธนาคาร ซึ่งมีการ ประเมินวา่ AI นั้น จะสามารถเป็นทีป่ รกึ ษาด้านการ ทาธุรกรรมการเงินให้กับลูกค้า เป็นเคร่ืองมือท่ีช่วย ตรวจสอบเส้นทางการเงิน เพื่อป้องกัน การทุจริต, ทาหน้าที่วิเคราะห์ศักยภาพด้านการเงินเพื่อวาง โครงสร้างธุรกิจและกลยุทธ์ให้กับธุรกิจการเงินและ การธนาคาร ดา้ นงานก่อสรา้ ง เช่น บริษัท Komatsu ของ ญ่ีปุ่น นา AI เข้ามามีส่วนร่วมในการทางานร่วมกับ มนุษย์ ตั้งแต่ก่อนจนถึงหลังก่อสร้าง ได้แก่ การ สารวจข้อมูลและโครงสรา้ งต่างๆ ของงานก่อนสร้าง เพื่อการทางานของเครื่องจักรโดยอัตโนมัติ หรือจะ เป็นการวิเคราะห์และวางแผนการก่อสร้าง เพ่ือให้ ๙๐ วารสารอิเลก็ ส์ ปีท่ี ๒๔ ฉบบั ที่ ๒๕

ค น ง า น ก่ อ ส ร้ า ง ได้ รั บ ค า แ น ะ น า ที่ ถู ก ต้ อ ง แ ล ะ ของเจ้าหน้าท่ี ซึ่งทาให้สามารถทางานได้เต็มเวลา สามารถทาให้งานก่อสร้างออกมามีประสิทธิภาพ มากข้ึน เฉพาะค่าใช้จ่ายเร่ืองเวลา AI ช่วย MTR มากทสี่ ุด ประหยดั เงนิ ไดป้ ระมาณ ๒๕ ลา้ นบาทต่อปี ภาพท่ี ๒ การประยกุ ตใ์ ชง้ าน AI ภาพท่ี ๓ ศนู ยก์ ลางควบคุมระบบซอ่ มบารุง MTR ด้านโลจิสติกส์ หรือระบบขนส่งสินค้า นามา ด้านการบารุงรักษาเครื่องจักรกล ซึ่งเป็น ชว่ ยในการวิเคราะห์ปรับปรงุ หรือค้นหาเส้นทางการ งาน ห น่ึ งท่ี น่ าส น ใจ เพ ราะเป็ น ก ารป้ อ งกั น ขนส่ง การปิดถนน อุบัติเหตุ รวมถึงสภาพอากาศ เคร่ืองจักรกลกันก่อนที่จะเกิดความเสียหายรุนแรง จึงทาให้ลดความเส่ียงในการส่งของล่าช้า ขนส่ง เป็นการนา AI มาช่วยวินิจฉัยอาการชารุด โดย สินค้าอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย การติดตั้ง ตรวจจับความผิดปกติของเคร่ืองจักร และแสดง ระบบเซ็นเซอร์บนยานพาหนะ สามารถช่วยให้ผู้ขับ รายการซ่อมบารุงทางมอนิเตอร์ เพ่ือป้องกันการ ข่ีทราบถึงระดับเช้ือเพลิง ความร้อน ระดับลมยาง หยุดเดินเครื่องจักรสาหรับขบวนการผลิตและความ รถยนต์ และ ML(Machine Learning) ยังช่วยให้ เสียหายอ่ืนๆ เช่น บริษัทโอคุม่า ได้พัฒนา OSP-AI บริษัทสามารถคานวณ ล่วงหน้าได้ว่าจุดไหน ขึ้นมา และเม่ือไหร่จะต้องซ่อมบารุง จึงช่วยลดค่าใช้จ่าย และป้องกันอุบัติเหตุท่ีอาจเกิดจากการเส่ือมสภาพ ภาพท่ี ๔ การวินจิ ฉยั เคร่อื งจักรดว้ ย AI ของเครอื่ งยนตไ์ ด้ จากตัวอย่างเป็นการประยุกต์ AI ในด้านต่างๆ ซึ่ง ด้านการซ่อมบารุง ระบบรถไฟฟ้าใต้ดินของ เป็นเพียงส่วนหน่ึงเท่าน้ัน ยังมีงานอีกมากมายท่ีได้ ฮ่องกง (MTR) ได้นา AI เข้าช่วยจัดการระบบซ่อม นา AI นาไปใช้ เช่น Call Center ที่เราได้ยินกันอยู่ บารุง ซึ่งมีความสามารถมองภาพรวมท้ังระบบ แล้ว ทุกวันและระบบท่ีคาปรึกษาต่างๆ ซ่ึงให้ผู้อ่านได้ ทาการรวบงานที่ซาซ้อนและช่วยทาให้เกิดการใช้ เห็นประโยชน์และข้อดีของ AI ท่ีมีความสามารถใน ทรัพยากรร่วมกันในระดับท่ียากเกินกว่ามนุษย์จะทา หลายๆ ด้าน เช่น การวินิจฉัย วิเคราะห์ปัญหาและ ได้ ซ่ึงเหล่าวิศวกรของบริษัทได้รับการแจกจ่ายงาน โดยสั่งด้วยระบบ AI เช่น ขัดและเปลี่ยนรางที่ชารุด เสียหาย จากการท่ีนาระบบ AI เข้ามาใช้ทาง MTR สามารถลดเวลาในการวางแผนเวลาในการเตรยี มตัว วารสารอเิ ลก็ ส์ ปีท่ี ๒๔ ฉบบั ท่ี ๒๕ ๙๑

ค้นหาคาตอบจากฐานความรู้ท่ีมีปริมาณมากๆ ได้ อกี ประการหนึ่งจะต้องอาศัยประสบการณ์และความ อย่างรวดเร็วและค่อนข้างแม่นยาคงทน ส่งผลให้ ชานาญท่ีสะสมมาอย่างยาวนานจึงจะสามารถซ่อม ระบบงานมีประสิทธิภาพสูงขึ้น จากความสามารถ ทาได้อย่างสมบูรณ์ โดยปกติแล้วช่างกับหัวหน้าช่าง เหล่าน้ีจึงส่งผลกระทบท่ีชัดเจนคือลดการพ่ึงพา จะเป็นผู้ปฏิบัติงานซ่อมเป็นส่วนใหญ่ ซ่ึงจะมีความ แรงงานจากมนุษย์น่ันเอง จากเหตุผลและตัวอย่าง เช่ียวชาญน้อยกว่านายช่าง เม่ือแก้ปัญหาการซ่อม ขา้ งต้น เราจะนาระบบ AI หรือ ปัญญาประดิษฐ์ มา ทาไม่สาเร็จก็ต้องได้รับคาแนะนาจากผู้ที่มีความ ใช้ในงานซ่อมบารุงของเราได้อย่างไร จึงจะได้ เช่ียวชาญกว่า ข้อมูลเหล่าน้ีเป็นพฤติกรรมของ ป ระ โย ช น์ แ ล ะส าม ารถ เพ่ิ ม ป ระสิ ท ธิภ าพ มนุษย์ ทาอย่างไรจะดึงองค์ความรู้จากผู้ท่ีมี การทางานได้ ประสบการณ์เหล่านี้มาบรรจุไว้ในคอมพิวเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์นั้นเป็นผู้เชี่ยวชาญแทนมนุษย์ ในบทความน้ีผู้เขียนจะขอกล่าวถึง AI ท่ีจะ และสามารถถ่ายทอดไปสู่ผู้อื่นได้อย่างสะดวกและ ประยุกต์ใช้กับงานซ่อมบารุงทั่วๆ ไป โดยจะไม่ รวดเร็วได้ เจาะจง และไม่ลงลึกไปถึงทฤษฎีของ AI เพราะเป็น เรื่องที่เข้าใจค่อนข้างยาก ถ้าผู้อ่านสนใจสามารถ จากข้อมูลข้างต้น ผู้เขียนจึงแยกงานออกเป็น ศึกษาได้จากส่ือท่ัวไป และจะเสนอแนวคิดท่ีเป็นไป ๓ งาน คือ งานให้ความรู้ (ที่ปรึกษาการซ่อมบารุง ได้ต่อการประยุกต์ใช้ อาจ เป็นประโยชน์ต่อ หรือ ช่าง AI) งานตรวจสอบสภาพเครื่องจักรหรือ ผู้ปฏิบตั งิ านซ่อมบารุงรนุ่ ใหมๆ่ ระบบวินิจฉัยเครื่องจักรด้วย AI และงานการบริหาร การจัดการซ่อมบารุงแบบบูรณนาการด้วย AI แต่จะ แนวคดิ การนา AI มาใช้สาหรับงานซอ่ มบารุง ขอเสนอแนวคิดแบบกว้างๆ เพียง ๒ ด้านแรก เม่ือเราพอเข้าใจบ้างแล้วว่า AI คืออะไรและ เท่ า น้ั น เพ ร า ะ ว่ า มี ค ว า ม เป็ น ไป ได้ ใ น ก า ร น า ไป ประยกุ ต์ใช้ สามารถทาอะไรได้บ้าง จากตัวอย่างการประยุกต์ใช้ งานและบริบทของงานซ่อมบารุงที่ มีภ ารกิจ ท่ีปรึกษาการซ่อมบารุงด้วย AI (ช่าง AI) ดาเนินการดูแลรักษา ซ่อมบารุงยุทโธปกรณ์ให้คง หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ระบบผู้เชี่ยวชาญ สภ าพ หรือกลับคืนสู่สภ าพ ใช้การได้อย่างมี (Expert System: ES) ซึ่งเป็นสาขาหนึ่งของ AI ที่ ประสิทธิภาพ ซึ่งงานซ่อมบารุงเป็นอีกงานหนึ่งที่ ศึกษาเกี่ยวกับสมองของมนุษย์ กระบวนการคิด จะต้องใช้ความรู้ ทักษะและความชานาญค่อนข้าง ตัดสินใจอย่างมีเหตุและผล โดยระบบจะช่วยในการ สูง จึงต้องมีการสะสมประสบการณ์การซ่อมบารุง ตดั สนิ ใจเกี่ยวกับการแก้ปัญหาแบบไม่เป็นโครงสร้าง แ ล ะ เรี ย น รู้ เท ค โ น โ ล ยี ส มั ย ให ม่ อ ย่ า ง ต่ อ เนื่ อ ง หรือข้อมูลท่ีซับซ้อน จึงต้องอาศัยองค์ความรู้ต่างๆ โดยเฉพาะอย่างย่ิงท่ีเป็นงานซ่อมบารุงเฉพาะด้าน ที่เกี่ยวข้อง เพ่ือใช้เป็นข้อมูลสนับสนุนในการแก้ไข เช่น ระบบเครื่องจักร ระบบอิเล็กทรอนิกส์และ ปัญหาที่เกิดขึ้น จนได้คาตอบท่ีดีและเหมาะสมกับ คอมพิวเตอร์ของเรือ ท่ีไม่สามารถหาองค์ความรู้ได้ สถานการณ์ โดยให้เคร่ืองคอมพิวเตอร์ทาหน้าที่ จากท่ัวๆ ไป เสมือนเป็นท่ีปรึกษา ซึ่งเดิมทีใช้แรงงานมนุษย์ แต่ เน่ืองจากปัญหา มีความซับซ้อนข้อมูลแวดล้อมมี ปัญหาการซ่อมบารุงทั่วๆ ไปท่ีพบได้บ่อยคือ ปรมิ าณมาก การอาศัยแรงงานมนุษยอ์ าจทาไดล้ ่าช้า บุคลากรไม่เพียงพอ ขาดความรู้ความชานาญและ งบประมาณ ท่ใี ช้สาหรับจา้ งผู้เชยี่ วชาญกค็ อ่ นข้างสูง ประสบการณ์ เคร่ืองมืออุปกรณ์ ระยะเวลา การนาปัญญาประดิษฐ์มาประยุกต์ใช้เป็นระบบ งบประมาณและเจคติของช่าง เป็นต้น จากเหตุผล ผู้เชี่ยวชาญจึงเป็นอีกหนทางเลือกหน่ึงท่ีสามารถ เหล่านี้ส่งผลกระทบให้ไม่สามารถซ่อมบารุงเสร็จได้ แก้ไขปัญหาดังกล่าวได้ ด้วยเหตุผลน้ีจึงมีการพัฒนา ทันตามเวลาและเสียค่าใช้จ่ายเพ่ิมขึ้นตามไปด้วย เพราะว่างานซ่อมบารุงระบบท่ีมีความซับซ้อนมากๆ จะต้องใช้บุคลากรและเวลาเพิ่มข้ึนตามไปด้วย และ ๙๒ วารสารอเิ ล็กส์ ปีท่ี ๒๔ ฉบบั ที่ ๒๕

ระบบการจัดการองค์ความรู้ ท่ีเรียกว่า ระบบฐาน Engine) จากฐานความรู้ แล้วก็ส่งออกมาให้ผู้ใช้ องค์ความรู้ (ผา่ นทางสว่ นเชอ่ื มต่อผใู้ ช้ เช่น จอภาพ) ภาพท่ี ๕ ตัวอย่างกระบวนการทางานของระบบผู้เชี่ยวชาญ ภาพที่ ๖ ส่วนประกอบของระบบผู้เชยี่ วชาญ โดยปกติเราจะเคยเห็นแต่ท่ีปรกึ ษาท่ีเป็นมนุษย์ แล้ว องค์ประกอบของระบบผู้เชี่ยวชาญกับงาน ทาไมถึงต้องมาใช้ท่ีปรึกษาแบบ AI ถ้าเปรียบเทียบ ซ่อมบารุง คุณสมบัติของระบบผู้เชี่ยวชาญสาหรับ มนุษย์กับระบบผู้เชี่ยวชาญ(AI) ด้านความคงทน งานซ่อมที่ควรมีคือ จัดเก็บข้อมูลให้ครอบคลุมทุก ถาวรของความรู้ สาหรับมนุษย์อาจสูญหายไปตาม สาขาช่างที่รับผิดชอบ แยกแยะข้อมูลท่ีคลุมเครือ เวลาแต่สาหรับปัญญาประดิษ ฐ์เก็บความรู้ได้ ค้นหาคาตอบที่เหมาะสมจากฐานความรู้(บอก ค่อนข้างถาวร มนุษย์เผยแพร่ความรู้ทาได้ยากยิ่งถ้า อาการเสีย แนวทางการซ่อมและการแก้ปัญหา) ให้ เป็ น ผู้ เชี่ ย ว ช าญ ด้ ว ย แ ล้ ว มี ค่ าใช้ จ่ าย สู งแ ต่ ถ้ าเป็ น ความรู้เร่ืองต่างๆ ใช้ง่ายและรวดเร็ว ระบบสามารถ ระบบผู้เชี่ยวชาญทาได้ง่ายรวดเร็วค่าใช้จ่ายน้อย เรยี นรูจ้ ากการใหค้ าปรกึ ษาไดด้ ้วยตัวเอง เปน็ ต้น ม นุ ษ ย์ ให้ เห ตุ ผ ล ต้ อ ง อ า ศั ย ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ สู งแ ต่ ปัญญาประดิษฐ์ถ้าเป็นเรื่องเฉพาะด้านให้เหตุผลได้ดี ส่วนประกอบทว่ั ไปของระบบ คอื ดังน้ันงานซ่อมบารุงจึงจาเป็นที่จะต้องมีผู้เชี่ยวชาญ ๑. ฐานความรู้ (Knowledge Base) ส่วนที่ เฉพาะทางเพื่อเป็นผู้ให้คาปรึกษา แนะนา แก้ปัญหา เก็บความรู้ท้ังหมดของผู้เช่ียวชาญทุกสาขาช่างที่ และหาวิธีท่ีเหมาะสมท่ีสุดเพ่ือไม่ให้เกิดความเสียต่อ รวบรวมจากประสบการณ์ ต้องมีการวิเคราะห์และ ยุทโธปกรณ์ที่ซ่อมบารุง ลดเวลาการซ่อมและ จาแนกข้อมูลให้เหมาะสม เช่น แผนกเคร่ืองสื่อสาร งบประมาณ แล้วเราจะเลือกท่ีปรึกษาที่เป็นมนุษย์ แผนกเครื่องเรดาร์ แผนกเคร่อื งเสียงใต้นา้ เปน็ ต้น หรือระบบผู้เช่ียวชาญ คาตอบคือ เราต้องใช้ ๒ . ก ล ไก อ นุ ม า น (Inference Engine) ผู้เชี่ยวชาญทั้งสองระบบแบ่งหน้าที่กันทาคงแยกกัน เป็นส่วนควบคุมการใช้ความรู้ในฐานความรู้ เพื่อ อย่างชัดเจนไม่ได้เพราะผู้เช่ียวชาญที่เป็นมนุษย์จะ วิเคราะห์และแก้ปัญหาท่ีเกิดขึ้น จะทาหน้าที่ เป็นผู้ใส่ความรู้เข้าไปในคอมพิวเตอร์จึงทาให้มี ตรวจสอบกฎเกณฑ์ที่อยู่ในฐานความรู้ โดยการใช้ ผู้เชี่ยวชาญ จานวนมากท่ีเป็นมนุษย์ในระบบ เหตผุ ลทางตรรกะ ผู้เชี่ยวชาญ และระบบผู้เชี่ยวชาญ จะทาการ ๓. ส่วนดึงความรู้ (Knowledge Acquisition ประมวลผลและหาคาตอบที่รวดเร็วและเหมาะสม Subsystem) เปน็ ส่วนท่ดี ึงความรจู้ ากเอกสาร ตารา ทีส่ ดุ ในฐานความรทู้ มี่ ีอยู่ ฐานข้อมูล ผู้พัฒนาจะทาการจัดความรู้ท่ีได้มาให้อยู่ ใน รู ป ที่ เข้ า กั น ไ ด้ กั บ โ ค ร ง ส ร้ า ง ข อ ง ฐ า น ค ว า ม รู้ จากภาพที่ ๖ สามารถอธิบายได้ว่าเม่ือมี เพ่ื อ ที่ จะส าม ารถ บ รรจุค ว าม รู้ที่ ได้ ม าล งใน ช่างจบใหม่ที่ยังไม่มีประสบการณ์ เข้ามาการพิมพ์ ฐานความรู้ได้ ถามคอมพิวเตอร์ (ช่าง AI ผ่านทางส่วนเชอื่ มต่อผใู้ ช้) เช่น คีย์บอร์ด ว่า เรื่องนั้น มันทาอย่างไร ช่าง AI ก็ จ ะ ไ ป ค้ น ห า ค า ต อ บ (ผ่ า น ท า ง Interface วารสารอเิ ลก็ ส์ ปีที่ ๒๔ ฉบับที่ ๒๕ ๙๓

๔. ส่วนอธิบาย (Explanation Subsystem) เครื่องจักรตามท่ีได้ยกตัวอย่าง จากทั้งหมดท่ีกล่าว เป็นส่วนที่อธิบายถึงรายละเอียดของข้อสรุปหรือ มา เป็ น เพี ยงการน าเสน อแน วคิดใน การน า คาตอบท่ไี ด้มานั้น มาได้อยา่ งไร เทคโนโลยี AI ไปใช้งานซ่อมบารุง เพ่ือเป็นแนวทาง ในการปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพการทางาน ๕ . ส่วน ติดต่อกับ ผู้ใช้ (User Interface) เคร่ืองหมายหรือสัญลักษณ์ที่ทาหน้าท่ีเชอื่ มประสาน สรุป การซ่อมบารุงยุทโธปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และ ระหว่างผู้ใช้กับคอมพวิ เตอรเ์ พื่ออานวยความสะดวก คอมพิวเตอร์ทางเรือ ค่อนข้างมีความซับซ้อนและ ให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ติดต่อกับโปรแกรมได้ ต้องมี ยากกว่าอิเล็กทรอนิกส์ท่ัวไป ประกอบกับมูลค่าของ ความสะดวกในการติดต่อสื่อสารระหว่างระบบ ยุ ท โธ ป ก ร ณ์ มี ร า ค า สู ง จึ งจ า เป็ น ท่ี จ ะ ต้ อ ง อ า ศั ย ผู้เช่ียวชาญกับผู้ใช้ ทาให้ผู้ใช้เกิดความพอใจและ ประสบการณ์และความรู้ข้ันสูงในการซ่อมทา ดังนั้น สามารถใช้ระบบจนเกิดความชานาญ ซึ่งจะทาให้ จึงอาจจาเป็นท่ีจะต้องมีผู้เชี่ยวชาญให้คาแนะนา การปฏบิ ัติงานมปี ระสิทธภิ าพ ปรึกษาและให้ความรู้ เพื่อป้องกันความเสียท่ีจะเกิด ข้ึนกับยุทโธปกรณ์และส่งผลกระทบต่อความสาเร็จ ภาพท่ี ๗ ตวั อยา่ งการใช้งานระบบผู้เชย่ี วชาญ ของงาน ซึ่งผู้เชี่ยวชาญที่เป็นคอมพิวเตอร์ก็เป็น ทางเลือกหนึ่งที่สามารถเพ่ิมประสิทธิภาพการซ่อม ระบบวินิจฉัยเคร่ืองจักรด้วย AI สาหรับ บารุงได้ เพราะว่ามฐี านความรทู้ ่ีไดจ้ ากผเู้ ชี่ยวชาญที่ ระบบนเี้ ป็นอีกระบบหนงึ่ ท่ีเป็นประโยชนส์ าหรับการ เป็นมนุษย์จานวนมากมายหลายสาขา และมี ซ่อมบารุงเชิงป้องกันและเชิงคาดการณ์ที่จะช่วยลด ความสามารถในการค้นหาคาตอบได้อย่างรวดเร็ว ความเสียหายข้ันรุนแรงที่จะเกิดข้ึนต่อยุทโธปกรณ์ และค่อนข้างแม่นยา มีความคงทนของความรู้ ได้ สามารถใช้ศาสตร์ของ AI มาสร้างเป็นตัวควบคุม จัดเก็บองค์ความรู้ได้ปริมาณมากๆ ลดเวลาการ และวินิจฉัยได้หลายสาขา เช่น ฟัซซีลอจิก(Fuzzy ทางาน สง่ เสรมิ การเรยี นรูง้ านซอ่ มบารงุ ไดเ้ ร็วขนึ้ Logic) โครงข่ายใยประสาท (Neural Network) เป็นต้น โดยรับค่าการทางานจากเซนเซอร์ที่ติดตั้งไว้ เอกสารอ้างองิ ที่เคร่ืองจักรมาทาการประมวลผลด้วยโปรแกรมท่ี พัฒนาขึ้น(AI) ซ่ึงอาจเป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่ [1] http://mindphp.com/forums/viewtopic.php? ตดิ ตง้ั สะดวก เช่น Raspberry Pi กไ็ ด้ ถา้ ไม่สามารถ f=79&t=36426 อ่านค่าการทางานโดยตรงจากเซนเซอร์ได้ สามารถ ป้อนค่าการทางานที่ได้จากการตรวจวัดด้วยคน ซึ่ง [2] http://www.baanjomyut.com/library/artificial จะวินิจฉัยค่าออกมาโดยทาการเทียบค่าการทางาน _intelligence/index.html มาตรฐานจากผู้ผลิตหรือทดสอบค่ามาตรฐานเก็บไว้ ในคร้ังแรกขณะที่เครื่องจักรสมบูรณ์ที่สุด ซึ่งถือว่า [3] https://sites.google.com/site/pattyloveloveit53/ เป็นฐานความรู้ของ AI และรายงานผลให้ทราบถึง |ngan-ni-hxngreiyn/artificial-intelligemce-ai สภาวะต่างๆ ของเครอื่ งจักร ระบบวินิจฉัยนี้สามารถ นาไปใช้ได้กับยุทโธปกรณ์อื่นๆ ไม่จาเป็นต้องเป็น [4] https://www.aripfan.com/artificial-intelligence- industry/ [5] https://www.theviable.co/9-abilities-of-ai-will-help- your-business-growth/ [6] https://www.thairobotics.com/2014/07/13/mtr-ai- lord/ [7] http://www.vcharkarn.com/varticle/ [8] http://www.baanjomyut.com/library/artificial_ intelligence/index.html [9] ชพู นั ธ์ุ รตั นโภคา. เอกสารคาสอน วชิ า ความรู้เบอื้ งตน้ ทาง ปัญญาประดษิ ฐ์. มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนือ, 2559. [10] https://www.okumathai.com/news/products/ 170427.html ๙๔ วารสารอเิ ล็กส์ ปีท่ี ๒๔ ฉบับท่ี ๒๕

พิธีรับ - ส่งหน้าที่เจ้ากรมอิเล็กทรอนิกส์ทหารเรือ โดย พล.ร.ท.สุทธิไชย รังสิโรดม์โกมล ส่งมอบ หน้าท่ีให้กับ พล.ร.ต.ชาลี ส่องสว่างธรรม ณ ห้องประชุม ๑ บก.อล.ทร. อ.พระสมุทรเจดีย์ จว.สมทุ รปราการ เม่อื ๓ ต.ค.๖๐ พล.ร.ต.ชาลี ส่องสว่างธรรม จก.อล.ทร. พร้อมข้าราชการ อล.ทร. เข้าร่วมพิธีบาเพ็ญ พระราชกศุ ล เนอื่ งในวนั คล้ายวนั สวรรคตของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมราชบพิตร ณ หอประชมุ กองทัพเรือ เขตบางกอกใหญ่ กรงุ เทพฯ เมอ่ื ๑๓ ต.ค.๖๐ วารสารอผเลก็ ส์ ปฝทฝ่ ๒๔ ฉบบั ท่ฝ ๒๕ ๙๕

พล.ร.ต.ชาลี ส่องสว่างธรรม จก.อล.ทร. พร้อมข้าราชการ อล.ทร. ร่วมทาบุญประจาปี วนั กองทพั เรอื ณ พระราชวงั เดิม เขตบางกอกใหญ่ กรงุ เทพ เมอ่ื ๑๗ พ.ย.๖๐ น.อ.วิสิทธิ์ กุลสมบูรณ์สินธ์ หน.นฝอ.อล.ทร. และคณะ ร่วมงาน Defense & Security 2017 ณ อาคาร ๖ - ๘ ศนู ยแ์ สดงสินค้าและการประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี เม่อื ๘ พ.ย.๖๐ ๙๖ วารสารอผเล็กส์ ปฝทฝ่ ๒๔ ฉบับทฝ่ ๒๕

พล.ร.ต.ชาลี สอ่ งสว่างธรรม จก.อล.ทร. เป็นประธานเปิดงานตลาดนัดความรู้ (KM Forum) ณ ห้องประชุม ๑ บก.อล.ทร. อ.พระสมุทรเจดยี ์ จว.สมทุ รปราการ เม่ือ ๑๒ ม.ค.๖๑ วารสารอเผ ลก็ ส์ ปฝทฝ่ ๒๔ ฉบับท่ฝ ๒๕ พล.ร.ต.ชาลี ส่องสว่างธรรม จก.อล.ทร. นากาลังพลใน สังกัดร่วมแสดงผลงานในงานวันแลกเปล่ียนเรียนรู้การจัด การความรู้ของ ทร. ภายใต้หัวข้องาน“โชว์ แชร์ ช้อป ใช้” ประจาปี งป.๖๑ ณ ห้องเจ้าพระยา หอประชุมกองทัพเรือ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร เม่ือ ๑๖ ม.ค.๖๑ ๙๗

พล.ร.ต.ชาลี ส่องสว่างธรรม จก.อล.ทร. เป็นประธานในพิธีเปิดการอบรมแนะนาความรู้ งานประจาสู่งานวิจัยและพัฒนา (Routine to Research) ให้ข้าราชการกรมอิเล็กทรอนิกส์ ทหารเรือ ณ หอ้ งประชุม ๑ บก.อล.ทร. อ.พระสมุทรเจดีย์ จว.สมทุ รปราการ เมื่อ ๑๓ ก.พ.๖๑ พล.ร.ต.ชาลี ส่องสว่างธรรม จก.อล.ทร. เป็นประธานในพิธีปลดทหารกองประจาการ ผลัดที่ ๔/๕๘ ณ ห้องประชุม ๑ บก.อล.ทร. อ.พระสมุทรเจดีย์ จว.สมทุ รปราการ เมอื่ ๑ ก.พ.๖๑ ๙๘ วารสารอผเล็กส์ ปฝท่ฝ ๒๔ ฉบับทฝ่ ๒๕


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook