Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สัตย์ป่าสงวน

สัตย์ป่าสงวน

Published by Guset User, 2021-09-20 10:17:42

Description: สัตย์ป่าสงวน

Search

Read the Text Version

สมาคมสั ตว์ อาไรโกเ ชิ ญชวนคุณ สัตย์ป่าสงวน การสั มมนาเกี่ ยวกั บการดู แล สายพั นธุ์ สั ตว์ ป่ าให้ ดี ยิ่ งขึ้ น 19 มิถุนายน | 10.00 น. | โรงแรม ZBC | เ ข้ า ชมฟรี ลงทะเบี ยน: WWW.DEESITE.CO.TH

คำ นำ รายงานเล่ มนี้ จัดทำ ขึ้ นเ พื่ อเ ป็ นส่วนหนึ่งของวิชา เ ทค โนโลยี แ ละกา ร สื่ อสาร.ชั้ นม.2/2เ พื่ อให้ได้ ศึ กษา หา ควา มรู้ ในเ รื่องกา รออกแ บบด้วย แอปCanvaและได้ ศึ กษา อย่ างเ ข้ า ใจ เ พื่ อเ ป็ นประโย ชน์กับ กา ร เรีย น ผู้ จั ดทำหวั งว่ า รายงานเล่มนี้ จะเ ป็ นปร ะโยชน์กับผู้อ่า น หรื อ นั กเรี ยน นักศึกษา ที่กำ ลังหา ข้ อมูลเ รื่ องนี้อยู่ หา กมีข้ อแนะนำ หรือ ข้ อผิดพลาดประกา รใด ผู้จัดทำ ขอน้ อมรับไว้ และขออภัย มา ณ ที่นี้ ด้ วย ผู้จัดทำด.ช.ชี วธั นย์ สังวระเ ลขที่ 8 ม.2/2 วั น ที่ … 7 / 7 / 6 4

สารบัญ 4 5 สัตว์ป่าสงวนหมายถึง 6 นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร 7 แรด 8 กระซู่ 9 กรูปรีหรือโคไพร 10 ควายป่า 11 ละองหรือละมั่ง 12 สมันหรือเนื้อสมัน 13 กวางผา 14 นกแต้วแล้วท้องดำ 15 นกกระเรียน 16 แมวลายหินอ่อน 17 สมเสร็จ 18 เก้งหม้อ 19 พะยูนหรือหมูน้ำ เลียงผา,เยือง,กูรำ,โครำ

สั ตว์ ป่าสงวน หมายถึ ง สั ตว์ ป่าที่ หายาก กำหนดตามบั ญชี ท้ ายพระ ราชบั ญญั ติ สงวนและ คุ้ มครองสั ตว์ ป่า พ.ศ. ๒๕๐๓ จำนวน ๙ ชนิ ด เป็นสั ตว์ ป่าเลี้ ยงลู กด้ วยนมทั้ งหมด ได้ แก่ แรด กระซู่ กู ปรี ควายป่า ละองหรื อละมั่ ง สมั น เนื้ อทราย เลี ยงผา และกางผา สั ตว์ ป่าสงวน เหล่ านี้ หายาก หรื อใกล้ จะสู ญพั นธุ์ หรื ออาจจะสู ญพั นธุ์ ไปแล้ ว จึ ง จำเป็นต้ องมี บทบั ญญั ติ เข้ มงวดกวดขั น เพื่ อป้องกั นไม่ ให้ เกิ ด อั นตรายแก่ สั ตว์ ป่าที่ ยั งมี ชี วิ ตอยู่ หรื อซากสั ตว์ ป่า ซึ่ งอาจจะตกไปอยู่ ยั งต่ างประเทศด้ วยการซื้ อขาย ต่ อมาเมื่ อสถานการณ์ ของสั ตว์ ป่าใน ประเทศไทย เปลี่ ยนแปลงไป สั ตว์ ป่าหลายชนิ ดมี แนวโน้ มถู กคุ กคาม เสี่ ยงต่ อการสู ญพั นธุ์ มากยิ่ งขึ้ น ประกอบกั บเพื่ อให้ เกิ ดความ สอดคล้ องกั บความร่ วมมื อระหว่ างประเทศในการ ควบคุ มดู แลการค้ า หรื อการลั กลอบค้ าสั ตว์ ป่าในรู ปแบบต่ างๆ ตามอนุ สั ญญาว่ าด้ วยการ ค้ าระหว่ างประเทศ ว่ าด้ วยชนิ ดสั ตว์ ป่าและพื ชป่าหรื อ CITES ซึ่ ง ประเทศไทยได้ ร่ วมลงนามรั บรองอนุ สั ญญาในปี พ.ศ.๒๕๑๘ และได้ ให้ สั ตยาบั น เมื่ อวั นที่ ๒๑ มกราคม พ.ศ.๒๕๒๖ นั บเป็นสมาชิ กลำดั บ ที่ ๘๐ จึ งได้ มี การพิ จารณาแก้ ไขปรั บปรุ งพระราชบั ญญั ติ ฉบั บเดิ ม และตราพระราชบั ญญั ติ สงวนและคุ้ มครองสั ตว์ ป่า พ.ศ.๒๕๓๕ ขึ้ น ใหม่ เมื่ อวั นที่ ๑๙ กุ มภาพั นธ์ พ.ศ.๒๕๓๕ สั ตว์ ป่าสงวน ตามในพระราชบั ญญั ติ ฉบั บใหม่ หมายถึ งสั ตว์ ป่าที่ หายากตามบั ญชี ท้ ายพระราชบั ญญั ติ ฉบั บนี้ และตามที่ กำหนดโดยตราเป็นพระราช กฤษฎี กา ทำให้ สามารถเปลี่ ยนแปลงชนิ ดสั ตว์ ป่าสงวนได้ โดยสะดวก โดยออกเป็นพระราชกฤษฎี กาแก้ ไข หรื อเพิ่ มเติ มเท่ านั้ น ไม่ ต้ องถึ ง กั บต้ องแก้ ไขพระราชบั ญญั ติ อย่ างของเดิ ม ทั้ งนี้ ได้ มี การเพิ่ มเติ ม ชนิ ดสั ตว์ ป่าที่ มี สภาพล่ อแหลมต่ อการสู ญพั นธุ์ อย่ างยิ่ ง ๗ ชนิ ด และ ตั ดสั ตว์ ป่าที่ ไม่ อยู่ ในสถานะใกล้ จะสู ญพั นธุ์ เนื่ องจากการที่ สามารถ เพาะเลี้ ยงขยายพั นธุ์ ได้ มาก ๑ ชนิ ด คื อ เนื้ อทราย รวมกั บสั ตว์ ป่า สงวนเดิ ม ๘ ชนิ ด รวมเป็น ๑๕ ชนิ ด ได้ แก่ นกเจ้ าฟ้าหญิ งสิ ริ น ธร แรด กระซู่ กู ปรี ควายป่า ละองหรื อละมั่ ง สมั น เลี ยงผา กวางผา นกแต้ วแล้ วท้ องดำ นกกระเรี ยน แมวลายหิ นอ่ อน สมเสร็ จ เก้ งหม้ อ และพะยู น

นกเจ้ าฟ้าหญิงสิรินธร Pseudochelidon sirintarae ลั กษณะ : นกนา งแอ่นที่ มีลำ ตั วย า ว ๑๕ เ ซนติเ มตร สี โดย ทั่ วไปมี สี ดำ เหลือ บเขีย ว แกมฟ้า โคนหา งมีแถบสีข า ว ลักษณะเ ด่นได้แก่ มี วงสีขา วร อ บตา ทำ ให้ดูมีดวงตา โปนโตออกมา จึ งเ รี ยกว่า นกตา พอง นกที่โตเ ต็มวัย มี แ กนขนหา งคู่กลา งยื่ นย า วอ อ ก มา ๒ เส้น อุ ปนิสัย : แหล่งผสมพั นธุ์วา งไข่ และที่ อา ศั ย ในฤดูร้อนยังไ ม่ทร า บ ในบริเวณ บึ งบอ ร ะ เพ็ ด นกเจ้ าหญิ งสิริ นธรจะเ กา ะนอน อยู่ในฝู งนกนา งแอ่ นช นิดอื่นๆ ที่เกา ะอยู่ตา มใบ อ้ อ และใบสนุ่นภา ยใ นบึงบอ ระเ พ็ ด บา งครั้งก็พบ อยู่ ในกลุ่ มนกกร ะจา บ แ ละนกจา บ ปี กอ่ อน กลุ่มนกเ หล่ า นี้มีจำนวนนับพั นตัว อา หา รเ ชื่อได้ ว่า ได้แ ก่แ มลงที่โฉ บจับได้ ใน อากาศ ที่อยู่ อาศัย : อา ศั ยอยู่ตา มดงอ้ อและพื ชน้ำ ในบริ เ วณบึงบอร ะเพ็ ด เขตแพร่กระจาย : พบเ ฉพา ะในป ระเ ทศไทย พบในช่วงเ ดือ นพฤศจิกา ย นจนถึ งเดื อน มี นาคม ซึ่งเป็ นช่ วงฤดูหนา ว สถานภาพ : นกชนิดนี้สำ รวจพบครั้ งแรกในป ระเ ทศไทยเมื่ อ ปี พ. ศ. ๒ ๕๑๑ จั งหวั ด นครสวรรค์ หลั งจากกา รค้ นพบครั้งแรกแล้วมี รา ยงา นพบอี ก ๓ ครั้ง แ ต่มีเพี ย ง ๖ ตั วเท่านั้น นกเจ้ าฟ้าหญิ งสิ รินธร เ ป็ นสัตว์ป่ า สงวนตา มพร ะร า ช บั ญญัติสงวนแ ละ คุ้มครองสัตว์ ป่ า พ.ศ.๒๕๓๕ สาเหตุ ของการใกล้จะสูญพั นธุ์: นกเ จ้า ฟ้า หญิงสิรินธร เป็ นนกที่ สำ คั ญอย่า งยิ่งในด้ า น การศึ กษาความสัมพั นธ์ของนกนา งแอ่ น เ พรา ะนกชนิ ดที่มี ควา มสัมพั นธ์กั บนกเจ้ า ฟ้า หญิ งสิรินธรมา กที่ สุด คื อนกนา งแอ่ นค องโก (Pseu do c h el ido n eu r is to m in a ) ที่ พบตามลำธารในปร ะเ ทศซา อีร์ ในตอนกลา งของแอฟริกา ตะวันตก แ หล่งที่ พบนกทั้ ง ๒ ชนิ ดนี้ห่างจา กกันถึ ง ๑๐, ๐ ๐๐ กิโลเ มตร ประชา กรใน ธร ร มช า ติของนกเจ้ า ฟ้า หญิ งสิริ นธรเชื่อว่ า มีอยู่น้ อยมา ก เ พรา ะเ ป็ นนกชนิ ดที่โบร า ณ ที่ หลงเหลือ อ ยู่ในปั จจุบั น แต่ ละปี ในฤดูหนา วจะถู กจับไปพร้อมๆกับนกนา งแอ่ นชนิด อื่น นอ กจา กนี้ที่พั กนอนใน ฤดู หนาว คือ ดงอ้อ และพื ชน้ำ อื่นๆที่ ถูกทำ ลา ย ไป โดยกา ร ทำ กา ร ปร ะมง กา ร เปลี่ย น หนองบึ งเป็ นนา ข้า ว และกา รควบคุมระดับ น้ำ ในบึงเ พื่ อกา ร พั ฒนา หลา ย รูปแ บบ สิ่ ง เหล่านี้ ก่ อให้เกิ ดผลเ สี ยต่อกา รค งอยู่ของพื ชน้ำ และต่อนกเจ้า ฟ้า หญิงสิรินธร มา ก

แรด Rhinoceros sondaicus ลั กษณะ : แรดจัดเป็ นสัตว์จำ พวกมีกี บ คือมีเ ล็บ ๓ เ ล็บ ทั้งเท้า หน้ า และเท้ าหลัง ตั วโตเ ต็มวัยมี ค วา มสู งที่ไหล่ ๑.๖ -๑.๘ เ มตร น้ำ หนั ก ตั ว ๑,๕๐๐-๒, ๐๐๐ กิ โลกรั ม แรดมีหนังหนา และมีขนแข็ งขึ้ นห่ า งๆ สี พื้ นเป็ นสี เทาออกดำ ส่ วนหลังมีส่ วนพั บของหนัง ๓ รอย บริเวณ หั วไหล่ ด้ านหลังของขา คู่หน้ า และด้ า นหน้า ของขา คู่ หลัง แ ร ดตั วผู้มี นอเดี ยวยาวไม่เกิ น ๒๕ เซนติ เ มตร ส่ วนตั วเ มียจะเ ห็ นเ ป็ นเพี ย งปุ่ ม นู นขึ้นมา อุ ปนิสั ย : ในอดีตเ คยพบแรดหา กิ นร่ วมเ ป็ นฝู ง แต่ ในปั จจุบั นแ ร ด หากิ นตั วเดียวโดดๆ หรื ออยู่ เ ป็ นคู่ ในฤดู ผสมพั นธุ์ อา หาร ของแ ร ด ได้แก่ ยอดไม้ ใบไม้ กิ่ งไม้ และผลไม้ที่ร่ วงหล่นบนพื้ นดิน แ ร ดไ ม่ มี ฤดู ผสมพั นธุ์ที่แน่ นอน จึงสา มา รถผสมพั นธุ์ได้ ตลอดปี ตกลูกครั้ งละ ๑ ตั ว ตั้งท่ องนา นปร ะมา ณ ๑๖ เ ดื อน ที่ อยู่ อาศั ย: แรดอา ศั ยอยู่ เ ฉพา ะในบริ เ วณป่ า ดิ บชื้นที่มี ค วา มอุดม สมบู รณ์ หรื อตา มป่ าทึ บริมฝั่ งทะเ ล ส่ วนใหญ่จะหา กิ นอยู่ตา มพื้ นที่ ราบ ไม่ ค่อยขึ้ นบนภูเขา สู ง เขตแพร่กระจาย : แรดมี เ ขตกระจ า ย ตั้ งแต่ ป ระเ ทศบั งคลา เทศ พม่ า ไทย ลาว เขมร เวียดนา ม ลงไป ทา งแหลมมลา ยู สุ มา ตร า แ ละช วา ปั จจุบั นพบน้อยมา กจนกล่ า วได้ ว่า เ กื อบจะหมดไป จา กผื นแ ผ่นดิน ใหญ่ของทวีปเ อเ ชียแล้ ว เชื่ อว่ า ยั งอา จ จะมีคงเ หลื ออยู่ บ้ า งทา งเทื อ ก เขาตะนาวศรี และในป่ าลึ กตา มแนวรอยต่ อจังหวัดระนอง พั งงา และสุ ราษฎร์ ธานี สถานภาพ : ปั จจุบั นแรดจัดเ ป็ นสั ตว์ ป่ า สงวนชนิดหนึ่งใ น ๑๕ ช นิ ด ของประเทศไทย และจัดอยู่ ใน Appen dix 1ของอนุสั ญญา C ITES ทั้งยังเป็ นสั ตว์ป่ า ที่ใกล้ จะสู ญพั นธุ์ตา ม U.S.En dan ger Spec ies สาเหตุ ของการใกล้ จะสู ญพั นธุ์ : เ ช่ นเ ดี ยวกั บแรดที่พบบริเวณ อื่ นๆ ที่ พบในประเทศไทยถู กล่ า และทำ ลา ยอย่ า งหนัก เ พื่ อต้ องกา ร นอ หรือ ส่ วนอื่ นๆ เช่น กระดูก เลื อด ฯลฯ ซึ่งมีคุ ณค่า สู งยิ่ง เ พื่ อ ใช้ ในกา ร บำรุ งและยาอื่นๆ นอกจากนี้ บ ริ เ วณป่ า ที่รา บ ที่แรดชอบอา ศัย อ ยู่ก็ หมดไป กลายเ ป็ นบ้านเ รื อนและเ กษตรกรรมจนหมด

ก ร ะ ซู่ Dicerorhinus sumatrensis ลักษณะ : กระซู่ เ ป็ นสัตว์จำพวกเ ดี ยวกั บแรด แต่ มี ลั กษณะลำ ตั วเล็ ก กว่า ตัวโตเต็ มวัยมีควา มสูงที่ไหล่ ๑-๑.๕ เ มตร น้ำ หนั กปร ะมา ณ ๑,๐๐๐ กิโลกรั ม มีหนังหนา และมี ขนขึ้ นป กคลุ มทั้ งตั ว โด ย เฉพา ะใน ตัวที่มี อายุ น้ อย ซึ่ งขนจะลดน้อยลงเ มื่ อมี อา ยุ มา กขึ้ น สี ลำ ตั วโดย ทั่วไปออกเป็ นสีเ ทา คล้ า ยสีขี้ เ ถ้ า ด้ า นหลั งลำ ตั ว จะปรากฏร อย พั บ ของหนั งเพี ยงพั บเดียว ตร งบ ริเ วณด้ า นหลั งของขา คู่หน้ า กร ะซู่ทั้ ง สองเพศมี นอ ๒ นอ นอหน้ า มีค วา มย า วประมา ณ ๒๕ เ ซนติ เมตร ส่ วนนอหลั งมี ควา มยาวไม่เ กิ น ๑๐ เ ซนติ เ มตร หรื อเ ป็ นเพี ย งตุ่ มนู น ขึ้ นมาในตั วเมี ย อุ ปนิสั ย : กระซู่ ปี นเ ขา ได้ เ ก่ง มีประสา ทรับกลิ่ นดี มา ก ออ กหา กิ นใน เวลากลางคื น อา หา ร ได้ แก่ พวกใบไม้ และผลไม้ป่ า บา งช นิ ด ปกติ กระซู่ จะใช้ ชี วิ ตอยู่ อย่ า งโดดเ ดี่ ยว ย กเ ว้ นในฤดู ผสมพั นธุ์ หรือ ตั ว เมียเลี้ยงลูกอ่ อน ตกลู กครั้งละ ๑ ตั ว มีระยะตั้งท้ อง ๗- ๘ เดื อน ในที่เลี้ยงกระซู่ มีอา ยุ ยื น ๓๒ ปี ที่อยู่อาศั ย : กระซู่อา ศั ยอยู่ ตา มป่ า เ ขา ที่มี ค วา มหนา รกทึ บ ลงมา อยู่ ในป่ าที่ราบต่ำ ในตอนปลา ยฤดู ฝนซึ่ งในระย ะนั้ นมีปรั กและน้ำ อ ยู่ ทั่วไป เขตแพร่ กระจาย : กระซู่ มีเ ขตแพร่ กระจา ย ตั้งแต่ แคว้นอั สสั มใน ประเทศอิ นเดี ย บั งคลา เ ทศ พม่ า ไทย เ วี ยดนา ม มลา ยู สุ มา ตร า และบอเนี ยว ในปร ะเ ทศไทยมี รา ยงา นว่ า พบกระซู่ อยู่ในเ ข ตรั กษา พั นธุ์ สัตว์ป่ าหลายแห่ งได้ แก่ ภู เ ขี ยว จั งหวั ดชั ยภู มิ เ ขา สอย ดา ว จั งหวั ด จันทบุ รี ห้วยขา แข้ง จังหวัดอุ ทัย ธา นี ทุ่ งใหญ่ นเ รศวร จั งหวั ด กาญจนบุ รี และคลองแสง จั งหวั ดสุรา ษฏ ร์ธา นี และในบ ริเวณ อุ ทยานแห่งชาติหลา ยแห่ง ไ ด้ แก่ แก่งกระจา น จั งหวั ดเพช ร บุ รี แ ละ เขื่อนบางลาง จังหวัดยะลา และบ ริเ วณป่ า รอย ต่ อระหว่ า งปร ะเทศ กั บมาเลเซีย สถานภาพ : ปั จจุบั นกระซู่ จัดเ ป็ นสั ตว์ ป่ า สงวนชนิ ดหนึ่ งใน ๑๕ ช นิด ของประเทศไทย อนุสัญญา CITES จั ดไว้ ในAppe n dix I แ ละ U . S. Endanger Species Act จั ดไว้ ในพวกที่ใกล้ จ ะสู ญพั นธุ์ สาเหตุของการใกล้ จะสูญพั นธุ์ : กระซู่ ปั จจุ บันใกล้ จะสู ญพั นธุ์ไ ปจา ก โลก เนื่องจากถู กล่ า เ พื่ อเ อา นอ และอวั ย วะทุกส่ วนของตั ว ซึ่งมีฤทธิ์ ในทางเป็ นยา กระซู่ จึงถู กล่ า อยู่ เ นื องๆ ประกอบกั บกระซู่มี อยู่ ใน ธรรมชาติน้ อย และปร ะชา กรแต่ ละกลุ่มและแม้ แต่ กลุ่ มเ ดี ย วกั นก็ อยู่ ห่ างกั นมากไม่ มี โอกา สจับคู่ ข ยา ย พั นธุ์ได้

กูปรี หรือโคไพร Bos sauveli ลักษณะ : กูปรีเ ป็ นสัตว์ ป่ าชนิดหนึ่ ง เ ช่นเ ดียวกับ กระทิงแ ละวัวแ ดง เมื่อโตเต็มที่ มี ควา มสูงที่ไหล่ ๑.๗-๑.๙ เ มตร น้ำ หนั ก ๗๐๐- ๙๐๐ กิ โลกรัม ตัวผู้ มีขนา ดลำ ตัวใหญ่กว่า ตัวเ มี ย มา ก สีโดยทั่วไ ปเป็ นสีเทา เข้ มเกื อบดำ ข า ทั้ง ๔ มีถุ งเ ท้า สีขา วเ ช่นเ ดีย วกับกระทิ ง ในตัวผู้ ที่ มี อายุมาก จะมีเ หนียงใต้คอยา วห้อย ลงมา จนเ กือบจะถึงดิน เขา กู ปรี ตั วผู้กับตัวเมี ยจะแตกต่า งกัน โดยเ ขา ตัวผู้จ ะโค้งเ ป็ นวงกว้า ง แ ล้ว ตี วงโค้งไปข้ างหน้า ปลา ยเขา แตกออกเ ป็ นพู่ คล้า ย เ ส้นไม้กวา ดแ ข็ง ตั วเมียมีเขาตี วงแคบแล้วม้วนขึ้นด้า นบน ไม่ มี พู่ ที่ป ลา ย เขา อุปนิ สัย : อยู่รวมกั นเ ป็ นฝู ง ๒-๒๐ ตัว กินหญ้า ใบไม้ดินโป่ งเป็ น ครั้ งคราว ผสมพั นธุ์ในรา วเ ดือนเ มษา ยน ตั้งท้ องนา น ๙ เดือน จะ พบออกลูกอ่ อนปร ะมา ณเ ดือนธันวา ค มและมกรา คม ตกลูกครั้งละ ๑ ตั ว ที่อยู่อาศัย : ปกติอา ศั ยอยู่ตา มป่ า โป ร่ง ที่ มี ทุ่ งหญ้า สลั บกับป่ า เต็ง รังและในป่ าเบญจพร รณที่ค่อนข้า งแล้ง เขตแพร่กระจาย : กูปรีมีเ ขตแพร่กระจา ย อยู่ในไทย เ วียดนา ม ลา ว และกัมพู ชา สถานภาพ : ปร ะเ ทศไทยมี รา ยงา นว่า พบกูปรีอยู่ตา มแน วเทื อกเขา ชายแดนไทย-กัมพู ชา และลา ว เ มื่ อปี พ.ศ.๒๕๒๕ มี รา ยงา นพบกูปรี ในบริ เวณเทือกเ ขา พนมดงรัก กู ปรี จัดเ ป็ นสัตว์ป่ า สงวนช นิ ดหนึ่งใน ๑๕ ชนิดของประเ ทศไทย และอยู่ ใน Appen dix I ตา มอ นุ สั ญญา CITES สาเหตุของการใกล้จะสูญพั นธุ์ : ปั จจุบันกูปรีเ ป็ นสัตว์ ป่ า ที่หา ย า ก กำลังใกล้จะสูญพั นธุ์ หมดไปจา กโลก เ นื่องจา กกา รถูกล่ า เป็ นอ า หา ร และสภาวะสงครา มในแถบอิ นโดจี น ซึ่งเ ป็ นแหล่งอา ศั ย เ ฉพา ะกูปรี ทำให้ยากในการ อยู่ร่วมกันในกา รอนุรักษ์กูปรี

ควายป่ า Bubalus bubalis ลักษณะ : ควา ยป่ า เ ป็ นสัตว์ชนิ ดเ ดีย วกับ ควา ย บ้า น แต่มี ลำ ตัว ขนาดลำตัวใหญ่ กว่ า มี นิสัยว่องไว และดุร้า ย กว่า ควา ย บ้า นมา ก ตั ว โตเต็มวัยมีควา มสูงที่ ไหล่เ กื อบ ๒ เ มตร น้ำ หนักมา กกว่า ๑,๐๐๐ กิ โลกรั ม สีลำตัวโดยทั่วไปเป็ นสีเ ทา หรือสีน้ำ ตา ลดำ ขา ทั้ ง ๔ สี ขา ว แก่ หรื อสีเทาคล้า ยใ ส่ ถุงเ ท้า สีขา ว ด้า นล่า งของลำ ตัวเ ป็ นลา ย สีขา ว รูปตั ววี (V ) ควา ยป่ า มีเ ขา ทั้ ง ๒เ พศ เ ขา มี ขนา ดใหญ่กว่า ควา ย เลี้ยง วงเขากา งออกกว้า งโค้ งไป ทา งด้า นหลัง ด้า นตัดขวา งเป็ นรู ป สามเหลี่ ยม ปลา ยเขา เ รียวแหลม อุปนิ สัย : ควายป่ า ชอบออกหา กินในเ วลา เ ช้า และเ วลา เ ย็น อ า หา ร ได้ แก่ พวกใบไม้ หญ้ า และหน่ อไม้ หลังจา กกินอา หา รอิ่ ม แ ล้ว ควา ย ป่ าจะนอนเคี้ ยวเ อื้องตา มพุ่ มไม้ หรือนอนแช่ป รักโคลนตอนช่วง กลางวัน ควายป่ า จะอยู่ร่วมกันเ ป็ นฝู ง ฤดูผสมพั นธุ์อยู่ร า วๆ เดือน ตุลาคมและพฤศจิกา ยน ตกลูกครั้งละ ๑ ตัว ตั้งท้ องนาน ๑๐ เดื อน เท่าที่ทราบควา ยป่ า มี อา ยุ ยื น ๒๐ -๒๕ ปี เขตแพร่กระจาย : ควา ยป่ า มี เ ขตแพร่กระจ า ย จา กประเ ทศเนปา ลแ ละ อินเดี ย ไปสิ้นสุดทา งด้า นทิ ศตะวันออกที่ ประเ ทศเ วียดนา ม ใน ประเทศไทยปั จจุบั นมีควา ยป่ า เ หลืออยู่ บริเ วณเ ขตรักษา พั นธุ์สัตว์ป่ า ห้ วยขาแข้ ง จั งหวัดอุ ทั ยธา นี สถานภาพ : ปั จจุบั นควา ยป่ า ที่เ หลืออยู่ในประเ ทศไทยมี จำ นวนน้ อย มาก จนน่ากลัวว่ า อี กไม่นา นจ ะหมดไป จา กประเ ทศ ควา ย ป่ า จัดเป็ น สัตว์ ป่ าสงวนชนิดหนึ่ งใน ๑๕ ชนิ ดของประเ ทศไทย และ อ นุ สัญญา CITES จัดควา ยป่ า ไว้ใน Appen dix III สาเหตุ ของการใกล้จะสูญพั นธุ์ : เ นื่องจา กกา รถูกล่า เ พื่ อ เอ า เนื้อ แ ละ เอาเขาที่ สวยงาม และกา รสู ญเ ชื้อพั นธุ์ เ นื่ องจา กไป ผสมกับควา ย บ้ าน ที่มี ผู้เอาไปเลี้ยงปล่อยเป็ นควา ย ปละในป่ า ในกรณีหลังนี้บา ง ครั้งควายป่ าจะติดโรคต่างๆ จา กควา ย บ้า น ทำ ให้จำ นวนลดลงมา ก ยิ่ งขึ้น

ล ะ อ ง ห รื อ ล ะ มั่ ง Cervus eldi ลักษณะ : เป็ นกวา งที่มีขนา ดโตกว่า เ นื้อทรา ย แต่เ ล็กกว่า กวา งป่ า เมื่อโตเต็มวั ยมี ควา มสู งที่ไหล่ ๑.๒-๑.๓ เ มตร น้ำ หนั ก ๑๐๐- ๑๕ ๐ กิ โลกรัม ขนตา มตัวทั่วไปมีสีน้ำ ตา ลแดง ตัวอา ยุน้ อยจะมีจุดสี ขา ว ตามตั ว ซึ่งจะเ ลือนกลา ยเป็ นจุ ดจา งๆ เ มื่อโตเ ต็มที่ ในตัวเมีย แ ต่จุ ด ขาวเหล่านี้ จะหา ยไปจนหมด ในตัวผู้ตัวผู้จะมี ขนที่บริเ วณ คอ ย า ว แ ละ มี เขาและเขาของละอง จะมีลักษณะต่า งจา กเ ขา กวา งชนิดอื่นๆ ใน ประเทศไทย ซึ่งที่กิ่ งรั บหมา ที่ยื่นออกมา ทา งด้า นหน้ า จะทำ มุ มโค่ งต่ อ ไปทางด้านหลั ง และลำ เ ขา ไม่ ทำ มุ มหักเ ช่นที่พบในกวา งช นิ ดอื่นๆ อุปนิ สั ย : ชอบอยู่ร วมกั นเ ป็ นฝู งเ ล็ก ตัวผู้ที่โตเ ต็มวัย จะเข้า ฝู งเมื่ อ ถึ งฤดูผสมพั นธุ์ ออกหา กินใบหญ้า ใบไม้ และผลไม้ ทั้งเ วลา กลา งวัน และกลางคื น แต่เ วลา แดดจัดจะเ ข้า หลบ พั กในที่ ร่ม ละอง ละมั่ งผสม พั นธุ์ในเดือนกุมภาพั นธ์จนถึงเ ดือนเ มษา ย น ตั้งท้ องนา น ๘ เดือน ออกลูกครั้งละ ๑ ตัว ที่อยู่อาศัย : ละองชอบอยู่ตา มป่ า โป ร่ง และป่ า ทุ่ ง โดยเ ฉพา ะป่ า ที่มี แ ห ล่ ง น้ำ ขั ง เขตแพร่กระจาย : ละองแพร่กระจ า ย ในประเ ทศอิ นเ ดีย พม่ า ไทย ลาว กัมพู ชา เวียดนา ม และเ กา ะไหหลำ ในประเ ทศไทยอ า ศัย อ ยู่ใน บริเวณเหนือจา กคอคอดกระขึ้นมา สถานภาพ : มีรา ยงา นพบเพี ยง ๓ ตัว ที่เ ขตรักษา พั นธุ์สัตว์ป่ า ห้วย ขาแข้ง จังหวัดอุทัยธา นี ละอง ละมั่ งจัดเ ป็ นป่ า สงวนชนิดหนึ่งใน ๑๕ ชนิดของประเ ทศไทย และอนุ สัญญา CITES จัดอยู่ใน Appendix สาเหตุ ของการใกล้จะสู ญพั นธุ์ : ปั จจุบัน ละอง ละมั่งกำ ลังใกล้จะ สูญพั นธุ์ หมดไปจากปร ะเ ทศไทย เ นื่ องจา กสภา พป่ า โป ร่ ง ซึ่งเป็ นที่ อยู่อาศัยถูกบุกรุกทำ ลา ยเป็ นไร่ นา และที่อยู่อา ศั ยของมนุ ษย์ ทั้ งยั ง ถูกล่าอย่างหนั กนับตั้งแต่หลังสงค รา มโลกครั้งที่สองเ ป็ นต้นมา

สมันหรือเนื้อสมั น Cervus schomburki ลักษณะ : เนื้อสมันเ ป็ นกวา งชนิดหนึ่ งที่เ ขา สวย งา มที่สุ ด ใน ประเทศไทย เมื่อโตเ ต็มวัยจะมี ควา มสูงที่ไหล่ป ระมา ณ ๑ เมตร สีขน บนลำตัวมีสีน้ำ ตา ลเ ข้ มและเ รียบเ ป็ นมั น หา งค่ อนข้า งสั้ น แ ละมี สีขา ง ทางตอนล่ างสมันมีเ ขา เ ฉพา ะตัวผู้ ลักษณะเ ขา ของสมั นมีขนา ดใหญ่ และแตกกิ่งก้า นออกหลา ยแขนง ดูคล้า ย สุ่ มหรือตะกร้า สมั นจึงมี ชื่ อ เรียกอีกอย่างหนึ่ งว่า กวา งเ ขา สุ่ม อุ ปนิสัย : ชอบอยู่ร วมกั นเ ป็ นฝู งเ ล็กๆ โดยเ ฉพา ะในฤดูผสมพั นธุ์ หลังจากหมดฤดูผสมพั นธุ์ และตัวผู้จ ะแยกตัวออกมา อยู่ โ ดดเดี่ย ว สมั นชอบกินหญ้าโดยเฉพา ะหญ้า อ่ อน ผลไม้ ย อดไม้ แล ะใบไ ม้ หลา ย ช นิ ด ที่ อยู่อาศั ย : สมันจะอา ศัยเฉพา ะในทุ่ งโล่ง ไม่ อยู่ตา มป่ า ร กทึ บ เนื่องจากเขามี กิ่งก้ า นสา ขา มา ก จะเ กี่ยวพั นพั นกับเ ถา วัลย์ไ ด้ง่ า ย เขตแพร่กระจาย : สมั นเ ป็ นสัตว์ชนิ ดที่มีเ ขตแพร่กระจา ย จำ กัด อยู่ ในบริ เวณที่ราบภา คกลา งของป ระเ ทศเ ท่ า นั้ น สมั ย ก่อนมี ชุกชุ มมา ก ในที่ราบลุ่ มแม่น้ำ เ จ้าพระยา บริเ วณจั งหวัดรอบกรุงเ ทพฯ เช่ น นครนายก ปทุมธา นี และปร า จี นบุรี และแม้ แต่บ ริเ วณพื้ น ที่ร อ บนอก ของกรุงเทพฯ เ ช่ น บริเ วณพญา ไท บา งเ ขน รังสิ ต ฯลฯ สถานภาพ : สมันได้สูญพั นธุ์ไปจา กโลกและจา กประเ ทศไทยเ มื่อ เกือบ ๖๐ ปี ที่ แล้ว สมั นยังจัดเ ป็ นป่ า สงวนชนิ ดหนึ่งใน ๑๕ ช นิ ด ของประเทศไทยโดยมีวั ตถุ ป ระสงค์เ พื่ อควบคุ มซา ก โดยเฉ พา ะอ ย่ า ง ยิ่งเขาของสมันไม่ให้มี กา รส่งออกนอกรา ชอา ณา จักร สาเหตุของการสูญพั นธุ์ : เ นื่องจา กแหล่งที่อยู่อา ศั ยได้ถูกเปลี่ย น เป็ นนาข้ าวเกือบทั้งหมด และสมั นที่เ หลืออยู่ ตา มที่ห่า งไกลจะถูกล่า อย่างหนั กในฤดูน้ำ หลา กท่วมท้ องทุ่ ง ในเ วลา นั้นสมั นจ ะหนี น้ำ ขึ้ นไป อยู่รวมกันบนที่ดอนทำ ให้พวกพรา นล้อมไล่ฆ่า อย่า งง่ า ย ดา ย

กวางผา Naemorhedus griseus ลักษณะ : กวางผา เ ป็ นสัตว์จำ พวก แพะแกะเ ช่นเ ดียวกับเลีย งผา แ ต่ มี ขนาดเล็กกว่ า เมื่อโตเ ต็มที่ มีควา มสูงที่ไหล่มา กกว่า ๕๐ เซ นติเมตร เพี ยงเล็กน้อย และมีน้ำ หนักตัวป ระมา ณ ๓๐ กิโลกรัม ขนบนลำ ตัวสี น้ำตาล หรือสีน้ำ ตา ลปนเ ทา มี แนวสีดำ ตา มสันหลงไปจนจดหา ง ด้า น ใต้ท้ องสีจางกว่า ด้า นหลัง หา งสั้ นสีดำ เ ขา สีดำ มี ลักษณะเป็ นวงแ หวน รอบโคนเขา และปลา ยเรี ยวโค้งไป ทา งด้า นหลัง อุปนิ สัย : ออกหา กิ นตา มที่โล่งในตอนเ ย็น และตอนเ ช้า มืด หลับพั ก นอนตามพุ่ มไม้ และชะง่ อนหิ นในเ วลา กลา งคื น อา หา ร ไ ด้แ ก่ พื ช ที่ ขึ้น ตามสันเขาและหน้า ผา หิ น เช่น หญ้า ใบไม้ กิ่งไม้ และลูกไม้ เปลือ กแ ข็ง จำพวกลูกก่อ กวา งผา อยู่ร วมกั นเ ป็ นฝู งๆละ ๔-๑๒ ตัว ผสมพั นธุ์ ใน ราวเดือนพฤศจิกา ยน และธันวา ค ม ออกลูกครอกละ ๑- ๒ ตัว ตั้ง ท้องนาน ๖ เดือน ที่อาศั ย : กวา งผา จะอยู่ บนย อดเ ขา สูงชันในที่ ระดับน้ำ สู งชันมา กกว่ า ๑,๐๐๐ เมตร เขตแพร่ กระจาย : กวา งผา มีเ ขตแพร่กระจา ย ตั้งแต่แคว้นแ พร่กร ะจา ย ตั้ งแต่แคว้นแคชเ มียร์ลงมา จนถึงแค ว้นอั สสัม จีนตอนใ ต้ พม่ า แ ละ ตอนเหนื อของประเ ทศไทย ในประเ ทศไทยมี รา ยงา นพบกวา งผา ตา ม ภู เขาที่สู งชันในหลา ยบริ เ วณ เ ช่น ดอยม่อนจ อง เ ขตรักษา พั นธุ์สัตว์ ป่ าอมก๋ อย ดอยเลี่ยม ดอยมือกา โด จังหวัดเ ชีย งใหม่ แ ละบริเวณ สองฝั่ งลำน้ำปิ งในอุทยานแห่งชา ติแม่ ปิ ง จังหวัดตา ก สถานภาพ : กวา งผา จัดเป็ นสัตว์ป่ า สงวนชนิ ดหนึ่ งใน ๑๕ ช นิดขอ ง ประเทศไทยและอนุสัญญา CIT ES จัดไว้ในAppe n dix I สาเหตุ ของการใกล้ จะสูญพั นธุ์ : เ นื่ องจา กกา รบุกรุกถางป่ า ที่ทำ ไ ร่ เลื่ อนลอยของชา วเ ขา ในระยะเ ริ่มแรกและชา วบ้า นในระยะหลัง ทำ ให้ ที่ อาศัยของกวางผา ลดน้อยลง เ หลืออยู่เ พี ยงตา มย อดเ ขา ที่สูงชัน ประกอบกับการล่า กวา งผา เ พื่ อเ อา น้ำ มั นมา ใช้ในกา รสมา นกร ะดูกที่ หั ก เช่นเดี ยวกับเลียงผา จำ นวนกวา งผา ในธรรมชา ติจึ งลดลงเหลืออ ยู่ น้ อยมาก

นกแต้วแล้วท้ องดำ Pitta gurneyi ลักษณะ : เป็ นนกขนา ดเ ล็ก ลำ ตัวย า ว ๒๑ เ ซนติเ มตร จั ดเป็ นนกที่ มี ความสวยงามมา ก นกตัวผู้มีส่วนหัวสีดำ ท้ า ย ทอยมี สีฟ้า ปร ะกา ย สดใส ด้านหลังสีน้ำ ตา ลติดกับ อกตอนล่า ง และตอนใต้ท้ องที่มี ดำ สนิ ท นกตัวเมี ยมี สีสดใสน้อยกว่า โดยทั่วไป สีลำ ตัวออกน้ำ ตา ล เหลือง ไม่มีแถบดำบนหน้า อกและใต้ท้ อง นกอา ยุน้ อยมีหัว แ ละคอ สี น้ำตาลเหลื อง ส่วนอกใต้ท้ องสีน้ำ ตา ล ทั่วตัวมี ลา ย เ กล็ดสี ดำ อุปนิ สัย : นกแต้วแล้วท้องดำ ทำ รังเ ป็ นซุ้มทรงกลม ด้วย แ ขนงไม้ และใบไผ่ วางอยู่ บนพื้ นดิน หรือในกอระกำ วา งไข่ ๓-๔ ฟอ ง ทั้ ง พ่ อนกและแม่นก ช่วยกันกกไข่และหา อา หา รมา เ ลี้ ย งลูก อา หา ร ได้ แ ก่ หนอนด้วง ปลวก จิ้ งหรีดขนา ดเ ล็ก และแมลงอื่นๆ ที่อยู่อาศัย : นกแต้วแล้วท้องดำ ชนิดนี้พบ อา ศั ยอยู่เ ฉพา ะในบริเวณ ป่ าดงดิ บต่ำ เขตแพร่กระจาย : พบตั้งแต่ตอนใต้ของประเ ทศพม่ า ลงมา จนถึ ง เขตรอยต่ อระหว่า งปร ะเ ทศไทย กับประเ ทศมา เ ลเ ซีย สถานภาพ : เ คยพบชุกชุ มในระยะเ มื่อ ๘๐ ปี ก่อน แต่ไม่ มี ร า ย งา น ทางวิทยาศาสตร์ เ ลยตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๔๙๕ จนมีรา ยงา นพบครั้ง ล่าสุ ดเมื่ อเดือนมิถุ นา ยน พ. ศ.๒๕๓๑ นกแต้วแล้วท้ องดำ ได้รับกา ร จั ดให้ เป็ นสัตว์ชนิดที่หา ยากชนิ ดหนึ่ง ในสิบสองชนิ ดที่หา ย า กขอ ง โลก สาเหตุ ของการใกล้จะสู ญพั นธุ์ : นกชนิ ดนี้ จัดเ ป็ นสัตว์ที่อา ศัย อ ยู่ เฉพาะในป่ าดงดิบต่ำ ซึ่งกำ ลังถูกตัดฟันอย่า งหนั ก และสภา พที่ อ ยู่ เช่นนี้มีน้อยมากในบริเ วณเ ขตคุ้ มครองในภา คใต้ นอกจ า กนี้ เนื่องจากเป็ นนกที่หา ยากเ ป็ นที่ ต้องกา รของตลา ดนกเ ลี้ ย ง จึ งมี ราคาแพง อันเ ป็ นแรงกระตุ้นให้นกแต้วแล้วท้ องดำ ถูกล่า มา กยิ่งขึ้ น

นกกระเรี ยน Grus antigone ลั กษณะ : เป็ นนกขนา ดใหญ่ เ มื่ อยื นมี ขนา ดสู งรา ว ๑๕๐ เซ นติเมตร ส่ วนหั วและคอไม่ มี ขนปกคลุ ม มี ลั กษณะเ ป็ นปุ่ มหย า บสี แ ดง ย กเว้ น บริ เวณกระหม่ อมสีเ ขียวอมเ ทา ในฤดู ผสมพั นธุ์ มี สี แดงส้ มสดขึ้นกว่า เดิ ม ขนลำตั วสีเ ทา จนถึ งสี เ ทา แกมฟ้า มี กระจุ กขนสี ขา วห้ อ ย คลุ ม ส่วนหาง จะงอยปา กสี ออกเ ขี ยว แข้ งและเ ท้ า สี แดงหรื อสีช มพู อมฟ้า นกอายุ น้ อยมี ขนสี น้ำ ตา ลทั่ วตั ว บนส่ วนหั วและลำ ค อมีขน สีน้ำ ตา ล เหลื องปกคลุม ใ นปร ะเ ทศไทย เ ป็ นนกกระเ รี ยนชนิ ดย่ อย Sh ar pii ซึ่ งไม่ มี วงแหวนสี ขา วรอบลำ คอ อุปนิ สัย : ออกหา กิ นเ ป็ นคู่ และเ ป็ นกลุ่มครอบครั ว กิ นพวกสัตว์ เช่ น แมลง สั ตว์ เลื้ อยคลา น กบ เ ขี ย ด หอย ปลา กุ้งและพวกพื ช เมล็ ด ข้ าวและยอดหญ้า อ่ อน ทำ รั งวา งไข่ ในฤดู ฝนรา วเ ดื อนมิ ถุ นา ย น ปกติ วางไข่ จำนวน ๒ ฟอง พ่ อแม่ นกจ ะเ ลี้ ยงดู ลู กอี กเ ป็ นเ วล า อย่า งน้อ ย ๑๐ เดื อน ที่ อยู่ อาศั ย : ชอบอาศัยตามทุ่ งหญ้ า ที่ ชื้ นแฉะ และหนองบึงที่ ใกล้ ป่ า เขตแพร่กระจาย : นกกระเ รี ย นชนิ ดย่ อยนี้ มี เ ขตแพร่ กระจา ย จา ก แคว้นอั สสั มในประเ ทศอิ นเ ดี ย ประเ ทศพม่ า ไทย ตอนใต้ ลา ว กั มพู ชา เวี ยดนา มตอนใต้ ถึ งเ มื องลูซุนประเ ทศฟิลิ ปปิ นส์ บา งครั้ ง พลั ดหลงไปถึงประเ ทศมา เ ลเ ซีย และยังมี ประชา กรอี กกลุ่ มหนึ่ งในรั ฐ ควี นแลนด์ ประเ ทศออสเ ตรเ ลี ย สถานภาพ : นกกระเ รี ยนเ คย พบอยู่ ทั่ วประเ ทศ ครั้ งสุ ดท้า ย เมื่ อ ปี พ.ศ.๒๕๐๗ พบ ๔ ตั ว ที่วั ดไผ่ล้ อม จั งหวัดปทุ มธา นี จา กนั้ นมี รายงานที่ ไม่ ยืนยันว่ า พบนกกระเ รี ยน ๔ ตั ว ลงหา กิ นในทุ่ งนา อำ เภอ ขุ ขั นธ์ จั งหวั ดศรี สะเ กษ เมื่ อเ ดื อนมกรา คม พ.ศ.๒๕๒๘

แมวลายหินอ่ อน Pardofelis marmorata ลักษณะ : แมวลา ยหิ นอ่อนเ ป็ นแมวป่ า ขนา ดกลา ง น้ำ หนั กตัวเมื่ อโ ต เต็ มที่ ๔-๕ กิโลกรั ม ใ บหูเ ล็กมนกลมมี จุดด้า นหลังใบหู หา งย า วมีขน หนาเป็ นพวงเด่นชั ด สี ข นโดยทั่ วไป เ ป็ นสีน้ำ ตา ลอมเ หลือ ง มี ลา ย บน ลำตั วคล้ายลา ยหินอ่ อน ด้านใต้ท้ องจ ะออกสีเ หลืองมา กกว่า ด้า น หลังขาและหางมีจุดดำ เท้า มี พั งผื ดยืดระหว่า งนิ้ว นิ้ วมีปลอ กเล็บ สองชั้น และเล็บพั บเก็บได้ใ นป ลอกเ ล็บทั้งหมด อุปนิสัย : ออกหา กิ นในเ วลา กลา งคื น ส่วนใหญ่มั กอยู่บนต้นไม้ อาหารได้แก่สัตว์ ขนา ดเ ล็กแทบทุ กชนิ ดตั้งแต่แมลง จิ้งจก ตุ๊กแ ก งู นก หนู กระรอก จนถึงลิงขนา ดเ ล็ก นิสัย ค่ อนข้า ดุร้ า ย ที่อยู่อาศัย : ในปร ะเ ทศไทยพบอยู่ตา มป่ า ดงดิบเ ทื อกเ ขาตะนา วศรี และป่ าดงดิบชื้น ใ นภาคใ ต้ เขตแพร่กระจาย : แมวป่ าชนิ ดนี้ มี เ ขตแพร่กระจ า ย ตั้งแต่ปร ะเทศ เนปาล สิกขิ ม แคว้นอัสสัม ประเ ทศอินเ ดีย ผ่ า นทา งตอ นเหนื อ ขอ ง พม่ า ไทย อินโดจีน ลงไปตลอดแหลมมลา ยู สุมา ตรา และบอ ร์เนี ย ว สถานภาพ : แมวลา ยหินอ่อนจั ดเ ป็ นสัตว์ป่ า ชนิ ดหนึ่งใน ๑๕ ช นิ ด ของประเทศไทย และอนุสัญญา CITES จัดอยู่ในAppen dix I สาเหตุ ของการใกล้จะสูญพั นธุ์: เ นื่องจา กแมวลา ยหินอ่ อนเป็ นสัตว์ที่ หาได้ยาก และมีปริมา ณในธรรมชา ติค่ อนข้ า งต่ำ เ มื่ อเ ที ยบกับแ มวป่ า ชนิ ดอื่นๆ จำนวนจึงน้อยมา ก และเ นื่ องจ า กถิ่นที่อยู่ อา ศั ย ถูกทำ ลา ย และถู กล่าหรือจับมา เ ป็ นสัตว์ เ ลี้ย งที่มี รา ค า สูง จำ นวนแม วลา ย หิน อ่อนจึงน้อยลง ด้านชี ววิ ทย า ของแมวป่ า ชนิ ดนี้ยังรู้กั นน้อย มา ก

ส ม เ ส ร็ จ Tapirus indicus ลักษณะ : สมเ สร็ จเป็ นสัตว์กีบคี่ เ ท้า หน้ า มี ๔ เ ล็บ และเ ท้ า หลังมี ๓ เล็บ จมู กและริมฝี ปากบนยื่ นออกมา ค ล้า ย งวง ตา มี ขนา ดเล็ก ใบหู รู ปไข่ หางสั้น ตัวเ ต็มวั ยมี น้ำ หนั ก ๒๕๐-๓๐๐ กิโลกรัม ส่ วนหัวแ ละ ลำตั วเป็ นสีขาวสลับดำ ตั้งแต่ปลา ย จมู กตลอดท่ อนหัวจนถึงลำ ตั ว บริ เวณระดับหลังของขา คู่หน้ า มี สีดำ ท่ อนกลา งตัวเ ป็ นแ ผ่นขา ว ส่ วนบริ เวณโคนหา งลงไปตลอดขา คู่ หลัง จะเ ป็ นสีดำ ขอ บปลา ย หู และริ มฝี ปากขาว ลูกสมเ สร็ จลำ ตัวมี ลา ย เ ป็ นแถบ ดูลา ย พร้อ ย คล้า ย ลู ก แ ต ง ไ ท ย อุปนิ สัย : สมเสร็ จชอบออกหา กิ นในเ วลา กลา งคืน กินย อ ดไม้ กิ่งไ ม้ หน่ อไม้ และพื ชอวบน้ำ หลา ย ชนิ ด มั กมุ ดหา กินตา มที่ รกทึบ ไ ม่ ค่ อย ชอบเดินหากินตา มเ ส้ นทา งเ ก่า มี ประสา ทสัมผั สทา งกลิ่น แ ละเสีย งดี มาก ผสมพั นธุ์ใ นเ ดือนเ มษา ย นหรือเ ดือนพฤษภา คม ตกลูกครั้งละ ๑ ตั ว ใช้เวลาตั้งท้องนา นปร ะมา ณ ๑๓ เ ดือน สมเ สร็จที่ เลี้ย งไ ว้ มีอายุนานประมา ณ ๓๐ ปี ที่อยู่อาศัย : สมเ สร็ จชอบอยู่อา ศั ย ตา มบริเ วณที่ร่มครึ้ม ใกล้ห้วย ห รื อ ลำ ธ า ร เขตแพร่กระจาย : สมเ สร็ จมี เ ขตแพร่กระจา ย จา กพม่ า ตอ นใต้ ไ ป ตามพรมแดนด้า นทิศตะวั นตกของประเ ทศไทย ลงไป สุดแ หลมมลา ยู และสุมาตรา ในปร ะเ ทศไทยจะพบสมเ สร็จได้ในป่ า ดงดิบตา มเทื อ ก เขาถนนธงชั ย เทือกเ ขา ตะนา วศรี และป่ า ทั่ วภา คใต้ สถานภาพ : ปั จจุบันสมเ สร็จจัดเ ป็ นสัตว์ป่ า สงวนชนิ ดห นึ่งใน ๑๕ ชนิดของประเทศไทย และจั ดโดยอนุสัญญา CIT ES ไว้ใน Appendix I และจัดเป็ นสั ตว์ที่ ใกล้จ ะสูญพั นธุ์ตา ม U.S. Endanger Species Act. สาเหตุของการใกล้จะสูญพั นธุ์ : กา รล่า สมเ สร็จ เ พื่ อเ อา หนั งแ ละเนื้ อ การทำลายป่ าดงดิบที่อยู่อาศั ย และหา กิน โดยกา รตัดไม้ กา ร สร้า ง เขื่อนกักเก็บน้ำ และถนน ทำ ให้จำ นวนสมเ สร็จลดปริมา ณลงจนหา ได้ ยาก

เก้งหม้ อ Muntiacus feai ลักษณะ : เก้งหม้อมีลั กษณะโดยทั่ วไป คล้า ย คลึงกับเ ก้งธร ร มดา ขนาดลำตั วไล่ เลี่ยกัน เมื่อโตเ ต็มที่ น้ำ หนั กป ระมา ณ ๒๐ กิโ ลกรัม แ ต่ เก้ งหม้ อจะมีสี ลำ ตัวคล้ำ กว่ า เ ก้งธรรมดา ด้า นหลังสีออกน้ำ ตา ลเข้ม ใต้ ท้ องสีน้ำตาลแซมขา ว ข า ส่วนที่ อยู่เ หนื อกีบจะมีสีดำ ด้า นหน้ า ขอ ง ขาหลังมีแถบขา วเ ห็ นได้ชั ดเ จน บนหน้า ผา กจะมี เ ส้นสีดำอยู่ด้า นใน ระหว่ างเขา หางสั้ นด้า นบนสีดำ ตัดกับ สีขา วด้า นล่า งชัดเ จน อุปนิ สั ย : เก้งหม้อชอบอาศัย อยู่เ ดี่ยว ในป่ า ดงดิบ ตา มลา ดเขา จะ อยู่เป็ นคู่ เฉพาะฤดูผสมพั นธุ์เ ท่ า นั้ น ออกหา กินในเ วลา กล า งวัน มากกว่ าในเวลา กลา งคื น อาหา รได้แก่ ใบไม้ ใบหญ้า แล ะผลไ ม้ป่ า ตกลูกครั้ งละ ๑ ตัว เวลา ตั้งท้ องนา น ๖ เ ดือน ที่อยู่อาศัย : ชอบอยู่ตา มลา ดเ ขา ในป่ า ดงดิบและหุบ เ ขา ที่มี ป่ า หนา ทึบ และมีลำธารน้ำ ไหลผ่ า น เขตแพร่กระจาย : เก้ งหม้อมี เ ขตแพร่กระจา ย อยู่ ในบริ เ วณ ตั้งแ ต่ พม่ าตอนใต้ลงไปจนถึ งภาคใต้ตอนบ น ของป ระเ ทศไทยเท่ า นั้ น ใน ประเทศไทยพบในบริเ วณเ ทื อกเ ขา ตะนา วศรีลงไป จนถึงเทื อ กเขา ภูเก็ต ในบริเวณเ ขตรั กษา พั นธุ์สัตว์ป่ า คลองนา ค า และเ ขตรักษา พั นธุ์ สัตว์ป่ าคลองแสง ใ นจังหวัดระนอง สุรา ษฎ ร์ธา นี และพั งงา สถานภาพ : องค์กา รสวนสั ตว์ ได้ป ระสบ ควา มสำ เ ร็จในกา ร เพา ะ เลี้ ยงเก้ งหม้อมา ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๒๘ ในปั จจุบันเ ก้งหม้ อจัดเป็ นสัตว์ ป่ าสงวนชนิดหนึ่ งใน ๑๕ ชนิ ดของประเ ทศไทย และองค์กา ร IU C N จัดเก้งหม้อให้ เ ป็ นสัตว์ป่ าที่ใกล้จ ะสูญพั นธุ์ สาเหตุ ของการใกล้จะสูญพั นธุ์ : ปั จจุบันเ ป็ นสัตว์ป่ า ที่หา ย า กแ ละใกล้ จะสูญพั นธุ์หมดไปจา กปร ะเ ทศ เ นื่ องจา กมี เ ขตแพร่กระจา ย จำ กัด และที่อยู่อาศัยถู กทำ ลา ยหมดไปเ พรา ะกา รตัดไม้ ทำ ลา ย ป่ า กา ร เก็ บ กั กน้ำเหนือเขื่อนและกา รล่า เ ป็ นอา หา ร เ ก้งหม้ อเ ป็ นเ นื้อที่นิ ย มรั บ ป ร ะ ท า น กั น ม า ก

พ ะ ยู น ห รื อ ห มู น้ำ Dugong dugon ลักษณะ : พะยูนจัดเป็ นสั ตว์เ ลี้ ยงลูกด้วย นมชนิ ดหนึ่ง ที่อ า ศัย อ ยู่ ใน น้ำ มี ลำตัวเพรียวรู ปกระสวย หา งแยกเ ป็ นสองแฉก วา งตัวขนา น กั บพื้ นในแนวราบ ไม่มีครีบหลัง ปา กอยู่ ตอนล่า ง ของส่วนหน้ า ริม ฝี ปากบนเป็ นก้อนเ นื้อหนา ลักษณะเ ป็ นเ หลี่ยมคล้า ย จมู กหมู ตัวอา ยุ น้ อยมี ลำตัวออกขา ว ส่ วนตั วเ ต็มวัย มีสีชมพู แดง เ มื่อโตเต็มวัย จะมี น้ำหนักตัวประมา ณ ๓๐๐ กิ โลกรัม อุปนิ สัย : พะยูนอยู่ร่วมกั นเ ป็ นครอบครัว หลา ย ครอบครั วจะหา กิ น เป็ นฝู งใหญ่ ออกลูกครั้งละ ๑ ตัว ใช้เ วลา ตั้งท้ องนา น ๑๓ เดือ น และจะโตเต็มที่เ มื่อมี อา ยุ ๙ ปี ที่ ยู่อาศัย : ชอบอาศั ยหา กินพื ชจำ พวกหญ้า ทะเ ลตา มพื้ น ท้ อ งทะเล ชายฝั่ ง ทั้งในเวลา กลา งวันและกลา งคืน เขตแพร่กระจาย : พะยูนมีเ ขตแพร่ กระจ า ย ตั้งแต่บ ริเ วณ ช า ย ฝั่ ง ตะวันออกของทวี ปอาฟริกา ทะเ ลแดง ตลอดแนวชา ยฝั่ งมหา สมุ ทร อินเดี ยไปจนถึงปร ะเ ทศฟิลิ ปปิ นส์ ไต้หวัน และตอนเ หนื อของ ออสเตรเลีย ในปร ะเ ทศไทยพบไม่ บ่อยนั ก ทั้งในบริเ วณ อ่า วไ ทย แ ถบ จั งหวั ดระยอง และชา ยฝั่ งทะเ ลอั นดา มั น แถบ จังหวัดภูเก็ต พั งงา กระบี่ ตรัง สตูล สถานภาพ : ปั จจุบันพบพะยู นน้ อยมา ก พยูนที่ยังเ หลืออยู่จะเป็ นก ลุ่มเล็ กหรืออยู่โดดเ ดี่ยว บา งครั้ งอา จจะเ ข้า มา จ า กน่า นน้ำ ของ ประเทศใกล้เคี ยง พะยูนจัดเป็ นสัตว์ป่ า สงวนชนิ ดหนึ่งใน ๑๕ ช นิ ด ของประเทศไทย และจัดโดยอนุสัญญา CITES ไว้ใน Appen dix I สาเหตุ ของการใกล้จะสูญพั นธุ์ : เ นื่ องจา กพะยูนถูกล่า เ พื่ อ เป็ น อาหาร ติดเครื่องปร ะมงตา ย และเ อา น้ำ มั นเ พื่ อเ อา เ ป็ นเชื้อ เพลิง ประกอบกับพะยูนแพร่ พั นธุ์ได้ช้า มา ก นอกจ า กนี้ มลพิ ษที่ ก่อ ให้เกิด การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมตา มชา ยฝั่ งทะเ ล ได้ทำ ล า ย แ หล่ ง หญ้ าทะเล ที่ เป็ นอา หา รของพยูนเ ป็ นจำ นวนมา ก จึงน่ า เ ป็ นห่วงว่า พะยูนจะสู ญสิ้ นไปจา กปร ะเ ทศในอนา ค ตอั นใกล้นี้

เลียงผา,เยือง, กูรำ , โครำ Capricornis sumatraensis ลักษณะ : เลี ยงผา เ ป็ นสัตว์ จำ พวกเ ดียวกับ แพะและแกะ เมื่ อ โ ตเต็ม ที่มี ความสูงที่ ไ หล่ปร ะมา ณ ๑ เ มตร ขา ย า วและแข็ งแรง ใบหูย า ว คล้ายใบหูลา ข นตา มลำ ตัวค่อนข้ า งยา ว หย า บและมี สีดำ ด้า นท้องขน สีจางกว่า มีขนเ ป็ นแผงยาวบนสันคอและสันหลัง มี เ ขา ทั้งในตัวผู้ และตั วเมีย เขามีลักษณะตอนโคนกลม หยักเ ป็ นวงแหวน โ ดย ร อบ ค่อยๆ เรี ยวไปทา งปลา ยเขา โค้ ง ไป ทา งด้า นหลังเ ล็กน้ อย อุปนิ สัย : ในเวลา กลา งวั นจะพั กอา ศั ยอยู่ในถ้ำ หรือในพุ่ มไ ม้ ออ ก หากิ นในตอนเย็นถึ งพลบค่ำ และในเ วลา เ ช้า มื ด อา หา รได้ แ ก่พื ช ต่า งๆ ทุ กชนิ ด เลียงผา มีปร ะสา ทหู ตา และรับกลิ่ นได้ดี ผสมพั นธุ์ในช่วง ปลายเดือนตุลา คม ตกลูกค รั้งละ ๑-๒ ตัว ใช้เ วลา ตั้งท้อ งร า ว ๗ เดือน ในที่เลี้ยง เลียงผา มี อา ยุย า วกว่า ๑๐ ปี ที่อาศั ย : เลียงผา อา ศั ยอยู่ ตา มภู เ ขา ที่ มี หน้ า ผา สูงชันมีป่ า ปกคลุม เขตแพร่ กระจาย : เลียงผา มีเ ขตแพร่กระจา ย ตั้งแต่แคว้นแ คช เมี ย ร์ มาตามเทื อกเข า หิ มา ลัยจนถึ งแคว้นอั สสัม จีนตอนใต้ พม่า อินโดจี น มลายู และสุ มาตรา ใ นปร ะเ ทศไทย พบอา ศั ยอยู่ตา มภูเ ขาสู งในหลา ย ภู มิ ภาคของประเ ทศ เช่น เทื อกเ ขา ตะนา วศรี เ ทือกเ ขา ถนนธงชัย เทื อกเขาเพชร บูร ณ์ และภู เขา ทั่ วไป ในบริเ วณภ า คใต้ รวมทั้งบนเกา ะ ในทะเลที่อยู่ไม่ ห่า งจากแผ่ นดิ นใหญ่มา กนั ก สถานภาพ : เ ลียงผา จัดเป็ นสัตว์ป่ า สงวนชนิ ดหนึ่ งใน ๑๕ ช นิ ดขอ ง ประเทศไทย และอนุสั ญญา CITES จัดเ รีย งผา ไว้ใน Appen dix I สาเหตุของการใกล้จะสูญพั นธุ์ : ในระยะหลังเ ลียงผา มี จำ นวนลดลง อย่างรวดเร็ว เ นื่องจากกา รล่า อย่า งหนั กเ พื่ อเ อา เ ขา กร ะดูก แ ละ น้ำมั นมาใช้ ทำยาสมา นกระดูก และพื้ นที่หา กินของเ ลียงผา ลดลง อย่างรวดเร็ ว จากกา ร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook