การจดั กาครมู ือสวนลำไย การจดั การความรู และถายทอดเทคโนโลยีการผลิตลำไยคณุ ภาพดี ตนทนุ ตำ่
ชือ่ หนงั สือ ข้อมลู ทางบรรณานุกรมของหอสมุดแห่งชาติ คมู่ อื การจัดการ สวนล�ำไย การจัดการความรู้ และถา่ ยทอดเทคโนโลยีการผลติ ลำ� ไยคุณภาพดตี ้นทุนต่ำ� ISBN : 978-974-625-748-0 คณะผูจ้ ัดทำ� รองศาสตราจารย์ ดร.นำ� ยุทธ สงค์ธนาพิทกั ษ์ ดร.ภาสวรรธน์ วชั รดำ� รงค์ศักดิ์ ท่ีปรึกษา ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ยุทธนา เขาสุเมรุ รองศาสตราจารย์ ดร.ชติ ิ ศรตี นทพิ ย์ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์สนั ติ ชา่ งเจรจา นายภฤศพงศ์ เพชรบุล ผูเ้ ขียน ว่าทีร่ .ต.รัชต์พงษ์ หอชัยรตั น์ ผชู้ ่วยศาสตราจารยย์ ทุ ธนา เขาสเุ มรุ วา่ ทรี่ .ต.รัชต์พงษ์ หอชยั รัตน์ นางสาวรตั นาภรณ์ สารภี นางสาวทนิ อ่อนนวล นายนริศ กำ� แพงแก้ว นายพิษณุ พรมพราย กองบรรณาธิการ ว่าท่รี .ต.เกรยี งไกร ศรีประเสริฐ นางสาวอารรี ัตน์ พิมพน์ วน นายเจษฎา สภุ าพรเหมนิ ทร์ นางสาวสุธาสินี ผู้อย่สู ุข สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชมุ ชน มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้ นนา โรงพิมพ์มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลลา้ นนา เลขท่ี 98 ม.8 ต.ป่าป้อง อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่ 50220 ฝ่ายศลิ ปกรรม โทร.053-266518 www.rmutl.ac.th จัดทำ� โดย ส�ำนักพมิ พ ์
คำ� น�ำ ประเทศไทย สามารถผลติ และสง่ ออกลำ� ไยไดเ้ ปน็ อนั ดบั ตน้ ของโลกโดยมคี แู่ ขง่ ทางการคา้ ทส่ี ำ� คญั ไดแ้ ก่ จนี และเวยี ดนาม แตป่ ญั หาหรอื ขอ้ จำ� กดั ดา้ นการผลติ ของประเทศคแู่ ขง่ เหลา่ นย้ี งั มขี อ้ จำ� กดั โดยเฉพาะปจั จยั สภาพอากาศทหี่ นาวเยน็ มผี ลกระทบ ต่อการเจริญและพัฒนาของผลล�ำไยซ่ึงประเทศไทยยังมีความ ได้เปรียบของปัจจัยการผลิตหลายด้านท่ีเหมาะสมต่อความ สามารถในการผลิตล�ำไยคุณภาพ ตลอดจนมีข้อมูลการวิจัย ล�ำไยท่ีสามารถสนับสนุนเทคโนโลยีการผลิตล�ำไยให้มีคุณภาพ เชน่ การจดั การดนิ และธาตอุ าหาร การควบคมุ การออกดอก การตัดแตง่ กงิ่ ควบคมุ ทรงพมุ่ เปน็ ตน้ หนงั สอื คมู่ อื การจดั การสวนลำ� ไย การจดั การความร้ ู และถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตล�ำไยคุณภาพดี ต้นทุนต่�ำ ได้เรียบเรียงความรู้และพัฒนามาจากชุดเทคโนโลยีและการ ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตล�ำไย ผลงานวิจัย บทเรียนจาก เกษตรกรทป่ี ระสบผลสำ� เรจ็ และผเู้ ชย่ี วชาญ โดยใชก้ ระบวนการ จดั การความรู้ การประยุกต์ใช้วิศวกรรมความรู้เพื่อจับความรู้ (knowledge capture) การผลิตล�ำไย เพ่ือเป็นชุดความรู้ วิธีการปฏิบัติส�ำหรับกลุ่มผู้ผลิตล�ำไยและต้องขอขอบพระคุณ สำ� นกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แห่งชาติ (วช.) ทไี่ ดส้ ง่ เสรมิ การท�ำ กิจกรรมและสนับสนุนการวิจัย ภายใต้โครงการจัดการความรู้ และถ่ายทอดเทคโนโลยีจากผลงานวิจัยและนวัตกรรม ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2559 เพอื่ ใหไ้ ดแ้ นวทางในการผลติ ลำ� ไยคณุ ภาพ ดีต้นทุนต่�ำ ส�ำหรับกลุ่มผู้ผลิตล�ำไยที่ตรงกับความต้องการ จึงหวังเป็นอย่างย่ิงว่าหนังสือคู่มือ การจัดการสวนล�ำไยฯ จะเป็นส่วนหนึ่งในเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตล�ำไยในวงกว้าง ต่อไป คณะผู้จดั ท�ำ
สารบญั 6 19 1 27 พันธ์ุและการขยายพันธุ์ลำ� ไย 1 การจดั การธาตอุ าหารและการใหป้ ุ๋ยล�ำไย 6 การตัดแต่งกง่ิ ลำ� ไย 19 การผลติ ล�ำไยนอกฤด ู 27 เอกสารอา้ งอิง 37
พกพานันั รธธขุล์ุแ์ ย0ล�ำาะไ1ยย
พันธ์ุและการขยายพันธลุ์ ำ� ไย ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของล�ำไย ช่อื สามัญ (อังกฤษ) : Longan, Lungan, Lingeng ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ : Dimocarpus Longan Lour. ตระกูล : Spindaceae พืชรว่ มตระกลู ได้แก่ ลนิ้ จ่ี เงาะ คอแลน ล�ำไยป่าและลำ� ไยเครือหรือลำ� ไยเถา พันธ์ุล�ำไยทนี่ ยิ มปลูกไดแ้ ก่ 1. พันธดุ์ อ เป็นลำ� ไยพนั ธุ์เบา มกี ารออกดอกและตดิ ผลก่อนพนั ธ์อุ ่นื ๆ ที่ชาวสวนนิยมปลูก เพราะสามารถเก็บเก่ียวก่อน ขายได้ราคาดี สามารถ จ�ำหน่ายทั้งผลสดและแปรรูปท�ำล�ำไยกระป๋องและล�ำไยอบแห้ง เป็น พันธุ์ท่ีเจริญเติบโตได้ดีโดยเฉพาะในดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ และมีน�้ำ พอเพียง ทนแล้งและทนน้�ำขังได้ปานกลางหากสภาพอากาศเหมาะสมจะ มีการออกดอกประมาณเดือนธันวาคม และสามารถเก็บเก่ียวผลผลิตได้ ประมาณปลายเดือนมิถุนายน ถึงต้นเดือนกรกฎาคม ผลมีขนาดค่อนข้าง ใหญ่ ทรงผลกลมแป้นเบี้ยวเล็กน้อย ขนาดผลเฉล่ียกว้าง 2.60 เซนติเมตร ยาว 2.50 เซนตเิ มตร และหนา 2.30 เซนตเิ มตร น�้ำหนักผลเฉลย่ี 18.70 กรมั สีน้�ำตาลเข้ม เนื้อผลหนา สีขาวขุ่น ค่อนข้าเหนียว รสหวาน เปอร์เซ็นต์น�้ำตาล ประมาณ 18 % 2 คูม่ อื การจัดการ สวนล�ำไย การจดั การความรู้ และถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลติ ล�ำไยคณุ ภาพดี ตน้ ทนุ ต�่ำ
2. สชี มพู เปน็ ลำ� ไยพนั ธก์ุ ลาง คอื เกบ็ เกย่ี วผลตงั้ แตเ่ ดอื นกรกฎาคมถงึ ตน้ เดอื นสงิ หาคม มกี ารเจรญิ เตบิ โตดพี อใช้ ไมค่ อ่ ยทนแลง้ ออกดอกตดิ ผลงา่ ยปานกลาง การตดิ ผลไมส่ มำ่� เสมอ พนั ธส์ุ ชี มพเู ปน็ พนั ธท์ุ ร่ี จู้ กั กนั ดใี นทอ้ งตลาด ผลโตปานกลาง ทรงผลค่อนข้างกลม เบ้ียวเล็กน้อย ขนาดผลเฉล่ียกว้าง 2.9 เซนติเมตร ยาว 2.7 เซนติเมตรและหนา 2.6 เซนติเมตร ผิวผลสีน�้ำตาล อมแดง ผิวเรียบ มีกระสีคล้�ำตลอดผล เปลือกหนา แข็งเปราะ เน้ือผล หนาปานกลาง นิ่มกรอบ สีชมพูเร่ือ ๆ และย่ิงแก่สีจะเข้มข้ึน เนื้อล่อน รสหอม รสหวานจัด เปอรเ์ ซ็นต์น�ำ้ ตาลประมาณ 21 – 22 % น�้ำนอ้ ย 3. เบยี้ วเขย้ี ว เปน็ ล�ำไยพนั ธห์ุ นกั ตน้ เจรญิ เตบิ โตดมี าก ทนแลง้ และทน น�้ำไดด้ ี ออกผลช้า เก็บเกีย่ วผลตง้ั แตป่ ลาย สงิ หาคม ถงึ ตน้ กันยายน ออกดอก ยาก ผลโตกว่าทุก ๆ พันธ์ุ ขนาดผลเฉลีย่ กวา้ ง 3 เซนตเิ มตร ยาว 2.8 เซนติเมตร และหนา 2.6 เซนติเมตร ทรงผลกลมแบนและเบี้ยวมากเห็นได้เด่นชัด ผิวผลสี เขียวอมน้�ำตาล เปลือกหนาและเหนียวผลเกิดหลวม ๆ ในช่อ เน้ือผลสีขาวขุ่น แห้งกรอบ ล่อนง่าย รสหวานจัด กล่ินหอม เปอร์เซ็นต์น�้ำตาลประมาณ 22 % 4. แหว้ พนั ธ์แุ หว้ ประกอบดว้ ยสายพันธ์ุ “ยอดแดง” และ “ยอดขาว” แหว้ ยอดแดงออกดอกงา่ ยกวา่ ยอดขาว การเจรญิ เตบิ โตของยอดดมี าก ทนแลง้ ไดด้ ี ออกดอกติดผลคอ่ นข้างยาก ผลโตปานกลางถึงใหญ่ ทรงผลกลมเบี้ยว ฐานผลบุ๋ม ผวิ ผลสีน้ำ� ตาล มีกระสีคลำ�้ ตลอดผล รูส้ ึกสากมือ เปลือกหนามาก เนื้อผลสีขาว ขุ่น เนื้อหนา แนน่ แหง้ กรอบ รสหวานจดั ขนาดผลเฉลีย่ กวา้ ง 2.8 เซนติเมตร ยาว 2.6 เซนติเมตร และหนา 2.6 เซนติเมตร การติดผลดกกว่าเบี้ยวเขียว โดยเฉพาะแหลง่ ปลูกแถว อ.ฝาง และเชียงดาว พนั ธุ์และการขยายพนั ธ์ลุ �ำไย 3
การขยายพนั ธุ์ลำ� ไย การขยายพันธุ์ล�ำไยสามารถขยายพันธุ์ได้หลายวิธี ล�ำไยที่ปลูกใน ประเทศไทยขยายพันธุ์จากกิ่งตอน ปัจจุบันในสวนท่ีปลูกใหม่ ใช้ต้นที่ได้จากการ ต่อกิ่ง โดยน�ำก่ิงยอดพันธุ์ดีมาต่อลงบนต้นตอล�ำไยเกษตรกรเชื่อว่าจะได้ต้นที่แข็ง แรง ในประเทศจนี ตน้ กล้าท่ีใชท้ าบกิง่ เปน็ ต้นตออายปุ ระมาณ 3-5 ปี สว่ นก่ิงทาบ ไดม้ ีการทดลองแลว้ ว่าสามารถปฏิบตั ิไดแ้ ตไ่ ม่คอ่ ยไดร้ ับความนิยม การขยายพนั ธ์ุ ล�ำไยทน่ี ิยมมหี ลายวิธี คือ 1. การเพาะเมล็ด เป็นวิธีดั้งเดิม ที่ท�ำกันมานาน ตั้งแต่มีการน�ำเข้าล�ำไยจาก ประเทศจีน ซ่ึงมีผลท�ำให้เกิดล�ำไยมากมาย หลายพันธุ์ในปัจจุบัน ปัจจุบันวิธีดังกล่าวไม่ เป็นท่ีนิยม เนื่องจากได้ต้นท่ีไม่ตรงตามพันธุ์ และให้คุณภาพผลตำ�่ เม่อื เปรยี บเทียบกับตน้ แม่ นอกจากนต้ี น้ ทปี่ ลกู จากเมลด็ มรี ะยะเยาว์ วัยนานใชเ้ วลา7-8 ปี (รปู ที่ 1.1) 2. การตอนกงิ่ เปน็ วธิ ที น่ี ยิ มกนั มาก ในประเทศไทย เน่ืองจากวิธีการที่ท�ำได้ง่าย รูปท่ี 1.1 ต้นตอล�ำไยอายุ 12 เดอื น ออกรากงา่ ย ในฤดูฝนกง่ิ ตอนใชเ้ วลาประมาณ 1 เดือนในการออกราก หลังจากออกราก แล้วน�ำไปเพาะช�ำไว้ในที่ร่ม 1-2เดือนก่อน น�ำลงปลูก (เพื่อป้องกันการคายน�้ำท่ีเกิด ขึ้นอย่างรวดเร็ว และเพื่อเร่งการเจริญ เติบโตของราก) ต้นท่ีได้จากการตอน กิ่งจะใช้เวลา 3-5 ปีในการให้ผลผลิต แตข่ ้อเสยี ของก่ิงตอนคือ การโคน่ ลม้ เน่อื งจาก ลมได้ง่าย การเสริมรากโดยการปลูกต้นกล้า ลำ� ไยไวใ้ กล้ ๆ กบั ตน้ หลกั และทาบสองตน้ ตดิ กนั เป็นวิธีหน่ึงที่เกษตรกรปฏิบัติเพ่ือลดปัญหาน้ี รูปท่ี 1.2 ก่งิ ตอนลำ� ไย การใช้ไมไ้ ผ่ในการคำ�้ ยันก่ิงก็สามารถช่วยป้องกันก่งิ ฉกี หกั ได้ (รูปท่ี 1.2) 4 คมู่ อื การจัดการ สวนล�ำไย การจัดการความรู้ และถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลติ ลำ� ไยคณุ ภาพดี ตน้ ทุนต�่ำ
3. การทาบกิ่ง เป็นวิธีท่ีง่ายและให้ผลดี โดยใช้ ต้นกล้าอายุ 8-12 เดือน เปน็ ต้นตอ โดยน�ำตน้ ตอ ใส่ถุงพลาสติกขนาดเล็กและใช้ขุยมะพร้าวหรือ กาบมะพร้าวเป็นวัสดุส�ำหรับให้ความช้ืนแล้วน�ำ ไปทาบกับกิ่งพันธุ์ดี โดยทาบทิ้งไว้ 45-60 วัน เพ่ือใหร้ อยแผลเช่อื มกันสนิทแล้วตดั สว่ นบนของ ตน้ ตอออก และตดั สว่ นใตก้ งิ่ ยอดพนั ธด์ุ ที งิ้ นำ� มา ใส่ภาชนะปลูกอาจเป็นกระถางหรือถุงพลาสติก รูปท่ี 1.3 การทาบก่ิงลำ� ไย สดี �ำเป็นเวลา 2-4 สัปดาห์ ก่อนน�ำลงปลกู ตอ่ ไป (รูปท่ี 1.3) 4. การเสยี บยอด ใชต้ น้ กลา้ อายุ1ปีเปน็ ตน้ ตอ ต้นตอควรมีความสมบูรณ์แข็งแรง และมี ลักษณะของการเจริญเติบโตที่ดี โดยทั่วไปใช้ ตน้ ตอทเี่ ปน็ ลำ� ไยพนั ธท์ุ มี่ กี ารเจรญิ เตบิ โตเรว็ เชน่ ล�ำไยกระดูก ท�ำหารตัดยอดต้นตอให้มีความสูง ประมาณ 3-5 นิ้ว แล้วนำ� ยอดพันธุ์ดมี ีความยาว ประมาณ 10-12 นวิ้ ท�ำการเฉอื นแผลตน้ ตอและ ก่ิงพันธุ์ให้มีความยาวของบาดแผลประมาณ รูปท่ี 1.4 กง่ิ เสียบล�ำไย 1-2 นิ้ว พันพลาสติกหรือใช้เชือกฟางให้แน่น นำ� ไปปลกู ในถงุ พลาสตกิ ใสขนาด20X30นว้ิ พน่ สารกำ� จดั เชอ้ื ราและรดนำ�้ ใหช้ มุ่ เพอื่ รกั ษาความชนื้ ภายในถงุ มดั ปากถงุ ใหแ้ นน่ ทงิ้ ไวใ้ นทรี่ ม่ ประมาณ45-60วนั แลว้ คอ่ ยเปดิ ปากถงุ ออก หลงั จากนั้นประมาณ 3-5 วนั ท�ำการยา้ ยลงภาชนะ ปลกู โดยใชด้ ินผสมเป็นวัสดปุ ลูก (รปู ท่ี 1.4) 5. การตัดช�ำ ในประเทศไทยมกี ารปฏบิ ตั ิโดยการใชก้ ง่ิ กึ่งออ่ นกง่ึ แก่ ความยาวประมาณ5นวิ้ มาปกั ชำ� ในถงุ ขนาด3X7นว้ิ ใชแ้ กลบดำ� เปน็ วสั ดปุ กั ชำ� แลว้ นำ� ใสถ่ งุ พลาสตกิ เพอื่ ควบคมุ ความชนื้ อกี ครง้ั หนง่ึ การตดั ชำ� กงิ่ ลำ� ไยภายใต้ ระบบพ่นฝอยพบว่าประสบความส�ำเร็จค่อนข้างสูงเช่นเดียวกับการปฏิบัติ ในประเทศออสเตรเลีย หลังจากต้นล�ำไยออกรากก็ท�ำการย้ายลงภาชนะปลูก เพ่อื ใชเ้ ปน็ ตน้ พนั ธด์ุ ตี อ่ ไป พันธุ์และการขยายพันธ์ุลำ� ไย 5
ธแก0ลาา2ะตรใหจอุ ดัป้ า๋ยุหกลาารร�ำไย
การจดั การธาตุอาหารและใหป้ ยุ๋ ลำ� ไย การให้ปุ๋ยกับต้นล�ำไยที่ผ่านมา ชาวสวนจะอาศัยจากประสบการณ์ ท่ีเคยปฏิบัติกันมาเป็นหลัก ในกรณีการจัดการธาตุอาหารที่ไม่เหมาะสมจะ ส่งผลต่อสมดุลของธาตุอาหารในดิน ซึ่งจะมีปัญหาต่อการจัดการธาตุอาหาร และการผลิตล�ำไยในอนาคตได้ นอกจากน้ียังเสียค่าใช้จ่ายโดยไม่จ�ำเป็น ส่งผลใหต้ น้ ทุนการผลติ สูงข้ึน การใชข้ ้อมูลทางวิชาการทเี่ กย่ี วขอ้ งกับการจดั การ ดินและธาตุอาหารจะช่วยให้การให้ปุ๋ยมีประสิทธิภาพ ถูกต้องและเหมาะสม ซงึ่ จะท�ำใหต้ น้ ทุนจากการใช้ปยุ๋ ลดลง และมปี ระสิทธภิ าพสงู ธาตุอาหารพืช ธาตุอาหารพืช หมายถึง ธาตุที่พืชต้องการเพื่อด�ำรงชีพ ธาตุเหล่านี้มี บทบาทในกระบวนการเมตาบอลซิ มึ (metabolism) อยา่ งเฉพาะเจาะจงในพชื ไมม่ ี ธาตอุ นื่ ใดทำ� หนา้ ทแ่ี ทนไดอ้ ยา่ งสมบรู ณ์ เมอื่ พชื ขาดธาตอุ าหารใดธาตหุ นง่ึ จะชะงกั การเจริญเติบโต มีอาการผิดปกติอันเป็นลักษณะเฉพาะและอาจฟื้นตัวได้เมื่อได้ รบั ปยุ๋ ซงึ่ มธี าตนุ นั้ จนเพยี งพอ โดยหนา้ ทขี่ องธาตอุ าหารพชื นนั้ สรปุ ไวใ้ นตารางท่ี 2.1 ซงึ่ การใหธ้ าตอุ าหารแกพ่ ชื จะมกี ารตอบสนองของพชื เปน็ ระดบั ตา่ งๆ ตามปรมิ าณ ธาตุอาหารที่ไดร้ ับ ดงั นี้ ระดบั การขาดธาตอุ าหาร (Nutrient deficiency) หมายถงึ การทพ่ี ชื ไดร้ บั ธาตุอาหารท่ีจ�ำเป็นต่อการเจริญเติบโตอยู่ในระดับที่ขาดแคลน ท�ำให้ผลผลิต ลดลงอย่างมาก พชื จะแสดงอาการขาดธาตใุ ห้เห็นซึง่ ลกั ษณะอาการขาดธาตุ นอี้ าจจะแสดงใหเ้ หน็ ชดั เจนมากนอ้ ยแลว้ แตป่ รมิ าณทพ่ี ชื ไดร้ บั สว่ นระดบั ทพ่ี ชื ไดร้ ับธาตอุ าหารไมเ่ พียงพอ (Insufficient) หมายถึงพืชได้รับธาตุอาหารในระดบั ท่ีต�่ำกว่าระดับความต้องการที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืช ผลท�ำให้พืช มีการเจริญเติบโตช้าลงให้ผลผลิตน้อยลง ในกรณีเช่นน้ีพืชอาจจะไม่แสดงอาการ ขาดธาตอุ าหารออกมาให้เห็น การจดั การธาตอุ าหารและให้ป๋ยุ ลำ� ไย 7
ระดบั เปน็ พษิ (Toxic) หมายถงึ พชื ไดร้ บั ธาตอุ าหาร ในระดบั ทสี่ งู เกนิ ความ ตอ้ งการมาก จนมผี ลทำ� ใหพ้ ชื ลดการเจรญิ เตบิ โต ในกรณที พ่ี ชื ไดร้ บั ในระดบั สงู มาก พชื จะแสดงอาการผดิ ปกตทิ างสรรี ะวทิ ยาออกมาใหเ้ หน็ หรอื อาจทำ� ใหพ้ ชื ชะงกั การ เจริญเตบิ โตได้ ระดับมากเกินพอ (Excessive) หมายถงึ พชื ได้รับธาตุอาหารมากเกนิ ความ ตอ้ งการ จนมผี ลทำ� ใหพ้ ชื เจรญิ เตบิ โตอยา่ งรวดเรว็ จนกอ่ ใหเ้ กดิ การขาดธาตอุ าหาร ธาตอุ ่นื ตารางที่ 2.1 หนา้ ทสี่ ำ� คญั ของธาตอุ าหารพชื และอาการขาดแคลนธาตอุ าหารของพชื ธาตุ หนาที่สำคัญ อาการขาด ไนโตรเจน เปน องคป ระกอบของกรดอะมโิ น โปรตนี โตชา ใบลา งมสี เี หลอื งซดี ทง้ั แผน ใบ คลอโรฟล ล และเอนไซมใ นพชื สง เสรมิ ตอ มากลายเปน สนี ำ้ ตาลแลว รว งหลน การเจรญิ เติบโตของ ยอดออน ใบและ กิ่งกา น ใบลา งเรม่ิ มสี มี ว งตามแผน ใบ ตอ มา ใบเปน สนี ำ้ ตาลและรว งหลน ลำตน ฟอสฟอรัส ชว ยในการสงั เคราะหโ ปรตนี และสาร แกรน็ ไมผ ลดิ อกออกผล อนิ ทรยี ท ส่ี ำคญั ในพชื เปน องคป ระกอบ ของสารทท่ี ำหนา ท่ี ถา ยทอดพลงั งาน ในกระบวน เชน การสงั เคราะหแ สงและ การหายใจ โพแทสเซ�ยม ชว ยสงั เคราะหน ำ้ ตาล แปง และโปรตนี ใบลา งมอี าการเหลอื งและกลายเปน สง เสรมิ การเคลอ่ื นยา ยของนำ้ ตาลจาก สนี ำ้ ตาลตามขอบใบ แลว ลกุ ลามเขา ใบไปยงั ผล ชว ยใหผ ลเจรญิ เตบิ โตเรว็ มาตามแผน ใบ รากเจรญิ ชา ลำตน พชื แขง็ แรง มคี วามตา นทานตอ โรคบาง ออ นแอ ผลไมเ ตบิ โต ชนดิ 8 ค่มู ือ การจดั การ สวนล�ำไย การจัดการความรู้ และถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลติ ล�ำไยคณุ ภาพดี ต้นทุนตำ่�
ธาตุ หนาที่สำคัญ อาการขาด แคลเซ�ยม เปน องคป ระกอบในสารทเ่ี ชอ่ื มผนงั เซลล ใบทเ่ี จรญิ ใหมจ ะหงกิ ตายอดไมเ จรญิ ใหต ดิ กนั ชว ยในการแบง เซลล การผสม อาจมจี ดุ ดำทเ่ี สน ใบ รากสน้ั ผลแตก เกสร การงอกของเมลด็ และชว ยให และมคี ณุ ภาพไมด ี เอนไซมบ างชนดิ ทำงานไดด ี เปน องคป ระกอบของคลอโรฟล ล ชว ย ใบแกจ ะเหลอื งยกเวน เสน ใบ และใบ รว งหลน เรว็ แมกนีเซ�ยม สงั เคราะหก รดอะมโิ น วติ ามนิ ไขมนั และนำ้ ตาล กำมะถัน เปน องคป ระกอบของกรดอะมโิ น ใบทง้ั บนและลา งมสี เี หลอื งซดี และ โปรตนี และวติ ามนิ ตน ออ นแอ โบรอน ชว ยในการออกดอกและการผสมเกสร ตายอดตายแลว เรม่ิ มตี าขา ง แตต า มบี ทบาทสำคญั ในการตดิ ผล และการ ขา งจะตายอกี ลำตน ไมค อ ยยดื ตวั เคลอ่ื นยา ยนำ้ ตาลมาสผู ล การเคลอ่ื น กง่ิ และใบจงึ ชดิ กนั ใบเลก็ หนา โคง ยา ยของฮอรโ มน การใชป ระโยชนจ าก และเปราะ ไนโตรเจนและการแบง เซลล ทองแดง ชว ยในการสงั เคราะหค ลอโรฟล ล ตายอดชะงกั การเจรญิ เตบิ โต และ การหายใจ การใชโ ปรตนี และแปง กลายเปน สดี ำ ใบออ นเหลอื ง พชื ทง้ั กระตนุ การทำงานของเอนไซมบ างชนดิ ตน ชะงกั การเจรญิ เตบิ โต คลอร�น มบี ทบาทบางประการเกย่ี วกบั ฮอรโ มน พชื เหย่ี วงา ยใบซดี และบางสว นแหง เหล็ก ในพชื ตาย ชว ยในการสงั เคราะหค ลอโรฟล ล ใบออ นมสี ขี าวซดี ในขณะทใ่ี บแก มบี ทบาทสำคญั ในการสงั เคราะห ยงั เขยี วสด แสงและหายใจ การจัดการธาตุอาหารและให้ปยุ๋ ลำ� ไย 9
ความต้องการธาตอุ าหารและแนวทางการจัดการป๋ยุ ล�ำไย การให้ปุ๋ยล�ำไยโดยอาศัยค่าปริมาณธาตุอาหารท่ีใช้ไปในระหว่างการ แตกใบและทสี่ ญู เสยี ไปกบั ผลผลติ (Crop removal) เปน็ แนวทางหนง่ึ ในการเพม่ิ ประสิทธิภาพการใส่ป๋ยุ เพราะเป็นการใหป้ ุย๋ ขนาดทรงพุม ปร�มาณธาตุอาหาร (กรัม/ตน) ตารางที่(2เม.2ตปรร)ิมาณธาไนตโอุ ตารหเจารนทล่ี �ำไยใชฟใ้ อนสแฟตอ่ละรรัสะยะกาไรนแโตกรเชจอ่ นใบ ขนา(เ31ดม--ท42ตรรง)พุม 6.0-12ปร�มาณธ0.า5ต-1.ุอ0 าหาร (ก3ร.8ัม-7/.0ตน) 5137---642 2ไ8น-5โ5ตรเจน 2.3ฟ-4.อ4 สฟอรัส 18.0-3ไ5น.0โตรเจน 296462.14.8.04--1-515526 179.7.3-1202..35.5--41..40 6106.03.-091388..80.0-7-3.05.0 ที่ม5า:-ย6ุทธนาและคณะ,9265.445-156 7.7-12.5 60.3-98.0 7 241.4 19.3 160.0 ที่มา: ยุทธนาและคณะ,2545 ตารางท่ี 2.3 ปรมิ าณธาตอุ าหารทีส่ ูญเสียไปกับผลผลติ ท่นี �้ำหนกั ผลผลิตตา่ งๆ (กปรรมั ม� )าณผลผลติ N P K Ca Mg Fe Zn Cu Mn B (กก. /ตน ) 50 185.5 21.0 186.5 76.5 13.0 1.02 0.22 0.16 0.75 0.32 100 371.0 42.0 373.0 153.0 1.51 0.65 (กปรรมั ม� )าณ20ผ0ลผลติ 742N.0 84.0P 746.0K 306.0 Ca 26.0 2.05 0.44 0.33 Cu 3.02 M1n.30 (กก. /ตน ) 52.0 Mg 4.11 Fe 0.88 Zn 0.66 B 50ที่มา: ดัดแปล18ง5จ.5ากย2ุท1.0ธนาแ18ล6ะ.5คณะ7,26.55 45 13.0 1.02 0.22 0.16 0.75 0.32 0.65 1 00 จา3ก71ต.0 าร4า2ง.0ท่ี 237.32.0 แล15ะ3.0 2.3 26ค.0 ือปริม2า.0ณ5 ธาตุอ0า.44หารท่ีล�ำ0.3ไ3ยใช้ไปใน1.51 1.30 2ร0ะ0หว่างการ7แ42ต.0กช8่อ4.0ใบแล74ะ6.0ที่สูญ306เ.ส0 ียไปก5ับ2.0ผลผลิต4.11 ซ่ึงในก0.8า8รจัดการ0ธ.66าตุอาหา3ร.02 จะตอ้ งคำ� นงึ ถงึ ปรมิ าณทธ่ี าตอุ าหารเกดิ การสญู เสยี หรอื ไมเ่ ปน็ ประโยชน์ อาทเิ ชน่ ที่มา: ดัดแปลงจากยุทธนาและคณะ,2545 10 คูม่ ือ การจัดการ สวนล�ำไย การจดั การความรู้ และถา่ ยทอดเทคโนโลยีการผลิตล�ำไยคุณภาพดี ตน้ ทุนตำ่�
การถกู ตรึงในดนิ การถูกชะลา้ ง เป็นต้น โดยจากผลการวจิ ยั พบว่า ปริมาณให้ ธาตุอาหาร ที่ 1.5 เทา่ ของปริมาณธาตุอาหารที่ติดไปกับผลผลติ เป็นปริมาณ เร่ิมต้นที่เหมาะสมท่ีสุด และเม่ือค�ำนวนเป็นปริมาณปุ๋ยสูตร 46-0-0 (ยูเรีย) 15-15-15 และ 0-0-50 หรอื 0-0-50 แลว้ ปรมิ าณทเ่ี หมาะสมแสดงดังตาราง ที่ 2.4 และ 2.5 ตารางท่ี 2.4 แสดงปริมาณปุ๋ยท่ีควรให้แก่ล�ำไยในแต่ละคร้ังของการแตกใบ (กรมั ตอ่ ต้น) ทรงพุม ชนิดปุย ( เมตร) urea 15-15-15 0-0-60 0-0-50 1 ชนิดปุย urea 15-15-15 0-0-60 0-0-50 (ทเรม32งตพรุม) 521435647 6หมายเหตุ : เลือก 0 - 0 - 50 หร�อ 0 - 0 - 60 อยางใดอยางหนึ่ง 7 ตารางที่ 2จป.ะร5เก�มห็บาแณมเกสายี่ยผดเวลหงไปตผดุรล (:มิิตกาเทกลณี่ค.ือ/ากปดต0ยุ๋ วนทา-) ค่ี0 ว-ร5ใ04หห6แ้ ร-ก�อ0ล่ -0ำ�0-ไย0ใ1-น56ร-0ชะ1นอย5ยิดะ-า1ตปง5ใดิ ดุยผอ0ลย-าถ0งงึห-เ6นก0ึ่งบ็ เก0ย-ี่ 0ว-5(ก0รมั ตอ่ ตน้ ) ปร�มาณผลผลิตที่คาดวา ชนิดปุย จะเก็บเกี่ยวได (กก. /ตน) 46-0-0 15-15-15 0-0-60 0-0-50 หมายเหตุ : เลือก 0 - 0 - 50 หร�อ 0 - 0 - 60 อยางใดอยางหนึ่ง หมายเหตุ : เลรือะกย0ะก- า0ร-เ5จ0รห�ญร�อเต0ิบ- โ0ต-ข6อ0 งอลยาำงไใยดอยางหนึ่ง หลังตัดแตงกิ่งถึง รแะตยกะกใบาครเรจั้งรท�ญี่ 2เติบโตขอตงิดลผำลไยถึงระยะเก็บเกี่ยว 11 แตกใบครั้งที่ 1 แใกตหาปกรใุย ใหบตป าคุยมรตั้งารทาี่ง2ท่ี 2.2 กใกาหตารปริดจยุใหผตดั ปาลกมยุ ตถาารึงรธารงาะทยต่ี 2ะอุเ.3กาห็บหรเาือกร2ี่ย.แ5วละใหป้ ุ๋ยล�ำไย กหารลใังหตปุยัดแตงกิ่งถึง ใหปแยุตตกามใบตาครรางั้งทท่ี 2ี่.21
หมายเหตุ : เลือก 0 - 0 - 50 หร�อ 0 - 0 - 60 อยางใดอยางหนึ่ง การใหจปป้ะรเก�มยุ๋ ็บาลณเกำ�ี่ยผไวลยไผดทล (ิตีร่กทกะยี่ค. /าะดตตวนา่า)งๆ ข46อ-ง0ก-0าร1เ5จ-ชร1นญิ5ิด-1เปต5ุยิบ0โ-ต0-ข6อ0งล0-ำ� 0ไ-ย50 การให้ปุ๋ยล�ำไยที่ระยะต่างๆ อาจก�ำหนดแนวทางได้ดังตารางที่ 2.6 ซงึ่ ปรมิ าณปยุ๋ สตู รตา่ งๆ ทค่ี วรใหก้ บั ลำ� ไยจะขนึ้ อยกู่ บั ขนาดทรงพมุ่ และ ปรมิ าณ ผลผลติ ท่ีคาดวา่ จะได้รับในระยะเก็บเก่ียว ตารางท่ี 2.6หมาแยนเหวตทุ า: งเกลาือรกให0 ้ป- ยุ๋0ล-ำ� 5ไ0ยหในร�อช่ว0ง-ระ0ย-ะ6ต0า่ องยๆางใดอยางหนึ่ง ระยะการเจร�ญเติบโตของลำไย หลังตัดแตงกิ่งถึง แตกใบครั้งที่ 2 ติดผลถึงระยะเก็บเกี่ยว แตกใบครั้งที่ 1 การใหป ยุ การใหปุย การใหปยุ ใหปุยตามตารางที่ 2.2 ใหปยุ ตามตารางท่ี 2.2 ใหปยุ ตามตารางที่ 2.3 หรอื 2.5 หรอื 2.4 โดยขน้ึ อยกู บั หรอื 2.4 โดยข้ึนอยูก บั โดยข้นึ อยกู บั ผลการวิเคราะหด นิ และปริมาณผล ขนาดทรงพมุ ของลำไยและ ขนาดทรงพมุ ของลำไย ผลติ ที่คาดวา จะไดรับในระยะเก็บเกยี่ วทง้ั นีอ้ าจ และผลการวเิ คราะหดนิ แบงใส 2 ถงึ 4 ครั้ง ผลการวเิ คราะหด นิ นอกจากนกี้ อ่ นการใสป่ ยุ๋ ควรมกี ารวเิ คราะหด์ นิ ในสวนกอ่ น ซง่ึ จะทำ� ให้ ทราบถงึ ปรมิ าณธาตอุ าหารทม่ี อี ยแู่ ลว้ ในดนิ ตลอดจนทราบวา่ ดนิ เปน็ กรดหรอื ไม่ เพ่อื ทีจ่ ะได้มีการปรับปรงุ ดินก่อนใส่ป๋ยุ จะท�ำใหล้ �ำไยใชป้ ุย๋ ไดด้ ยี ่งิ ขน้ึ การสงั เกตอาการตอบสนองของลำ� ไยหลังการใสป่ ยุ๋ การให้ปุ๋ยกับล�ำไยในแต่ละสวนอาจจะตอบสนองต่อปุ๋ยท่ีให้แตกต่าง กนั ซง่ึ เปน็ ผลมาจาก ดนิ ในแตล่ ะสวนและ การจดั การอืน่ ๆแตกต่างกนั เปน็ ต้น ดังนั้น อาจต้องมีการปรับลดหรือเพ่ิมปริมาณปุ๋ยท่ีควรให้กับล�ำไยในปีต่อไปด้วย ซงึ่ อาจทำ� ไดโ้ ดยสงั เกตตน้ ลำ� ไย อาทเิ ชน่ ใบลำ� ไย กอ่ นเกบ็ เกย่ี วประมาณ 1 เดอื น ว่ามอี าการผดิ ปกตเิ ช่น ใบลา่ งเหลืองหรือไม่ เหลืองมากหรือน้อย หากพบอาการ ก็พิจารณาเพ่ิมปุ๋ยจากท่ีเคยให้ เป็นต้น แต่หากไม่พบอาการก็แสดงว่าการให้ ปุ๋ยของเราอาจจะเหมาะสมแล้ว “ซึ่งอาจจะมีการใช้การวิเคราะห์ดินและใบ ร่วมพิจารณาปรับลดหรือเพิ่มปริมาณปุ๋ย ด้วย จะท�ำให้การให้ปุ๋ยล�ำไยมี ประสทิ ธภิ าพยง่ิ ขึน้ ” 12 คูม่ ือ การจัดการ สวนล�ำไย การจัดการความรู้ และถา่ ยทอดเทคโนโลยีการผลิตลำ� ไยคุณภาพดี ต้นทุนต่ำ�
การวเิ คราะห์ธาตุอาหารในดนิ การวิเคราะห์ธาตุอาหารในดิน จะท�ำให้ทราบถึงปริมาณธาตุอาหารท่ีมีอยู่ใน ดินท�ำได้โดยเก็บตัวอย่างดินบริเวณทรงพุ่ม ล�ำไย ส่งให้กับหน่วยงานที่มีบริการวิเคราะห์ ธาตุอาหารในดิน เพราะสามารถที่จะให้ธาตุ อาหารทเี่ หมาะสมแกพ่ ชื ซง่ึ หากมปี รมิ าณธาตุ อาหารที่วิเคราะหไ์ ด้มปี รมิ าณมากแล้ว อาจไม่ จ�ำเป็นตอ้ งให้ป๋ยุ ชนิดนัน้ เลยก็ได้ และหากดิน มีสภาพความเป็นกรดด่างไม่เหมาะสมก็จะมีก็ ควรปรับปรงุ ดินกอ่ นใสป่ ุย๋ เป็นตน้ การเก็บตัวอยา่ งดิน รูปท่ี 2.1 อาการใบล่างเหลืองของต้น ที่ได้รับปุ๋ยไม่พอที่ระยะแตกใบ (บน) กอ่ นเก็บเก่ียว (ลา่ ง) 1. เก็บตัวอย่างดินจากบริเวณขอบของทรงพุ่มรอบต้นลำ� ไย อาจใช้ต้นเดียวกัน กับทีเ่ กบ็ ตัวอย่างใบ 2. เครื่องมือท่ใี ช้ขุดดิน และภาชนะบรรจุตัวอย่างดนิ จะตอ้ งสะอาด ไมม่ ีดิน ป๋ยุ ยาฆา่ แมลง หรอื ผงสกปรกอ่นื ๆ ติดอยู่ เพราะจะไปปนเปอ้ื นกบั ตัวอย่างดิน 3. จดุ ทจ่ี ะเกบ็ ตวั อยา่ งดนิ ใหห้ ลกี เลยี่ งบรเิ วณทเี่ ปน็ ตวั แทนทไ่ี มด่ ี เชน่ กองปยุ๋ เกา่ กองปูนเก่า หรือกองปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมักเก่า และหากต้นล�ำไยในสวนมีอาการ แตกตา่ งกนั ใหแ้ ยกเก็บคนละตัวอย่าง เปน็ ตน้ การจดั การธาตอุ าหารและให้ปุ๋ยล�ำไย 13
อุปกรณ์ในการเก็บตัวอยา่ งดิน 1. เครอ่ื งมอื สำ� หรบั ขดุ ตวั อยา่ งดนิ เชน่ จอบ เสยี ม พลว่ั หรอื อปุ กรณเ์ กบ็ ตวั อยา่ ง ดนิ โดยเฉพาะ 2. ภาชนะสำ� หรับรวบรวมตวั อย่างดนิ เชน่ ถงั พลาสติก หรอื กะละมัง 3. ถุงพลาสติกส�ำหรับบรรจุตัวอย่างดินได้ประมาณครึ่งกิโลกรัมเพื่อส่งตัวอย่าง ดินไปวิเคราะห์ วิธีเกบ็ ดิน เก็บตัวอย่างดินใต้ทรงพุ่ม 3-4 จุดต่อต้น (รูปท่ี 2.2)ขุดดินโดยใช้จอบ เสียม หรือพลั่ว ให้ เป็นรูปตัววี (V) ลึก 30-50 เซนติเมตรดังภาพที่ 2.3 ห รื อ อ า จ ใ ช ้ อุ ป ก ร ณ ์ เ ก็ บ ตั ว อ ย ่ า ง ดิ น โ ด ย เ ฉ พ า ะ ห ลั ง จ า ก นั้ น ใช ้ พ ล่ั ว จ อ บ ห รื อ เ สี ย ม แซ ะ ดิ น รูปท่ี 2.3 การขุดดิน ใหเ้ ปน็ รปู V ลกึ 30-50 ซม. ด้านข้างของหลุมหนา ประมาณ 3-5 เซนติเมตร จากปากหลุมให้ขนานไปตามหน้าดิน จนถึงก้นหลุม แล้วงัดขึ้นให้หน้าดินติดมากับพลั่วหรือเสียมใช้มีด ตัดดินบนพลั่ว หรือเสียม ออกทั้ง 2 ข้าง เหลือไว้ เฉพาะดินตรงกลาง กว้างประมาณ 5 เซนติเมตร เก็บใส่ถังพลาสติกหรือ หลังจากน้ันคลุกเคล้าให้ดี (รปู ท่ี 2.4-2.5) แลว้ แบง่ ตวั อยา่ งดนิ มาครงึ่ กโิ ลกรมั ใสถ่ งุ รปู ท่ี 2.4 ควรตัดดินออกทงั้ 2 ขา้ ง พลาสตกิ เขยี นชื่อเจา้ ของตัวอยา่ งดิน นำ� สง่ หอ้ งปฏิบตั ิ เหลือไว้แตด่ ินตรงกลาง การวิเคราะหต์ ่อไป รปู ที่ 2.5 นำ� ดนิ มาคลกุ เคล้าแล้วแบ่งใส่ถุง รปู ที่ 2.2 การเกบ็ ตัวอยา่ งดินใต้ทรงพุ่ม 3-4 จดุ ตอ่ ตน้ 14 คู่มือ การจดั การ สวนลำ� ไย การจดั การความรู้ และถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารผลติ ล�ำไยคุณภาพดี ตน้ ทนุ ตำ่�
การวเิ คราะห์ดินโดยใช้ชดุ วิเคราะหด์ ินอย่างรวดเรว็ การใช้ชุดวิเคราะห์ดินอย่างรวดเร็ว ซ่ึงเป็นชุดที่สามารถน�ำไปวิเคราะห์ ในแปลงปลูกพืช เป็นแนวทางท่ีจะช่วยให้ทราบถึงปริมาณธาตุอาหารในดิน และเพียงพอที่จะเพ่ิมประสิทธภาพการใช้ปุ๋ยให้กับเกษตรได้ โดยเมื่อน�ำดินมา วเิ คราะหจ์ ะบอกได้วา่ ปริมาณธาตอุ าหารในดนิ มีอยู่ในปรมิ าณสูง ปานกลาง หรือ ต�ำ่ ซงึ่ อาจแปลความหมายไดด้ งั น้ี สูง หมายถงึ . มีธาตอุ าหารเพียงพอตอ่ ความต้องการของพืช อาจไมจ่ ำ� เป็นต้องใสป่ ุ๋ย หรอื ลดการใสป่ ุ๋ยได้ ปานกลาง. หมายถงึ . หากไม่ใสห่ รอื เพิม่ ปุย๋ อกี ในอนาคต ธาตอุ าหาร อาจไม่เพยี งพอตอ่ ความตอ้ งการของพชื ต�่ำ. หมายถงึ . ตอ้ งใส่ป๋ยุ ตามค�ำแนะน�ำ เน่ืองจากธาตุอาหาร ในดินมไี ม่เพยี งพอ การจดั การธาตุอาหารและให้ปุย๋ ล�ำไย 15
การวิเคราะห์ธาตอุ าหารในพืช การวิเคราะห์ธาตุอาหารในพืช เป็นการติดตามว่าปุ๋ยท่ีเราใส่ลงไปนั้น พืชดูดขึ้นไปใช้เพียงใด ซึ่งท�ำได้โดยการ เกบ็ ตวั อยา่ งใบลำ� ไยตำ� แหนง่ ที่ 3, 4 จาก ยอดท่ีใบอายุ 5-8 สัปดาห์มาวิเคราะห์ ปริมาณธาตุอาหาร และเปรยี บเทยี บกบั ค่าที่เหมาะสมของปริมาณธาตุอาหาร รูปที่ 2.6 การเกบ็ ตวั อยา่ งใบในตำ� แหนง่ ที่ 3 และ 4 ของลำ� ไย (ตารางที่ 2.7) เชน่ หากมีการ จากยอด (อายุ 6-8 สปั ดาหห์ รอื หลงั จากใบคล่เี ต็ม วิเคราะห์ใบได้ต�่ำหรือสูงกว่าค่าที่เหมาะ ทแี่ ล้ว 1 สัปดาห)์ สม (โดยท่วั ไปใช้ น้อยหรอื มากกว่าคา่ ท่ี เหมาะสม 5 %) จะตอ้ งเพมิ่ หรอื ลดปยุ๋ ลงไป อกี ประมาณ 20-25 % จากอตั ราเดมิ ทีเ่ คยใส่ หลังจากน้ันท�ำการติดตามสังเกตผลผลิตทีเ่ ปลี่ยนแปลงในปีต่อไป พรอ้ ม ตรวจสอบคา่ วเิ คราะหใ์ บในปตี อ่ ไปดว้ ยโดยรกั ษาระดบั คา่ วเิ คราะหใ์ บใหเ้ หมาะสม ตารางท่ี 2.7 คา่ ปริมาณธาตอุ าหารทเี่ หมาะสมในใบลำ� ไย ธาตุอาหาร 1.45 - 1.88 0.12 - 0.22 ไนโตรเจน (%) 0.88 - 1.36 ฟอสฟอรสั (%) 0.88 - 1.90 โพแทสเซยี ม (%) 0.18 - 0.31 แคลเซยี ม (มก/กก.) 68.11 - 86.99 แมกนเี ซยี ม (มก/กก.) 16.99 - 30.13 เหล็ก (มก/กก.) 7.87 - 16.10 สังกะสี (มก/กก.) 47.00 - 80.46 ทองแดง (มก/กก.) 15.32 - 34.49 แมงกานีส (มก/กก.) โบรอน (มก/กก.) ที่มา: ปรับปรุงจาก Yuttana., et al, 2005 16 คู่มอื การจดั การ สวนลำ� ไย การจดั การความรู้ และถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลติ ล�ำไยคุณภาพดี ต้นทนุ ต�่ำ
เหล็ก (มก/กก.) 68.11 - 86.99 สังกะสี (มก/กก.) 16.99 - 30.13 ทองแดง (มก/กก.) 7.87 - 16.10 ตสำ�าหมรคบั่าวจิเลุ คธราาตะแอุ หมโบาง์ดหรกนิอาานน)รีสนด(มนั้ัง(มกตอ/กาาก/รจกกาค.ก)งำ.� ท)นี่ ว2ณ.8โดแยลวะธิใขหี า้้ทงา14ตง75น้ ใ..30บห02ตร-าอื-ม3มค840กีว.4.าา49รม6ใจหำ� ท้ เปางน็ ดนิ (พจิ ารณา ที่มา: ปรับปรุงจาก Yuttana., et al, 2005 ตารางท่ี 2.8 ปริมาณจลุ ธาตุอาหารท่ใี หท้ างใบและการให้ทางดิน แรธาตุอาหาร ก(การรัมให/ทลาิตงรใบ) บอแรกซ (Borax) สังกะสี (Zinc sulphate heptahydrate) ทองแดง (Copper sulphate (bluestone)) เหล็ก (Iron sulphate or chelate) แมงกานสี (Manganese sulphate) แมกนีเซียม (Magnesium sulphate) ที่มา: Menzel and Simpson, 1986 การใชป้ ยุ๋ เคมีอย่างมีประสทิ ธิภาพ การใชป้ ยุ๋ เคมใี หม้ ปี ระสทิ ธภิ าพสงู หมายถงึ การใชป้ ยุ๋ ชนดิ ทเ่ี หมาะสมโดย วธิ กี ารทถ่ี กู ตอ้ งเพอื่ ใหไ้ ดผ้ ลผลติ ออกมามมี ลู คา่ สงู สดุ และมตี น้ ทนุ ตำ�่ ซงึ่ หลกั การ ปฏบิ ัตเิ พอื่ ให้ปยุ๋ เคมที ใี่ หม้ ีประสิทธภิ าพสูงสุดมีดังนคี้ ือ 1. ใชป้ ยุ๋ ใหต้ รงกบั ทพี่ ชื ขาด เมอื่ ขาดธาตไุ นโตรเจนกต็ อ้ งใหป้ ยุ๋ ไนโตรเจน และต้องให้จนถึงระดับที่เพียงพอ ถ้าขาดแคลน 3 ธาตุ ก็ใหจ้ นครบ และเพยี งพอ ท้งั 3 ธาตุ เพราะธาตทุ ข่ี าดอยจู่ ะเปน็ ตัวจำ� กัดการเจริญเตบิ โตของพืชอยู่ 2. พยายามใหด้ นิ ร่วนซุยและมีความชน้ื อย่างเหมาะสม เพราะโดยปกติ รากพืชจะแผ่ขยายและชอนไชในดินร่วนซุยได้ดีมาก ย่อมมีโอกาสดูดนำ�้ และธาตุ อาหารจากดินไปใช้อย่างเต็มท่ี ควรใส่ปุ๋ยอินทรีย์ รวมท้ังควรให้ความช้ืนอย่าง เหมาะสม การจดั การธาตุอาหารและให้ป๋ยุ ล�ำไย 17
3. ใส่ป๋ยุ ให้ถกู ที่ ถูกจงั หวะและปริมาณท่เี หมาะสม 4. ป้องกันการสูญหาย ปุ๋ยอาจสูญหายไปจากดินได้ดังได้กล่าวมาแล้ว หากปยุ๋ ทล่ี ะลายนำ�้ งา่ ย จะถกู นำ้� ชะลงไปในชนั้ ดนิ ลกึ และควรปอ้ งกนั นำ�้ ชะพาดนิ แล้วดินถูกพัดพาไปตามน้�ำ ส�ำหรับอีกกรณีหน่ึงคือการสูญเสียปุ๋ยโดยปุ๋ยระเหย ไปจากดิน มักเกิดข้ึนเสมอเม่ือใส่ปุ๋ยยูเรียหรือปุ๋ยแอมโมเนียมในดินท่ีเป็นด่างจัด หรอื การใส่ปุ๋ยยเู รยี ร่วมกับการใส่ปูน ดงั นั้นจงึ ควรหลกี เลี่ยงการกระท�ำดงั กลา่ ว 5. การใส่ปุ๋ยไม่เหมาะสมอาจท�ำให้สมดุลของธาตุอาหารในดินคลาด เคลื่อนได้ ปัญหาน้ีจะเกิดข้ึนหากชาวสวนใส่ปุ๋ยบางธาตุโดยเฉพาะปุ๋ยที่เป็น ธาตุอาหารหลักหรือปุ๋ยสูตรท่ีมีขายกันอยู่ท่ัวๆ ไปเช่น 15-15-15, 8-24-24 ในปริมาณมากและติดต่อกันเป็นเวลานานโดยไม่มีการวิเคราะห์ดินว่า ดนิ ในสวนมีปรมิ าณธาตอุ าหารมากน้อยเทา่ ใด จะทำ� ให้ธาตอุ ื่นซึ่งพชื ยงั ไมน่ ่า จะขาดแคลนกลับขาดแคลนได้โดยเฉพาะฟอสฟอรัสถ้ามีปริมาณมากเกินไป จะมผี ลทำ� ใหพ้ ชื ขาดจลุ ธาตเุ ชน่ สงั กะสแี ละทองแดง และในดนิ ทมี่ โี พแทสเซยี ม ปรมิ าณมากจะไปขดั ขวางไม่ใหพ้ ืชดดู แคลเซยี มและแมกนีเซยี มได้ เปน็ ตน้ 6. การเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการใชป้ ยุ๋ โดยการตดั แตง่ กง่ิ นอกจากจะเปน็ การ ตัดกิ่งท่ีทึบ บังแสงซ่ึงกันและกัน ท�ำให้ใบท่ีถูกบังแสงมีประสิทธิภาพในการ สังเคราะหแ์ สงลดลง 18 คูม่ ือ การจัดการ สวนลำ� ไย การจัดการความรู้ และถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารผลิตล�ำไยคณุ ภาพดี ตน้ ทนุ ต่�ำ
03 การตัดแต่ง กง่ิ ล�ำไย
การตัดแต่งก่งิ ล�ำไย การตัดแต่งกิ่งเป็นการจัดการที่มีความส�ำคัญต่อการผลิตไม้ผลให้ มีคุณภาพ มีผลกระทบทั้งทางตรงต่อการเจริญของต้นและมีประโยชน์ทาง อ้อมต่อการจัดการสวนด้านอ่ืนๆ เกษตรกรจ�ำเป็นต้องมีความรู้และความเข้า ใจหลายๆด้านทั้งนิสัยการเจริญของต้นไม้ผลแต่ละชนิดนอกจากน้ียังจ�ำเป็น ต้องเข้าใจปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอกท่ีมีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตจึง จะท�ำให้ผลของการตัดแต่งก่งิ ประสบผลดี ลำ� ไยจดั เปน็ ไมผ้ ลทม่ี ที รงตน้ ขนาดใหญ่ ระดบั ความสงู ของตน้ ทมี่ ากเกนิ ไปอาจเปน็ สาเหตุท�ำใหก้ ารจัดการตน้ ท�ำได้ไม่ทั่วถงึ นอกจากน้ียังมผี ลกระทบต่อ กระบวนการเคลอ่ื นยา้ ยและการกระจายตวั ของปจั จยั ทมี่ คี วามจำ� เปน็ ตอ่ การเจรญิ เตบิ โตเชน่ น้�ำ ธาตุอาหารพชื ตลอดจนสารอาหารต่างๆทตี่ ้นสรา้ งขนึ้ มีไม่เพยี งพอ ต่อการเจรญิ เติบโต ผลผลิตลำ� ไยจงึ มีคณุ ภาพต�่ำ ประโยชนท์ เ่ี กดิ จากการตดั แตง่ กง่ิ ล�ำไยคือ 1. ตน้ ลำ� ไยมีโครงสร้างแข็งแรงลดปญั หาการโคน่ ล้มจากพายลุ มแรง 2. การปฏิบตั ิงานท�ำไดส้ ะดวกท่วั ถึงลดระยะเวลาการการปฏบิ ตั ิงาน 3. ท�ำใหต้ น้ ล�ำไยมคี วามพร้อมต่อการออกดอกติดผล 4. ไดผ้ ลผลติ มคี ณุ ภาพดกี ระจายสม�ำ่ เสมอท่วั ต้น 5. ลดการระบาดโรคและแมลงศัตรลู �ำไย 20 คมู่ อื การจดั การ สวนล�ำไย การจัดการความรู้ และถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตลำ� ไยคณุ ภาพดี ต้นทุนต�่ำ
อุปกรณ์ตัดแตง่ กง่ิ รูปที่ 3.1 กรรไกรและเล่อื ยตดั แต่งก่งิ ลำ� ไย หมายเหตุ การตัดแต่งกิ่งมีอุปกรณ์ที่ 1.กรรไกรตดั ก่ิง จำ� เปน็ ตอ้ งใช้ ได้แก่ 2 เล่อื ยตัดแต่งกิ่ง 1. กรรไกรตัดแต่งก่ิงใช้ตัดก่ิง 3. เลื่อยตดั แตง่ ก่ิง ล�ำไยขนาดเล็กขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 4. กรรไกรตดั ก่งิ ไมเ่ กนิ 0.5 นว้ิ กรรไกรตดั แตง่ กงิ่ มหี ลาย แบบเช่น กรรไกรขนาดเลก็ กรรไกรด้าม ยาว (รปู ท่ี 3.1) 2. เลื่อยตัดแต่งก่ิง ใช้ตัด กิ่งล�ำไยขนาดใหญ่เกิน 0.5 นิ้วข้ึนไป มหี ลายลกั ษณะเชน่ เลอื่ ยขนาดเลก็ เลอื่ ย คันธนู และเลอ่ื ยยนต์ (รปู ที่ 3.1) หลักและวธิ ีการปฏิบัติการตดั แตง่ กิง่ ลำ� ไยในแตล่ ะชว่ งอายุ การเจริญและการพัฒนาของ ดอกล�ำไยจะเกิดในส่วนปลายยอด การตัดแต่งก่ิงต้องไม่กระทบต่อ ป ริ ม า ณ ผ ล ผ ลิ ต ที่ ไ ด ้ แ ล ะ ค ว ร อยู่ในปริมาณที่เหมาะสม ล�ำไยที่ ป ลู ก ใ น พ้ื น ที่ เ ข ต ร ้ อ น แ ล ะ เ ข ต ก่ึ ง ร้อนมักจะมีการเจริญและพัฒนา ของใบใหม่หลายชุดท�ำให้ลักษณะ ทรงพุ่มมักแน่นทึบ ดังนั้นการตัด แต่งก่ิงล�ำไยต้องมีการปฏิบัติอย่างต่อเน่ืองทุกปี ลักษณะการจัดทรงพุ่ม ที่ดีควรมีข้อปฏิบัติดังน้ี คือ จัดต�ำแหน่งก่ิงก้านสาขาไว้อย่างมีระเบียบ เลอื กเฉพาะกงิ่ ทม่ี มี มุ กวา้ งไวเ้ ทา่ นนั้ มกี ารวางตำ� แหนง่ ใหก้ ง่ิ กระจายทว่ั ทศิ กงิ่ กา้ น สาขาควรแผก่ ระจายไดร้ บั แสงแดดและลมทกุ ทศิ และการจดั ทรงพมุ่ ไมค่ วรยดื เยอ้ื ควรหยุดทันทเ่ี มอื่ โครงสร้างดีแลว้ การตัดแต่งกิง่ ล�ำไย 21
วิธีการตัดแต่งกิ่งล�ำไยในแต่ละช่วงอายุของล�ำไยจะมีการปฏิบัติ ดังน้ี 1) การตัดแต่งกิ่งล�ำไยต้นเลก็ (ชว่ งอายุ 1 - 2 ปี) ยงั ไม่ต้องการให้ ตดิ ผลเปน็ การจดั โครงสรา้ งตน้ ใหม้ กี งิ่ กระจายทกุ ทศิ ของตน้ เลอื กกงิ่ ใหญท่ ไี่ ม่ ซอ้ นทบั กนั ควรเลอื กกง่ิ ทม่ี ลี กั ษณะมมุ กงิ่ เปน็ มมุ กวา้ ง ตดั แตง่ กง่ิ ทไ่ี มส่ มบรู ณ์ มขี นาดเลก็ ออก การปฏบิ ตั จิ ะทำ� การตดั ยอดกลางออกเมอ่ื ตน้ มอี ายปุ ระมาณ 1 ปี ระดบั ท่ตี ดั จะสงู จากระดับพ้นื ดินประมาณ 80 เซ็นตเิ มตรหลงั ตัดจะมกี าร แตกยอดใหม่บริเวณรอบรอยตัดเป็นจ�ำนวนมากควรพิจารณาตัดออกเหลือ ให้เลือกกิ่งแขนงท่ีสมบูรณ์ 3-4 กิ่ง เพื่อให้ก่ิงแขนงเจริญเป็นก่ิงหลักของต้น (รูปที่ 3.2 ) 2) การตดั แตง่ กง่ิ ล�ำไยรุน่ (อายุ 3 ปขี นึ้ ไป) ทรงต้นล�ำไยสงู อยใู่ นช่วง ประมาณ 2-6 เมตร เปน็ ชว่ งทต่ี น้ ใหผ้ ลผลติ แลว้ การตดั แตง่ กงิ่ ควรทำ� 2 ครงั้ คอื ตดั แตง่ กงิ่ ครงั้ แรกหลงั การเกบ็ เกย่ี วผลผลติ ทนั ทแี ละครง้ั ท่ี 2 เปน็ การตดั สางกงิ่ เลอื กกงิ่ ทส่ี มบรู ณส์ ำ� หรบั ใหผ้ ลผลติ รปู แบบทนี่ ยิ มสำ� หรบั ตดั แตง่ กงิ่ ลำ� ไยในชว่ งน้ี มี 2 รูปแบบ คอื 2.1 การตัดแต่งกงิ่ ปกติ เปน็ การตดั แตง่ ท่ีมีวัตถปุ ระสงคเ์ พอื่ ใหท้ รงพุ่ม โปรง่ และควบคมุ ความสงู ทรงพมุ่ มกี ารแตกของกงิ่ ใหมร่ วดเรว็ การตดั มกั นยิ มตดั ก่ิงแขนงหลักบางส่วนออกเพื่อให้แสงสอ่ งผา่ นเข้าในทรงพมุ่ ได้ (รปู ที่ 3.3) 2.2 การตัดแต่งกิ่งอย่างหนักเพื่อควบคุมขนาดทรงพุ่ม เป็น วิธีการตัดแต่งก่ิงท่ีต้องการควบคุมขนาดทรงพุ่มของล�ำไยให้มีขนาดต้น ท่ีเตี้ยสะดวกต่อการจัดการ แต่ปริมาณผลผลิตล�ำไยมักมีปริมาณ น้อยกว่าการตัดแต่งก่ิงแบบปกติ รูปแบบท่ีนิยมแบ่งได้ 2 รูปแบบ คือ การตัดแต่งหนักลดขนาดท้ังด้านความสูงและความกว้างของทรงพุ่ม (รูปที่ 3.4) และการตัดแต่งหนักเพ่ือลดความสูงแต่ให้ก่ิงมีการเจริญทางด้านข้าง หรือตดั แบบเปิดแกนกลาง (รูปที่ 3.4) 22 คูม่ อื การจัดการ สวนลำ� ไย การจัดการความรู้ และถา่ ยทอดเทคโนโลยีการผลติ ล�ำไยคณุ ภาพดี ตน้ ทุนตำ�่
ก ข รปู ที่ 3.2 ต้นลำ� ไยอายนุ ้อยก่อนตดั (ก) และหลงั มีการตดั แตง่ ก่ิง (ข) ก ข รูปที่ 3.3 ตน้ ลำ� ไยหลงั มกี ารตดั แตง่ ก่งิ แบบปกติ กข รปู ที่ 3.4 โครงสร้างตน้ ล�ำไยที่ตดั แต่งก่ิงอยา่ งหนักแบบลดขนาดความกวา้ งและความสงู (ก และ ข) การตดั แตง่ กง่ิ ลำ� ไย 23
ขอ้ ควรคำ� นึงเก่ยี วกบั การตดั แต่งกงิ่ ล�ำไย 1. ปริมาณกิ่งที่ตัดออก การตัดแต่งกิ่งที่ผิดวิธีอาจมีผลกระทบต่อ ปรมิ าณผลผลิตของต้นลำ� ไยไดก้ ารตัดแต่งกิง่ ล�ำไยออกในปริมาณน้อยเกินไป จะทำ� ใหท้ รงพมุ่ แนน่ ทบึ แตถ่ า้ ตดั แตง่ กง่ิ ออกมากเกนิ ไปจะสง่ ผลกระทบตอ่ ตน้ ลำ� ไย เชน่ ทำ� ให้ปริมาณผลผลิตลดลง ต้นล�ำไยมีการออกดอกช้าหรือเว้นปี ดัง น้ันการท่ีจะมีการตัดแต่งกิ่งเท่าใดน้ันต้องค�ำนึงถึงพื้นท่ีในการให้ออกดอกติด ผลตามความเหมาะสมดว้ ย 2. ฤดกู าลตดั แตง่ กง่ิ ควรทำ� การตดั แตง่ กง่ิ ในชว่ งฤดฝู นเรม่ิ ตงั้ แตเ่ ดอื น มถิ นุ ายนถงึ กนั ยายนเพราะสภาพอากาศเหมาะสม สง่ ผลใหต้ น้ ลำ� ไยมกี ารแตก ใบได้เร็วและเจริญเติบโตได้ดีหลังตัดแต่งกิ่งนอกจากนี้ควรหลีกเล่ียงการตัด แต่งกิ่งในฤดูร้อนและหนาวเพราะต้นล�ำไยจะมีการแตกก่ิงช้าและอาจท�ำให้ เปลอื กของก่งิ แตก เพียงแตต่ ้นล�ำไยทมี่ ีทรงพุ่มแน่นทบึ ควรตดั สางกง่ิ ออกบา้ ง 3. วิธีการตัดแต่งกิ่งอย่างหนัก ถ้าต้องการให้มีการออกดอกและ ผลผลิตเร็วจะตอ้ งมกี ารใชส้ ารโพแทสเซียมคลอเรตกระต้นุ การออกดอก กข รปู ที่ 3.5 โครงสรา้ งต้นลำ� ไยทตี่ ดั แตง่ กง่ิ อยา่ งหนักแบบเปิดแกนกลางใหม้ ีกิง่ ขยายออกด้านขา้ ง (ก และ ข) กข รปู ที่ 3.5 โครงสร้างต้นล�ำไยท่ตี ัดแตง่ กิ่งอยา่ งหนักแบบเปิดแกนกลางให้มกี ิง่ ขยายออกด้านข้าง (ก และ ข) 24 คู่มอื การจัดการ สวนล�ำไย การจดั การความรู้ และถา่ ยทอดเทคโนโลยีการผลิตล�ำไยคุณภาพดี ตน้ ทุนต�ำ่
แนวทางการพัฒนาขนาดและคณุ ภาพผลลำ� ไยโดยการตัดชอ่ ผล ปญั หาท่พี บอย่เู สมอคอื ผลผลิตล�ำไยด้อยคณุ ภาพ มผี ลขนาดเลก็ ทั้ง ๆ ทต่ี ้นลำ� ไยสมบรู ณ์ และดูแลรกั ษา เช่น ให้น้�ำ ใหป้ ยุ๋ ป้องกนั โรค และแมลงอย่างดี สาเหตหุ ลกั เนอ่ื งมาจากตน้ ลำ� ไยเหลา่ นนั้ ตดิ ผลดก จงึ ทำ� ใหเ้ กดิ การแกง่ แยง่ อาหาร ท่ีใบสรา้ ง และไมเ่ พียงพอท่ีจะน�ำไปสร้างผลลำ� ไยใหม้ คี ณุ ภาพได้ แนวทางปฏิบตั ิ ทไี่ ดผ้ ลดแี ละไดท้ ดสอบในหลายพ้นื ทแ่ี ลว้ มี 2 วธิ ี คือ 1. การตัดแต่งก่ิง รูปทรงของการตัดแต่งก่ิงมีผลต่อคุณภาพของ ผลผลติ จากการทดลองตดั แตง่ กงิ่ ลำ� ไย 4 ทรง คอื ทรงฝาชหี งาย ทรงเปดิ กลาง พมุ่ ทรงสเ่ี หลยี่ ม และทรงครงึ่ วงกลม พบวา่ การตดั แตง่ ทรงฝาชหี งายใหผ้ ลผลติ ท่ีมีคุณภาพดีกว่าการตัดแต่งทรงอ่ืน ๆ ทั้งน้ีอาจเป็นเพราะมีจ�ำนวนก่ิงต่อต้น นอ้ ย และผลผลติ ส่วนหนึ่งของทรงฝาชีหงายเกิดจากก่ิงกระโดงท่ีสมบรู ณแ์ ข็ง แรง เม่ือผลแกท่ ำ� ให้ช่อผลมักโน้มหลบในทรงพุม่ ท�ำให้ผลมีขนาดใหญ่ และมี สผี วิ เหลอื งสวย 2. ปลดิ ผล และตดั ชอ่ ผล ในกรณที ต่ี น้ ลำ� ไยตดิ ผลดกมากกวา่ 80 ผล ต่อช่อ ท�ำให้อาหารไม่พอเพียงที่จะส่งไปเลี้ยงผล ท�ำให้ผลผลิตด้อยคุณภาพ แนวทางการจัดการที่ได้ผลดคี อื การตดั ช่อผลให้เหลอื ไมเ่ กิน 60 ผลต่อชอ่ ควร ตัดเมื่อผลมีขนาดเท่ากับ0.5 เซนติเมตรหรือเท่า เมล็ดถ่ัวเขียว โดยใช้กรรไกร ตัดตรงกลางช่อผล ในกรณีท่ีต้นสูงควรใช้กรรไกรด้ามยาวตัด ส�ำหรับแรงงาน ตัดช่อผลจะเสียค่าใช้จ่ายประมาณ 40 – 200 บาทต่อต้นขึ้นอยู่กับขนาดต้น การตัดช่อผลท�ำให้ผลล�ำไยมีขนาดเพ่ิมขึ้นสามารถจ�ำหน่ายในราคาสูง ท�ำให้ มีรายไดต้ ่อต้นมากกวา่ ตน้ ที่ติดผลดก (ตารางที่ 3.1) การตัดแต่งก่งิ ลำ� ไย 25
ภาพแสดงวิธีการตดั ช่อผลล�ำไย กอ นตดั ชอ ผลชอ บรเ� วณทตี่ ัด หลังตัดชอ ผลผล กอ่ นตัดช่อผลช่อ หลังตดั ชอ่ ผลผล ตารางที่ 3.1 น้ำ� หนกั ผล เกรดผลและรายได้ตอ่ ตน้ ของลำ� ไยท่ีไว้จำ� นวนผลตอ่ ชอ่ ตา่ งกนั การไวผลตอ ชอ ปร�มาณผลผลิต เกรดผล (รอ ยละ) รายไดต อ ตน (กโิ ลกรมั ตอตน) ใหญ เลก็ (บาท) ไมป ลดิ ผล 61.4 0.0 100.0 350 (ไวผ ล 99 ผล) 36.6 72.0 28.0 945 ไวผ ล 30 ผลตอ ชอ 62.8 82.7 17.3 1,803 ไวผ ล 60 ผลตอ ชอ ที่มา : พาว�นและคณะ(2548) 26 คูม่ ือ การจัดการ สวนล�ำไย การจดั การความรู้ และถา่ ยทอดเทคโนโลยกี ารผลิตลำ� ไยคุณภาพดี ต้นทนุ ต�่ำ
04กลำ�าไรยผนลอิตกฤดู
การผลติ ลำ� ไยนอกฤดู ปัจจุบันปัญหาเรื่องการออกดอกไม่สม�่ำเสมอของล�ำไยสามารถแก้ไขได้ โดยการใช้สารโพแทสเซียมคลอเรต (Potassium Chlorate) กระตุน้ หรอื ชักน�ำ การออกดอกของล�ำไย โดยเฉพาะในแหล่งผลิตล�ำไยที่จังหวัดล�ำพูน เชียงใหม่ ล�ำปาง เชียงราย พะเยาและจันทบุรี ซ่ึงกรรมวิธีการใช้สารโดยการราดทางดิน (ละลายน้�ำแล้วราดภายในทรงพุ่ม หรือหว่านสารภายในทรงพุ่มแล้วให้น้�ำตาม) หรือวิธีการพ่นทางใบ วิธีใดวิธีหนึ่งก็สามารกระตุ้นให้ล�ำไยออกดอกได้ ภายใน ล21ะ-ล3า5ยวนนั �้ำไซดง่ึ ้แลลกั ะษลณะละขายอใงนสสาราโรพแเชท่นสเซกยีลมเี ซคอลรออเลรตแสลตู ะรทแาองลเคกมอคี ฮอื อรK์CลlOักษ3สณาะมเาปร็นถ ผลึกใสไม่มีสี อาจเปน็ ผงสขี าวหรอื เม็ดสีขาว คุณสมบตั ิเปน็ ของแข็ง และเปน็ ตวั เตมิ ออกซเิ จนทรี่ นุ แรงมาก สามารถตดิ ไฟและระเบดิ ไดเ้ มอ่ื นำ� ไปบดรวมกบั สารอ นินทรยี ์ชนดิ ตา่ งๆ เชน่ ก�ำมะถัน ฟอสฟอรสั ซลั ไฟด์ ปยุ๋ ยเู รีย นำ�้ ตาลทราย เกลือ แอมโมเนียเกอื บทุกชนิดและสารตัวเติมออกซเิ จนชนิดอน่ื ๆ ควรหลกี เลี่ยงการใช้ สารผสม ดังกล่าวขา้ งตน้ ข้อสำ� คัญของการใช้สารผลิตล�ำไยนอกฤดู 1.ตน้ ล�ำไยต้องมีความสมบรู ณ์ เกษตรกรผู้ท่ีจะท�ำการผลิตล�ำไยนอกฤดูต้องบ�ำรุงต้นล�ำไยให้มีความ สมบูรณห์ ลงั จากการเกบ็ เกี่ยว ตอ้ งท�ำการตัดแต่งกง่ิ และใส่ป๋ยุ บ�ำรุงตน้ ล�ำไยกอ่ น การใหส้ ารโพแทสเซียมคลอเรต โดยให้ต้นลำ� ไยมีการแตกช่อใบไมน่ อ้ ยกวา่ 2 ถึง 3 ครงั้ 2.ต้องมแี หลง่ น้ำ� มีน�ำ้ สำ� หรบั ให้ต้นลำ� ไยในช่วงหลังจากมกี ารใหส้ ารโพแทสเซียมคลอเรต โดยเฉพาะในช่วงดอกเร่ิมบานและติดผล ถ้าขาดน้�ำจะท�ำให้ดอกร่วงและผลร่วง ทำ� ให้การตดิ ผลนอ้ ย ถา้ ในช่วงแล้งหรอื ฝนทิ้งชว่ งต้องมกี ารให้น�้ำ และถา้ มีการใส่ ปุ๋ยวิทยาศาสตรก์ ็ตอ้ งให้น�้ำตาม 28 คมู่ อื การจดั การ สวนล�ำไย การจัดการความรู้ และถา่ ยทอดเทคโนโลยีการผลิตลำ� ไยคุณภาพดี ต้นทุนตำ�่
3.ต้นลำ� ไยจะตอ้ งอยู่ในสภาพใบแก่ อายขุ องใบลำ� ไยตอ้ งอยใู่ นระยะใบแกจ่ ดั คอื หลงั จากแตกใบออ่ นประมาณ 45 ถงึ 60 วัน จะเป็นระยะท่ไี ด้ผลดที ่ีสุด ถา้ เป็นระยะใบอ่อน จะท�ำใหอ้ อกดอก นอ้ ยหรอื ถ้าพ่นทางใบจะทำ� ให้ใบอ่อนไหม้และร่วง 4.ก่อนการใหส้ ารจะตอ้ งงดการใหป้ ยุ๋ ก่อนการให้สารโพแทสเซียมคลอเรตไม่ว่าจะพ่นทางใบหรือให้ทางดิน จะตอ้ งงดการใส่ปุ๋ยคอก ปยุ๋ หมกั หรอื ปุย๋ วิทยาศาสตร์ในชว่ งก่อนการใช้สาร ควร ใสใ่ นช่วงที่ต้นลำ� ไยมีการแทง่ ช่อดอกแล้ว 5.สารทใ่ี ช้จะต้องมีความบรสิ ทุ ธิส์ งู จะตอ้ งตรวจสอบสารเพราะถ้าเป็นสารผสมจะใชใ้ นอตั ราท่แี นะน�ำไม่ได้ หรือถ้าเป็นการพ่นทางใบจะท�ำให้เตรียมสารล�ำบากเพราะจะท�ำให้ไม่ทราบว่าใช้ สารอะไรผสม หรือผสมในอตั ราเทา่ ไหร่ และจะมผี ลท�ำให้หวั พ่นอดุ ตนั ดว้ ย 6.วิธีการใหส้ าร การใหส้ ารทางดนิ และการพน่ ทางใบใชไ้ ดก้ บั ลำ� ไยทกุ พนั ธไ์ุ ดแ้ กพ่ นั ธด์ุ อ พนั ธแ์ุ หว้ พนั ธ์ใุ บดำ� พันธพุ์ วงทอง พนั ธุ์เบย้ี วเขียว พนั ธุ์สีชมพแู ละพันธ์ุพื้นเมือง 6.1 การใหท้ างดนิ อตั ราทแ่ี นะน�ำอยู่ประมาณ 5-10 กรมั ต่อตารางเมตรของทรงพมุ่ หรอื อาจใช้อัตราตามตารางที่ 4.1 เพื่อความง่ายในการเตรียมสารและการค�ำนวณ ปรมิ าณสารท่ตี อ้ งใช้กบั ต้นล�ำไย การผลติ ล�ำไยนอกฤดู 29
ตารางท่ี 4.1 ความกวา้ งของทรงพมุ่ ตา่ งและอตั ราการใชส้ ารโพแทสเซยี มคลอเรต ทางดินกบั ตน้ ลำ� ไย (สารโพแทสเซยี มคลอเรตท่ีไม่มกี ารผสมสารอ่นื ) ความกวางทรงพุม อัตราของสารโพแทสเซ�ยมคลอเรตตอตน 4 เมตร 100 ถงึ 200 กรมั (1 ขดี ถงึ 2 ขดี ) 5 เมตร 150 ถงึ 250 กรมั (1.5 ขดี ถงึ 2.5 ขดี ) 6 เมตร 200 ถงึ 350 กรมั (2 ขดี ถงึ 3.5 ขดี ) 7 เมตร 250 ถงึ 450 กรมั (2.5 ขดี ถงึ 4.5 ขดี ) 8 เมตร 350 ถงึ 650 กรมั (3.5 ขดี ถงึ 6.5 ขดี ) 9 เมตร 400 ถงึ 850 กรมั (4 ขดี ถงึ 8.5 ขดี ) 500 ถงึ 1,000 กรมั (5 ขดี ถงึ 1 กโิ ลกรมั ) 10 เมตรหรอื มากกวา การราดสารในชว่ งใกลเ้ คยี งกบั ฤดกู าลปกตเิ ชน่ ในเดอื นตลุ าคม ถงึ กมุ ภาพนั ธ์ ควร ใชใ้ นอตั ราตำ�่ และชว่ งนอกฤดูควรเพ่ิมใชใ้ นอัตราสงู วิธีการให้สาร โดยการหว่านสารภายในทรงพุ่มแล้วให้น้�ำตามหรืออาจ ท�ำเป็นร่องรอบทรงพุ่มแล้วให้สารในร่องแล้วให้น้�ำตามหรือใช้สารละลายน�้ำแล้ว ราดในทรงพมุ่ กไ็ ด้ และจะตอ้ งมีการใสถงุ มือและร้องเทา้ บตู๊ ในการราดสาร 6.2 การปฏบิ ัตใิ นการพน่ สารโพแทสเซยี มคลอเรตทางใบ 6.2.1. ความเข้มข้นของสารที่ใช้คือ 1 กรัมต่อน้�ำ 1 ลิตร หรือ 200 กรัม (2 ขีด) ต่อน้�ำ 200 ลิตร พ่น 2 ครั้งห่างกัน 7 วัน ต้องเป็นสารโพแทสเซียมคลอเรตที่ไม่มีการผสมสารอื่นและไม่ต้องมีการ ผสมสารใดในการพน่ 6.2.2. ควรพ่นในตอนเช้าหรือชว่ งอากาศไม่ร้อน ถ้าพน่ ชว่ งอาการรอ้ น อาจท�ำให้เกิดอาการใบไหม้และถ้ามีฝนตก 1-2 วันหลังจากพ่นแล้วควรพ่นสาร ใหมอ่ ีกคร้งั 30 คูม่ ือ การจัดการ สวนล�ำไย การจดั การความรู้ และถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารผลิตลำ� ไยคุณภาพดี ตน้ ทุนตำ�่
6.2.3. ควรพน่ ในชว่ งทลี่ ำ� ไยมใี บแกเ่ ทา่ นน้ั เพราะหากพน่ ในใบออ่ นลำ� ไย อาจออกดอกไมด่ ี คอื ชอ่ ทแ่ี ตกออกมาจะมกี ารพฒั นาใบกอ่ นแลว้ แตกดอกตามอาจ ท�ำให้ช่อดอกสั้นและการพ่นควรพ่นให้โดนส่วนของปลายยอดล�ำไยให้มากท่ีสุด เพราะจะเป็นจุดท่มี ีการออกดอก 6.2.4. การพ่นสารควรมีการสวมชุดป้องกันให้มิดชิด และหลังจาก พ่นสารแลว้ ควรมกี ารท�ำความสะอาดชดุ สวมใส่และทำ� ความสะอาดร่างกาย 7.ชว่ งฤดูกาลให้สาร ในการใช้สารทางดิน หากเป็นช่วงใกล้กับล�ำไยออกดอกในฤดู คือมีการราดสารในเดือน ตุลาคมถึงเดือน กุมภาพันธ์ สามารถใช้สารใน อัตราต�่ำสุดได้ เพราะต้นล�ำไยจะตอบสนองต่อสารได้ดี แต่ช่วงฤดูฝนพบว่า ล�ำไยมีเปอร์เซ็นต์การออกดอกค่อนข้างต�่ำ ในช่วงน้ีมีฝนตกมากอาจท�ำให้ เกิดการชะล้างสาร และการล�ำเลียงสารจากดินเกิดข้ึนน้อยเพราะเป็นช่วง ที่มีอากาศมืดครึ้ม นอกจากน้ีการให้ทางดินไม่ควรที่จะผสมน�้ำแล้วราด ในช่วงฤดูฝนเพราะในดินมีความช้ืนสูงอยู่แล้ว จะเกิดอัตราการชะล้างสูง ควรหว่านสารแล้วให้น้�ำตามก็พอ และในช่วงฤดูฝนก็ต้องใช้สารในปริมาณที่ เพ่ิมขึ้นหรือใช้ในอัตราสูงท่ีสุดของค�ำแนะน�ำ การออกดอกของล�ำไยในช่วงท่ี มีฝนตกตดิ กันหลายๆ วนั พบวา่ ตน้ ลำ� ไยมกี ารผลชิ อ่ ดอกชา้ กว่าการใหส้ ารในช่วง เวลอื่นโดยออกดอกทางด้านทิศตะวันออกก่อน เน่ืองจากช่วงเช้าได้รับแสงแดด ซงึ่ เปน็ ชว่ งทม่ี ฝี นตกบอ่ ยและการทำ� ลำ� ไยออกดอกในชว่ งฤดฝู นหลงั จากลำ� ไยแทง ช่อดอกควรมีการจดั การเร่ืองแมลงศัตรลู �ำไยให้ดี การผลิตล�ำไยนอกฤดู 31
การพัฒนาของตนลำไยหลังมีการใหสารกระตุนการออกดอก ผลเทาหัวไมข�ด ใหสาร ดอกเร�่มบาน เก็บเกี่ยวผลผลิต 18-35 วนั 39-65 วัน 49-86 วัน 66-106 วัน 146-196 วนั 186-256 วนั เร�่มมีการ เมล็ดเร�่มเปลี่ยน ผลิชอดอก เปนสีดำ เร�่มติดผล รปู ที่ 4.1 รปู แบบการพฒั นาของการออกดอกและตดิ ผลของตน้ ลำ� ไยหลงั การใหส้ ารโพแทสเซยี มคลอเรต การดูแลตน้ ล�ำไยหลังจากมีการให้สาร 1. ต้องมีการให้น้�ำอย่างสม่�ำเสมอ อย่าให้ต้นล�ำไยขาดน�้ำโดยเฉพาะในช่วงดอก เริ่มบาน ชว่ งตดิ ผลและชว่ งพฒั นาการของผล 2. ต้องดูแลเรื่องแมลงศตั รูล�ำไยในช่วงทลี่ ำ� ไยออกดอก 3. ควรมกี ารจดั การธาตอุ าหาร หลงั จากตน้ ลำ� ไยมกี ารออกดอก เชน่ การใสป่ ยุ๋ คอก ปยุ๋ หมกั และปยุ๋ วทิ ยาศาสตร์ เพอ่ื บำ� รุงตน้ ล�ำไย 4. ในช่วงหลังการเก็บเก่ียวต้องมีการตัดแต่งก่ิงและใส่ปุ๋ยเพ่ือฟื้นฟูสภาพของต้น ล�ำไย เพอื่ เร่งการแตกใบออ่ น ผลกระทบจากการใชส้ ารโพแทสเซียมคลอเรต หลังจากมีการใช้สารโพแทสเซียมคลอเรตกระตุ้นการออกดอกของล�ำไย สามารถสรปุ ผลของการใชส้ าร ทงั้ ทางดา้ นผลกระทบตอ่ ตน้ ลำ� ไย ผลกระทบตอ่ สภาพ แวดล้อม รวมทั้งผลกระทบทางดา้ นราคาซง่ึ จะไมข่ อกลา่ วในทน่ี ้ี 1. การออกดอกและตดิ ผลมากเกนิ ไป เนอื่ งจากเกษตรกรปลอ่ ยใหต้ น้ ลำ� ไย มีจ�ำนวนก่ิงมากท�ำให้ต้นล�ำไยมีการออกดอกมากท�ำให้ผลผลิตไม่มีคุณภาพ การใช้ 32 คู่มอื การจดั การ สวนล�ำไย การจดั การความรู้ และถา่ ยทอดเทคโนโลยีการผลติ ล�ำไยคณุ ภาพดี ต้นทนุ ต�่ำ
สารคร้ังแรกกับต้นล�ำไยที่ยังไม่เคยให้สารมาก่อน พบว่าต้นล�ำไยมีการออกดอก และติดผลมากเกินไปท�ำให้ผลผลิตมีขนาดเล็กไม่ได้คุณภาพ แนวทางแก้ไขโดย การบ�ำรุงต้นให้สมบูรณ์ จัดการดินและปุ๋ยอย่างเหมาะสมหรือการตัดแต่งช่อผล หรือการตดั แตง่ กิ่งใหเ้ หลอื เฉพาะก่งิ ที่สมบรู ณก์ ่อนการให้สาร (ภาพที่ 4.8) 2. การออกดอกซำ�้ ซอ้ นหลังการให้สาร เกดิ จากเกษตรกรมกี ารให้สาร มาก โดยเฉพาะการใหส้ ารทางดนิ สว่ นมากจะเกดิ กบั ตน้ ลำ� ไยหรอื กง่ิ ลำ� ไยทม่ี กี าร ออกดอกและตดิ ผลนอ้ ยหรอื ไมต่ ดิ ผล ตน้ ลำ� ไยจะมกี ารแทงชอ่ ดอกซำ�้ มผี ลทำ� ใหม้ ี การตดิ ผลซำ้� ซอ้ นทำ� ใหย้ ากในการปฏบิ ตั ดิ แู ลรกั ษา ทำ� ใหช้ อ่ ดอกคอ่ นขา้ งสนั้ และ ไดผ้ ลผลิตไม่มคี ณุ ภาพ (ภาพท่ี 4.9) 3. การให้สารแล้วต้นล�ำไยแทงช่อดอกช้า เกษตรกรคงรงดการใส่ปุ๋ย คอก ป๋ยุ หมักหรือปุย๋ วทิ ยาศาสตร์ในช่วงกอ่ นการใช้สาร ควรใสใ่ นช่วงทต่ี น้ ล�ำไย มีการแทงช่อดอกแล้วและการให้สารในช่วงฤดูฝนต้นล�ำไยมีการออกดอกน้อย จากการทดลองพบว่า การให้สารกับต้นล�ำไยในช่วงฤดูหนาวและฤดูร้อนมีการ ออกดอกได้ดีกว่าช่วงฤดูฝน ซ่ึงล�ำไยมีการออกดอกค่อนข้างช้าเน่ืองจากเป็นช่วง ท่ีมฝี นตกบ่อยมากท�ำใหเ้ กดิ การชะล้างสารมาก และในฤดฝู นอากาศจะมืดครม้ึ มี แสงแดดนอ้ ย ทำ� ให้ต้นล�ำไยออกดอกช้าหรอื ออกดอกน้อย และการผลติ ล�ำไยใน ชว่ งฤดฝู นมปี ญั หาเรอื่ งโรคและแมลงระบาดกฉ็ ดี สารปอ้ งกนั กำ� จดั ลำ� บากเนอื่ งจาก ฝนตกบ่อยท�ำให้ชะลา้ งสารเคมที พี่ น่ 4. การตดิ ผลตำ่� มกั จะเกดิ กบั การใหส้ ารในชว่ งกอ่ นฤดกู าลและดอกลำ� ไย ไปบานในช่วงฤดูหนาว ซึ่งอาจเกิดจากในช่วงอากาศหนาว การงอกของละออง เกสรต�่ำและแมลงช่วยผสมเกสรอาจจะออกหาอาหารน้อยในช่วงอากาศเย็น 5. การใหส้ ารซำ้� คอื ใหส้ ารซำ�้ ตน้ เดมิ ในปกี ารผลติ โดยไมใ่ หล้ ำ� ไยแตกชอ่ ใบและให้ตน้ ลำ� ไยแตกช่อใบ 1 ชดุ พบว่าต้นลำ� ไยสามารถออกดอกได้ แต่ถ้าต้นที่ ไมค่ อ่ ยสมบรู ณจ์ ะมผี ลทำ� ใหช้ อ่ ดอกสนั้ และชอ่ ดอกไมค่ อ่ ยสมบรู ณ์ หรอื การใหส้ าร ในชว่ งฤดฝู น ตน้ ลำ� ไยกำ� ลงั แทงชอ่ ใบถา้ มกี ารใหส้ ารตน้ ลำ� ไยจะมกี ารแทงใบออ่ น ทนั ที บางครง้ั ออกดอกตามหรอื บางครง้ั เปน็ ชอ่ ดอกนอ้ ยมากทำ� ใหเ้ กษตรกรมกี าร ให้สารซ้�ำอกี อาจจะท�ำใหต้ น้ ล�ำไยโทรมได้ เพราะรากล�ำไยถูกท�ำลายมาก การผลติ ล�ำไยนอกฤดู 33
6. การใหส้ ารอาจจะสง่ ผลต่อต้นล�ำไยและสภาพแวดล้อม การใหส้ ารทางดินมี ผลทำ� ใหร้ ากถกู ทำ� ลายในจดุ ทใ่ี หส้ ารเพราะสารมคี วามเขม้ ขน้ สงู ทำ� ใหร้ ากทร่ี บั สาร ตาย และส่งผลต่อจุลินทรีย์ในดินในจุดท่ีให้สารบางส่วนตาย โดยการทดลองใน กระถางแล้วตรวจสอบรากหลังให้สารโพแทสเซียมคลอเรตและโซเดียมไฮโปคลอ ไรทท์ างดนิ พบวา่ การใหส้ ารทงั้ 2 ชนดิ มผี ลทำ� ใหป้ ลายรากถกู ทำ� ลายประมาณ 10 ถึง 15 เปอรเ์ ซ็นต์ สำ� หรับผลกระทบตอ่ สภาพแวดล้อมนน้ั มกี ารศึกษาผลตกค้าง โดย สมชายและคณะ, (2544) พบว่า สารโซเดียมคลอเรตมกี ารสลายตวั ในดนิ ช้า กวา่ สารโพแทเซียมคลอเรต และ สารประกอบคลอเรตมีการสลายตัวได้เรว็ ในใน ดนิ ทม่ี อี นิ ทรยี ว์ ตั ถุ ฟอสฟอรสั แคลเซยี มและแมกนเี ซยี มสงู หรอื ดนิ ทมี่ คี วามอดุ ม สมบรู ณ์สงู สลายตวั ชา้ ในดนิ ทรายและดินทมี่ ีความอดุ มสมบูรณต์ �่ำ และหลังจาก มีการใช้สารไปแล้วสามารถเร่งการสลายตัวของโพแทสเซียมคลอเรตได้โดยการ จัดการอินทรียว์ ตั ถุ การจดั การนำ้� เป็นต้น ความปลอดภยั ในการใชส้ ารกลมุ่ คลอเรต (กรมวิชาการเกษตร 2542) 1.การเก็บรักษา 1.1.ภาชนะบรรจตุ ้องมิดชิด 1 . 2 . เ ก็ บ ไว ้ ใ น ท่ี เ ย็ น แ ล ะ แ ห ้ ง อ า ก า ศ ถ ่ า ย เ ท ไ ด ้ ส ะ ด ว ก ให้ห่างจากอาหาร เคร่ืองด่ืม อาหารสัตว์และเก็บ ใหพ้ ้นจากมือเดก็ 1 . 3 . ต ้ อ ง ไ ม ่ มี ก า ร ผ ส ม ส า ร ใ ด ๆ ท้ั ง สิ้ น เ พ ร า ะ ถ ้ า ไ ด ้ รั บ ความร้อนจะท�ำใหล้ กุ ไหม้และระเบดิ ได้ 2.ข้อปฏบิ ัตใิ นการใช้กลมุ่ คลอเรต 2.1.การใช้สารต้องมกี ารสวมชดุ ปอ้ งกนั ท่ที ำ� ดว้ ยใยสงั เคราะห์ 2.2.สวมรองเท้าบตู๊ ที่ทำ� ดว้ ยใยสังเคราะห์ 2.3.สวนแวน่ ตาชนดิ ทกี่ ระชบั ลกู ตา 2.4.สวมถงุ มือยางและสวมหมวก 34 คูม่ อื การจัดการ สวนลำ� ไย การจดั การความรู้ และถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารผลติ ลำ� ไยคณุ ภาพดี ตน้ ทุนต�่ำ
2.5.ห้ามสูบบุหร่ีขณะที่ รปู ที่ 4.2 ระยะใบแกพ่ ร้อมทจี่ ะให้สาร ราดสาร และตอ้ งระวงั อยา่ ใหส้ ารสมั ผสั กบั ผิวหนังหรืออวยั วะต่างๆโดยตรง 2.6.หลงั ราดสารตอ้ งทำ� ความ สะอาดรา่ งกายด้วยนำ้� 2.7.ระวังสัตว์เลี้ยงอย่าให้มา กินหญา้ ในบริเวณทใ่ี หส้ าร 3.ขอ้ ปฏบิ ัตเิ ม่อื ไดร้ บั สารพิษในกลมุ่ รูปท่ี 4.3 ระยะแตกใบอ่อนไมพ่ ร้อมที่จะใหส้ าร คลอเรต รูปที่ 4.4 การใหส้ ารโพแทสเซยี มคลอเรตทางดนิ 3.1.หากมีการสัมผัสผิวหนัง หรอื เขา้ ตา ใหล้ า้ งดว้ ยนำ�้ สะอาดภายใน 15 นาที 3.2.หากสูดหายใจเอาก๊าซ พิษที่เกิดข้ึนจากากรสลายตัวของสาร น้เี ข้าไป ใหย้ ้ายผ้ปู ่วยไปในที่ทม่ี ีอากาศ ถา่ ยเทไดส้ ะดวก ใหอ้ อกซเิ จนและนำ� สง่ แพทยท์ นั ที 3.3.หากกลืนสารเข้าไปรีบ ทำ� ให้อาเจียนทันทีและดืม่ นำ�้ มากๆ ถา้ มอี าการรนุ แรงควรใหอ้ อกซเิ จนและนำ� สง่ แพทย์ 3.4.หากผู้ป่วยหมดสติ ให้น�ำ ส่งแพทย์ ห้ามปฐมพยาบาลโดยวิธผี าย ปลอดแบบปากตอ่ ปาก รูปที่4.5 การพน่ สารโพแทสเซียมคลอเรตทางใบ การผลติ ลำ� ไยนอกฤดู 35
ภาพที่ 4.6 อาการใบไหมเ้ น่ืองจากพ่นสารมากเกินไป รูปที่ 4.9 การออกดอกและติดผลหลายรุ่น หลงั จากการให้สารโพแทสเซยี มคลอเรต การใช้สารเคมีหรือสาร ก ร ะ ตุ ้ น ก า ร อ อ ก ด อ ก ข อ ง ล� ำ ไ ย ผู ้ ใ ช ้ จ ะ ต ้ อ ง มี ค ว า ม ร ะ วั ด ร ะ วั ง แ ล ะ ใ ห ้ คิ ด เ ส ม อ ว ่ า ส า ร เ ค มี ที่ ใ ช ้ มี อั น ต ร า ย จ ะ ต ้ อ ง มี ก า ร ป ฏิ บั ติ ให้ถูกต้องและท�ำอย่างไรกับการใช้ ภาพท่ี 4.7 ตน้ ลำ� ไยหลงั การให้สารโพแทสเซยี มคลอเรต สารเคมีให้มีความปลอดภัยสูงที่สุด โดยต้องมีการป้องกันและไม่สัมผัส สารโดยตรง “การผลิตล�ำไยใน ป ั จ จุ บั น ผู ้ ผ ลิ ต จ ะ ต ้ อ ง ค� ำ นึ ง ถึ ง การลดต้นทุนการผลิตซ่ึงสามารถ ท�ำได้โดยการลดการใช้สารเคมี หรือใช้ให้เหมาะสม และผลผลิต ต้องมีคุณภาพ” และการผลิตล�ำไย ในปจั จบุ นั ผผู้ ลติ จะตอ้ งคำ� นงึ ถงึ ความ รปู ท่ี 4.8 ตน้ ล�ำไยทใ่ี หส้ ารมีการออกดอกและตดิ ผลมาก ปลอดภัยต่อผู้ผลิตเอง ต่อผู้บริโภค ต่อต้นล�ำไยและต่อสภาพแวดล้อม จะทำ� ให้การผลิตลำ� ไยมีความยงั่ ยืน 36 คมู่ อื การจัดการ สวนลำ� ไย การจัดการความรู้ และถา่ ยทอดเทคโนโลยีการผลิตล�ำไยคุณภาพดี ต้นทนุ ต่�ำ
เอกสารอา้ งองิ
เอกสารอ้างอิง กรมวิชาการเกษตร. 2542. ค�ำแนะน�ำ การใช้สารกลุ่มคลอเรตเร่งการออกดอกล�ำไย อยา่ งปลอดภยั . พิมพ์ท่ี โรงพิมพ์ชมุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จ�ำกดั . 22 หน้า. เกศณิ ี ระมงิ ค์วงศ์. 2528. การจดั จ�ำแนกไม้ผล. ภาควชิ าพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ เชยี งใหม.่ 289 หน้า. ชิติ ศรตี นทิพย์ สนั ติ ชา่ งเจรจาและยทุ ธนา เขาสเุ มร.ุ 2542. ผลของสารโพแทสเซยี ม คลอเรต (KClO3) ต่อการออกดอกนอกฤดูของล�ำไยพันธุ์ดอ. รายงานการ สัมมนาฮอร์โมนพืชเพื่อการผลิตไม้ผลนอกฤดู. จัดโดยส�ำนักงานคณะ กรรมการวิจัยแห่งชาติและสมาคมวิทยาศาสตร์การเกษตรแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ.์ วันที่ 9-11 มิถนุ ายน 2542 ณ โรงแรมเคพีแกรนด.์ จนั ทบรุ .ี ชิติ ศรตี นทพิ ย์ ยทุ ธนา เขาสเุ มรุ สันติ ช่างเจรจาและรงุ่ นภา โพธร์ิ กั ษา. 2545. ผลของ โพแทสเซียมคลอเรต โซเดยี มไฮโปคลอไรท์ และโพแทสเซยี มไนเตรทตอ่ การ ออกดอกและการสังเคราะห์แสงของล�ำไย. ว. วิทยาศาสตร์เกษตร 33 4-5 (พเิ ศษ): 97-101. ชติ ิ ศรตี นทิพย.์ 2556. การผลติ ล�ำไยนอกฤดู. พิมพค์ ร้ังท่ี 2. ศลิ ปะการพิมพ์. ล�ำปาง 124 น. พาวิน มะโนชัย ยุทธนา เขาสุเมรุ ชิติ ศรีตนทิพย์และสันติ ช่างเจรจา. 2547. เทคโนโลยีการผลิตล�ำไย. หจก. ส�ำนักพิมพ์ฟิสิกส์เซ็นเตอร์. กรุงเทพฯ. 128 หนา้ . พาวิน มะโนชัย วรินทร์ สุทนต์และ ยุทธนา เขาสุเมรุ. 2548 คู่มือการจัดการสวน ลำ� ไยใหไ้ ดค้ ณุ ภาพ. โรงพมิ พย์ ูเนีย่ น 56 หน้า วิจิตร วังใน. 2526. ชนิดและพันธุ์ไม้ผลเมืองไทย. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์. 101 หน้า. ยุทธนา เขาสุเมรุ ชิติ ศรีตนทิพย์ และสันติ ช่างเจรจา. 2544. ดินและธาตุอาหาร ลำ� ไย. หนา้ 261-276. ใน ดิเรก ทองอร่าม. เอกสารประกอบการฝกึ อบรม หลักสูตร การจัดการดิน น�้ำและปุ๋ยเพ่ือการท�ำสวนเชิงธุรกิจ.โดยการ สนับสนุนของส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). พิมพ์คร้ังท่ี 1. กรุงทพฯ. 38 คมู่ ือ การจัดการ สวนล�ำไย การจัดการความรู้ และถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารผลติ ล�ำไยคุณภาพดี ตน้ ทนุ ต�ำ่
ยุทธนา เขาสุเมรุ ชิติ ศรีตนทิพย์และสันติ ช่างเจรจา. 2546. การกระจายของน�้ำ หนักแห้งและธาตุอาหารหลักในส่วนต่างๆ ของล�ำไยที่ปลูกในไลซิมิเตอร์. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 34 (1-3 (พเิ ศษ)): 149-151. ยทุ ธนา เขาสเุ มรุ ชิติ ศรตี นทพิ ย์ และ สันติ ชา่ งเจรจา. 2548. ผลของปยุ๋ ไนโตรเจน ต่อการเจริญเติบโตการออกดอกและคุณภาพผลผลิตของล�ำไย. วารสาร วทิ ยาศาสตร์เกษตร 36 5-6 (พิเศษ): 338-341. สันติ ช่างเจรจา ยุทธนา เขาสเุ มรุ และ ชติ ิ ศรีตนทิพย.์ 2548. ผลของไนโตรเจนต่อ การเติบโต และพัฒนาการของผลล�ำไยนอกฤดู. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 36 5-6 (พิเศษ): 409-412. สนั ติ ช่างเจรจา ยทุ ธนา เขาสุเมรุ และ ชิติ ศรตี นทิพย.์ 2548. ศกึ ษาการเตบิ โตและ พัฒนาการของผลจากกิ่งกระโดงในทรงพุ่มและกิ่งปลายยอดของล�ำไย. วารสารวิทยาศาสตรเ์ กษตร 36 5-6 (พิเศษ): 409-412. สมชาย องค์ประเสรฐิ ปฏิภาณ สทุ ธกิ ลุ บุตรและศุภธิดา อ่�ำทอง. 2544. ผลกระทบ ของคลอเรตต่อสิ่งแวดล้อมในสวนล�ำไยและแนวทางการลดผลกระทบ. ใน เอกสารประกอบการฝึกอบรม เรื่องการจัดการสวนล�ำไย จากงานวิจัยสู่ เกษตรกร ครั้งท่ี 1 ในระหว่างวันท่ี 14-15 พฤษภาคม 2544และครั้งท่ี 2 ระหว่างวันท่ี 1-2 มิถุนายน 2544 ณ. ส�ำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่จัดโดยส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ร่วมกับสมาคม ผูป้ ลกู ลำ� ไยแหง่ ประเทศไทย. Changjeraja, S., Y., Khaosumain and C., Sritontip and. 2005. Water consumption, drymatter accumulation and nutrient uptake of young longan longan tree. pp. 122-125. In Chomchalow, N and N. Sukhvibul. Proceeding of the Second International Symposium on on Lychee, Longan, Rambutan and Other Sapindaceae Plants (Poster Session), Thailand. Khaosumain Y., C, Sritontip and S, Changjeraja. 2005. Nutritional status of declined and healthy longan trees in northern Thailand. Acta Hort. 665 : 275-280. เอกสารอา้ งอิง 39
Khaosumain Y., C, Sritontip and S, Changjeraja. 2006. Effects of nitrogen concentration on growth and leaf nutrient content of longan in lysimeter. Proc. In International Workshop on Tropical and Sub Tropical Fruits. 27-30 November 2006. Lotus Pang Suan Keaw Hotel, Chiang Mai, Thailand Menzel,C.M. and D.R.Simpson. 1986. Lychee growing in subtropical Queensland. In C.M. Menzel and G.N. Greer (eds.) The Potential of lychee in Australia. Proceeding of the First National Lychee Seminar 14-15th February. pp. 54-70. Sritontip. C., Y., Khaosumain, S., Changjeraja and R., Poruksa. 2005. Effects of potassium chlorate, sodium hypochlorite and calcium hypochlorite on flowering and some physiological changes in ‘Do’ longan. Acta Hort. 665 : 269-274. Sritontip C., Y., Khaosumain, S., Changjeraja and R. Poruksa. 2005. Effect of potassium chlorate, potassium nitrate, sodium hypochlorite and thiourea on off-season flowering and photosynthesis of ‘Do’ longan. Acta Hort. 665 : 291-296. Sritontip, C., Y., Khaosumain, S., Changjeraja and R., Changjeraja. 2006. Effects of light intensity and potassium chlorate (KClO3 ) on photosynthesis and flowering in Longan. (Dimocarpus longan Lour.) cv. Do. In Proc. International Workshop on Tropical and SubTropical Fruits. 27-30 November 2006. Lotus Pang Suan Keaw Hotel, Chiang Mai, Thailand. Subhadrabandhu, S. 1990. Lychee and longan cultivation in Thailand. Department of Horticulture Kasetsart University Bangkok. 40 pp. 40 ค่มู ือ การจดั การ สวนล�ำไย การจัดการความรู้ และถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารผลติ ล�ำไยคุณภาพดี ต้นทนุ ต�ำ่
Search
Read the Text Version
- 1 - 44
Pages: