นางสาววนิดา ทองนาค 6/7 30 นาฏศิลป์นานาชาติ
1.ประเทศญี่ปุ่น(Japanese) ละครโนะ เป็นละครที่เก่าแก่ที่สุด แต่เดิมจัดแสดงตามวิหาร มีกฎข้อบังคับเคร่งครัดมาก แสดงเรื่องเกี่ยวกับเทพเจ้า การแต่งกายงดงาม ผู้แสดงจะสวมหน้ ากาก ซึ่งถือว่าเป็นสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์ ท่าทางการเคลื่อนไหวล้วนมีความหมายทั้งสิ้นแต่ เดิมแสดงใต้ร่มไม้ ต่อมาทำเวทีอย่างง่ายๆ เป็นเวที สี่เหลี่ยมคนดูดูได้รอบ จัดฉากง่ายๆ เขียนรูปต้นสนและ ไม้ไผ่ไว้ห่างๆ และมีสนสามกิ่งยื่นออกมาเพื่อรักษาสภาพ เดิมที่เคยแสดงใต้ร่มไม้ ถือว่าเป็นการแสดงชั้นสูง เครื่องแต่งกายของละครโน เรียกว่า โนโชโซกุ ประกอบ ด้วยผ้าหลากหลายประเภท เป็นอีกส่วนสำคัญของการแสดง และบทบาทของตัวละคร เพราะบ่งบอกถึงฐานะ อารมณ์ และบุคลิก เพื่อเสริมกันกับหน้ ากากได้เป็นอย่างดี และชุดที่ มีความซับซ้อนยุ่งยาก มีรายละเอียดมากในการใส่นี้ เป็น อีกเสน่ห์ของการแสดงที่นักแสดงต้องใช้ความว่องไวในการ เปลี่ยนด้วย
2.ประเทศจีน (chaina) งิ้ว เป็นการแสดงที่ผสมผสานการขับร้องและการเจรจา ประกอบกับลีลาท่าทางของนักแสดงให้ออกเป็ นเรื่ องราว โดยสมัยนั้นได้นำเอาเหตุการณ์ต่าง ๆ ในพงศาวดารและ ประวัติศาสตร์มาดัดแปลงเป็นบทแสดง รวมทั้งยังมีการนำ เอาความเชื่อทางประเพณีและศาสนาเข้าไปผสมผสานกับ การแสดงงิ้วด้วย เดิมประเทศจีนมีงิ้วราว 300 กว่าประเภท ส่วนใหญ่จะเป็นงิ้วท้องถิ่น ส่วนงิ้วระดับประเทศ เช่น งิ้ว ปักกิ่ง, งิ้วเส้าซิง, งิ้วเหอหนัน และงิ้วกวางตุ้ง โดยงิ้วปักกิ่ง เป็นงิ้วที่มีชื่อเสียงมากที่สุด โดยปัจจุบันถือเป็นตัวแทนงิ้ว ประจำชาติจีน ในการแสดงงิ้วจะแต่งกายแตกต่างออกไป คือ ใส่ชุด ข้าราชการสีแดง โดยมีชุดบุ๋นเป็นหลัก ชุดเกราะบู๊มา ประกอบช่วงเอวลงไป เพื่อแสดงถึงความสามารถทั้งสอง ด้านของจงขุย เข็มขัดไม่ใช้แบบขุนนางบุ๋น แต่จะให้ผ้ารัด แบบตัวละครบู๊แทน เพื่อแสดงถึงอุปนิสัยอันดุดัน
3.ประเทศเกาหลี(korea) 탈춤ในภาษาเกาหลี \"ทัลชุม ( )\" มาจากการรวม 탈กันของคำว่า 'ทัล ( )' ซึ่งหมายถึงการสวม 춤หน้ ากาก และ 'ชุม ( )' ซึ่งหมายถึงการเต้นรำ ดังนั้น 'ทัลชุม' จึงเป็นศิลปะการใส่หน้ ากากใน ขณะที่เต้นรำรูปแบบหนึ่ง หรือเรียกสั้น ๆ ว่า \"การระบำหน้ ากาก\" นักแสดงและนักแสดงแป้ งสวมหน้ ากากมักสวมชุดผ้าไหม สีสันสดใส \"ฮันบก\" หรือ \"เสื้อผ้าเกาหลี\" ชุดฮันบกข้างต้นมี ต้นแบบมาจากช่วงปลายราชวงศ์โชซอนซึ่งมีมาตั้งแต่ปี 1392 ถึง 1910 แม้ในปัจจุบันคนเกาหลีทั่วไปจะสวมเสื้อผ้า ประเภทนี้ในโอกาสพิเศษเช่นงานแต่งงานวันเกิดปี แรกทาง จันทรคติ (\"Seolnal \" ) และเทศกาลเก็บเกี่ยว (\" ชูซ็อก\" )
4.ประเทศอินเดีย (Indian) ภารตะนาฏยัม เป็นนาฏศิลป์ที่เก่าแก่ที่สุดในอินเดีย มีส่วน สำคัญในพิธีของศาสนาฮินดูสมัยโบราณ สตรีฮินดูจะถวาย ตัวรับใช้ศาสนาเป็น “เทวทาสี” ร่ายรำขับร้อง บูชาเทพใน เทวาลัย ซึ่งจะเริ่มฝึกตั้งแต่อายุ 5 ขวบ ศึกษาพระเวท วรรณกรรม ดนตรี การขับร้องของเทวทาสีเปรียบประดุจ นางอัปสรที่ทำหน้ าที่ร่ายรำบนสวรรค์ ภารตนาฏยัม เป็นนาฏศิลป์ของอินเดียตอนใต้ เป็นการ แสดงที่ใช้ผู้หญิงแสดงและนิยมแสดงเดี่ยว มีลีลาการใช้ จังหวะเท้าที่รวดเร็ว มีความหมายในท่ารำ ใช้ศิลปะการร่าย รำตามตำรานาฏยศาสตร์ของพระภรตฤๅษี ... การแต่งกาย ผู้หญิงสวมเสื้อคอกว้าง แขนสั้น เอวลอย ห่มสาหรี เกล้า มวยผม ใช้สาหรีคลุมผม ผู้ชายแต่งกายคล้ายกัน ใช้ผ้าโพก ศีรษะ4
5.ประเทศฟิลิปปินส์ (Philippines) คาริโญซา (carinosa) ซึ่งในภาษาสเปนมีความหมายว่าคู่รัก หรือ ที่รัก ถูกนำมาตั้ง เป็นชื่อของการศิลปะระบำพื้นเมืองของประเทศฟิลิปปินส์ เชื่อกันว่า มีต้นกำเนิดมา จาก เกาะปิเนย์ ในหมู่เกาะ วีซายัน ประมาณช่วงที่ประเทศสเปนเข้ามาปกครอง ฟิลิปปินส์ จึงทำให้การระบำคาริโนซานั้นมีการรับอิทธิพลการระบำในรูปแบบของ ตะวันตกเข้ามาประยุกต์ใช้ เช่น การระบำโบเลโร ของสเปน รวมไปถึง ระบำจาราเบ ตาปาติโอ หรือ ระบำหมวกของแม็กซิโก ระบำคาริโญซาจะทำการแสดงโดยใช้คู่นักแสดงชายและหญิง บอกเล่าเรื่องราวเกี่ยว กับการเกี้ยวพาราสีกัน โดยเนื้อหาเพลงส่วนใหญ่จะมีใจความสำคัญอยู่ที่การชื่นชม ความงามของหญิงสาว ซึ่งจะใส่ชุดที่เรียกว่า มาเรีย คลาร่า (Maria Clara) หรือ ชุด สตรีประจำชาติ ฟิลิปปินส์ และถือพัดหรือผ้าเช็ดหน้ าเป็นอุปกรณ์ประกอบการแสดง เป็นชุดแบบดั้งเดิมสำหรับสวมชุด 'Maria Clara' ของสเปนซึ่งประกอบด้วยชุดยาวและชุดปั กแขนสั้น สั้นที่ทำจากเส้นใยสับปะรด ตอนนี้การแต่งกายของ ฟิลิปปินส์ดั้งเดิมมากขึ้นเป็นเรื่องปกติ ผู้ชายสวมเสื้อ เชิ้ตสีขาวและกางเกงขายาวสีขณะที่ผู้หญิงสวมชุด พื้นเมือง
Search
Read the Text Version
- 1 - 6
Pages: