1 กลมุ่ ท4่ี
ข สารบญั ชนิด / ชื่อของอาหารทอ้ งถ่ิน (ชื่อเฉพาะ) 1 โรคไตและสมนุ ไพรที่เก่ียวขอ้ ง / ความเช่ือ 4 ชนิดสูตรนมผงเดก็ ตามวยั 7 การประเมินภาวะการเจริญเติบโตของเดก็ ทกุ วยั ท้งั สองเพศ 8 ค่าแลปที่ใชใ้ นการวินิจฉยั และติดตามโรคเบาหวานความดนั โลหิตสูงไตและ 10 Tools for screening and assessment 12 BMI ผสู้ ูงอายกุ ่อนและหลงั อายุ 60 ปี 13 ไตเฉียบพลนั (NS) ส่วนใหญ่ในเด็ก 13 กระดูกหกั เนื่องจากกระดูกพรุน (FLS) 16 คานวณพลงั งานในเด็ก 16 สูตรอาหารทางการแพทย์ (อปั เดต) 19 % ของ free water ในอาหาร 21 การคานวณอาหาร (พลงั งาน) ทางหลอดเลือดดา 21 การคานวณอาหารใน CAPD (การลา้ งไตทางช่องทอ้ ง) 21 ปฏสิ มั พนั ธย์ ากบั อาหาร 22 คาศพั ทท์ างการแพทย์ 23 ปริมาณสารสาคญั ในอาหาร ไดแ้ ก่ Na, K, P, Ca, Cholesterol 24 และใยอาหารท้งั ละลายและไมล่ ะลายน้า การตรวจ SMBG: Self-monitoring blood glucose 24 การกาหนดคาร์บในแต่ละม้อื สาหรับหญิงต้งั ครรภ์ (GDM) 24 ชนิดและยห่ี อ้ ของ insulin และ action 25 วิธีคานวณเ BW อยา่ งง่าย 25 วติ ามิน (ชื่อเรียกหนา้ ท่ีแหลง่ ที่พบการไดร้ ับปริมาณนอ้ ยหรือมากเกินไปผลขา้ งเคียง) 26 อาหารแก้ hypoglycemia ซ่ึงเป็นภาวะแทรกซอ้ นของเบาหวาน 29
รูปแบบอาหาร Ketogenic, DASH diet, TLC plate model ค การคานวณพลงั งานอยา่ งง่ายแบ่งตามกิจกรรมและ BMI อาหารเบาหวาน DKA 29 % weight loss 32 Nutrition diagnosis term 32 อาหารสาหรับผปู้ ่ วยธาลสั ซีเมีย 33 33 34
1. ชนดิ /ช่ือของอาหารท้องถ่ิน (ชื่อเฉพาะ) 1 อาหารคาว ช่ือเฉพาะของอาหาร ภาพอาหาร นาซิกาบู นาซิดาแฆ นาซิลือเมาะ
2 ละแซ รอเยาะ อาแยฆอและ สอเลาะลาดอ
3 อาหารหวาน ตูปะซูตง อาเก๊าะ โรตี มะตาบะ
4 ปูโละกายอ ลอปะตีแก บูโบกาแจ 2. โรคไตและสมนุ ไพรทเี่ กยี่ วข้อง/ความเช่ือ การแบ่งระยะของCKD
5 พยากรณโ์ รคไตเร้ือรังตามความสมั พนั ธข์ อง GFR และระดบั อลั บูมินในปัสสาวะ สมุนไพรกบั ผ้ปู ่ วยโรคไต สมุนไพรที่มโี พแทสเซียม เช่น ผกั ชี, มะระ(ผล), ขมน้ิ (เหงา้ ), ลกู ยอ, ดอกคาฝอย, ใบบวั บก, ตะไคร้, กระเทียม, มะละกอ ไตอกั เสบเฉียบพลนั (Nephrotic Syndrome) โรคไตเนฟโฟรตกิ เกดิ จากมคี วามผดิ ปกติของหน่วยไต(Glomerulus) ที่ทาหนา้ ท่ีกรองปัสสาวะทา ใหร้ ่างกายสูญเสียโปรตีนออกทางปัสสาวะ จึงมรี ะดบั โปรตีนในเลอื ดต่า บวม และภาวะไขมนั ในเลือดสูง โดยสารอาหารท่ีเกี่ยวขอ้ ง และสาคญั กบั โรคไตเนฟโฟรติก ไดแ้ ก่ โปรตีน ไขมนั และโซเดียม 1. โปรตนี ผปู้ ่ วยโรคไตเนฟโฟรติกจะมีการสูญเสียของโปรตีนทางปัสสาวะ ดงั น้นั จะตอ้ งไดร้ ับโปรตีนที่ เพียงพอ และควรเลือกแหล่งโปรตีนที่มีคณุ ภาพสูง (High Biological Value) เพราะมีกรดอะมิโนท่ีจาเป็น ครบทุกชนิด และร่างกายสามารถนาไปใชไ้ ดด้ ีทาใหข้ องเสียเกิดข้นึ นอ้ ย เพื่อชะลอการเส่ือมของไต และ ทดแทนการสูญเสียของโปรตีน แต่หากไดร้ ับโปรตีนมากเกินไปจะทาใหเ้ พ่มิ การสูญเสียโปรตีน และทางาน ของไต ควรบริโภคอาหารท่ีมโี ปรตนี คุณภาพสูง เป็นโปรตีนท่ีพบไดใ้ นอาหารประเภทเน้ือสตั ว์ และผลิตภณั ฑจ์ ากสตั ว์ เช่น ไข่ นม
6 เน้ือสตั ว์ ปลา ไก่ เน้ือววั หมู ควรหลกี เลี่ยง เน้ือสตั วท์ ่ตี ิดมนั เครื่องในสตั ว์ และสตั วท์ ะเลบางชนิด ไดแ้ ก่ กงุ้ ปู ปลาหมกึ เพราะมีปริมาณคลอเลสเตอรอลสูง อาจทาใหก้ ระตุน้ การสร้างไขมนั ที่ตบั เพ่มิ ข้ึน ควร รับประทานโปรตีนท่ีมคี ณุ ภาพสูงอยา่ งนอ้ ย 50 % ของปริมาณโปรตีนท้งั หมด ตามคาแนะนาของแพทย์ หรือ นกั โภชนาการ 2. ไขมนั ภาวะไขมนั ในเลือดสูงเป็นภาวะแทรกซอ้ นของโรคไตเนฟโฟรติก ที่มกี ารสูญเสียโปรตนี ทาง ปัสสาวะ จึงทาใหก้ ระตุน้ การสร้างไขมนั ที่ตบั มากผดิ ปกติ ดงั น้นั การควบคุมอาหารที่มีไขมนั สูงจะชว่ ยเพ่อื ป้องกนั ปัจจยั เส่ียงต่อภาวะหลอดเลอื ดแดงแขง็ ได้ โดยแนะนาใหบ้ ริโภคไขมนั ไมอ่ ่มิ ตวั เช่น น้ามนั ถว่ั เหลอื ง น้ามนั ราขา้ ว น้ามนั งา น้ามนั มะกอก น้ามนั ทานตะวนั และน้ามนั คาโนลา แต่เมือ่ หายจากโรคไตเนฟ โฟรติก ภาวะไขมนั ในเลอื ดสูงจะหายดว้ ย ควรหลกี เลยี่ งอาหารท่ีมไี ขมนั อาหารท่มี กี รดไขมนั อมิ่ ตวั สูง เป็นไขมนั ที่พบในสตั วแ์ ละผลิตภณั ฑจ์ ากสตั ว์ เช่น เน้ือสตั วต์ ิดมนั เคร่ืองใน สตั ว์ พบในผลิตภณั ฑจ์ ากพืช เช่น กะทิ น้ามนั ปาลม์ และน้ามนั มะพร้าว อาหารทม่ี ไี ขมนั ทรานส์สูง เนยขาว มาการีน ผลติ ภณั ฑแ์ ปรรูปต่างๆ เช่น คกุ ก้ี เคก้ โดนทั อาหารทที่ าให้ไตรกลเี ซอไรด์ในเลือดสูง อาหารประเภทแป้ง น้าตาล ขนมหวาน ผลไมร้ สหวานจดั เคร่ืองด่ืมท่ี มรี สหวาน และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ อาหารทีม่ คี ลอเลสเตอรอลสูง กงุ้ หอย ปลาหมึก ตบั ไข่แดง ไข่ปลา และเคร่ืองในสตั ว์ 3. โซเดยี ม : หากร่างกายมกี ารสูญเสียโปรตีนทางปัสสาวะส่งผลใหไ้ ตมีการดูดกลบั ของน้าและเกลือ แร่มาสะสมในร่างกายทาใหเ้ กิดอาการบวม ควรหลกี เลยี่ งอาหารทีม่ โี ซเดยี ม : โซเดียมพบนอ้ ยในอาหารธรรมชาติแต่จะพบมากในเครื่องปรุง อาหารแปร รูปและอาหารหมกั ดอง เคร่ืองปรุง เกลอื ซอสปรุงรส ผงชูรส น้าปลา ผงปรุงรสกะปิ ซอสมะเขือเทศ ซอสพริก น้าจ้ิม เคร่ืองแกง ต่างๆ อาหารแปรรูป บะหมก่ี ่ึงสาเร็จรูป ปลากระป๋ อง ไสก้ รอก ลกู ชิ้น ขนมกรุบกรอบ ขนมปัง กงุ้ แหง้
7 อาหารหมกั ดอง ผกั และผลไมด้ อง แหนม กนุ เชียง ไข่เค็ม ปลาร้า น้าบูดู เตา้ เจ้ียวหากรับประทาอาหารท่ีมี โซเดียมสูงมากๆจะทาใหเ้ กิดการคงั่ ของน้าในร่างกาย ส่งผลใหเ้ กิดอาหารบวม ความดนั โลหิตสูง และหวั ใจ ลม้ เหลว ข้อแนะนาในการลดโซเดยี ม หลกี เล่ยี งการปรุงอาหารเพ่มิ หลีกเลีย่ งอาหารแปรรูป และอาหารหมกั ดอง ประกอบอาหารแยกกบั สมาชิกในบา้ น อ่านฉลากโภชนาการเพือ่ เปรียบเทียบปริมาณโซเดียมในอาหาร เมือ่ ทานอาหารนอกบา้ น ควรตกั ทานเฉพาะส่วนท่ีเป็นเน้ือ ไมร่ าดน้าแกง 3. ชนดิ สูตรนมผงเดก็ ตามวยั 1. นมสูตร 1 หรือนมผงดดั แปลงสาหรับทารกวยั แรกเกิด – 1 ปี มีการดัดแปลงให้มีส่วนประกอบใกลเ้ คียงนมแม่ โดยเฉพาะโปรตีน จะตอ้ งมีปริมาณใกล้ เคียวนมแม่คือ 1.3กรัม ต่อ100 มล. และเติมไขมนั ท่ีย่อยง่าย พร้อมสารอาหารอ่ืนๆ เพ่ือส่งเสริมการ พฒั นาสมองและภูมิคุม้ กนั ควรดูแลให้ลูกไดร้ ับนมในปริมาณท่ีเหมาะสม ตามที่ร่างกายต้องการ ตัวอย่างนมสูตร 1 นมผง Dumex Dupro ดูโปร 2 productnation S-26 Progress productnation Dumex Gold Plus 1 productnation DG-1 Advance Gold productnation 2. นมสูตร 2 หรือนมผงดดั แปลงสูตรต่อเนื่องสาหรับเดก็ วยั 6 เดือน – 3 ปี มีการเพ่ิมปริมาณโปรตีน แคลเซียมและฟอสฟอรัสจากสูตร1 เพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้ และรองรับความ ตอ้ งการการใชพ้ ลงั งานจากการเคล่อื นไหวของกลา้ มเน้ือทเี่ พิม่ ข้ึน ตวั อย่างนมสูตร 2 Hi-Q Supergold productnation NAN HA นมผงสาหรับเด็ก ช่วงวยั ท่ี 1 เอชเอ 1 productnation Similac ซิมแิ ลคแอดวานซแ์ อลเอฟ productnation
8 3. นมสูตร 3 หรือ นมผงสาหรับเด็กวยั 1 ปี ข้ึนไป และทุกคนในครอบครัว มีการเพม่ิ ปริมาณโปรตีนใหม้ ากข้ึนจากเดิม มีวิตามินและแร่ธาตุเพ่ือช่วยเสริมสร้างพฒั นาการทาง สมอง เสริมสร้างกระดูกใหแ้ ขง็ แรง และการเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตวั อยา่ งมีประสิทธิภาพ ตวั อย่างนมสูตร 3 Bear Brand ตราหมี นมผง แอดวานซ์ โพรเท็กซช์ นั productnation นมผง ซิมิแลค 3 พลสั เอน็ วีอี เอไอคิว พลสั productnation Nestle Carnation นมผง เนสทเ์ ล่ คาร์เนชนั 1+ สมาร์ทโก รสวานิลลา productnation 4. การประเมนิ ภาวะการเจริญเตบิ โตของเดก็ ทุกวยั ท้งั สองเพศ
9
10 5. ค่าแลปทใ่ี ช้ในการวนิ ิจฉัยโรค โรคเบาหวาน
11 โรคความดนั โลหิตสูง โรคไต
12 6. Tools for screening and assessment
13 7. BMI ผ้สู ูงอายุ ก่อนและหลงั อาย6ุ 0ปี ดชั นีมวลกาย (body mass index) เป็ นค่าที่คานวน เท่ากบั น้าหนักตวั หน่วยเป็ นกิโลกรัม หารดว้ ย ความสูงหน่วย เป็นเมตรยกกาลงั สอง BMI ก่อนอายุ60ปี กลุ่ม BMI (kg/m2) Asia-Pacific perspective14 WHO 199813 นา้ หนักน้อย < 18.5 < 18.5 นา้ หนกั ปกติ 18.5 - 24.99 18.5 - 22.99 นา้ หนกั เกนิ ≥ 25 ≥ 23 pre-obese 25 - 29.99 เส่ียง (at risk) 23 - 24.99 อ้วนระดบั 1 30 - <34.99 25 - 29.99 อ้วนระดบั 2 35 - <39.99 ≥ 30 อ้วนระดับ 3 ≥ 40.00 13 WHO expert consultation. Appropriate body-mass index for Asian populations and its implications for policy and intervention strategies. Lancet 2004; 363: 157–63 14 WHO/IASO/IOTF. The Asia-Pacific perspective: redefining obesity and its treatment. Health Communications Australia: Melbourne. ISBN 0-9577082-1-1. 2000.
14 BMI ผู้สูงอายหุ ลงั อายุ60ปี ภาวะโภชนาการ ดัชนีมวลกาย (กก. / ม2) ผอม ระดบั 1 18.5 - 19.9 ระดบั 2 17.0 - 18.4 ระดบั 3 16.0 - 16.9 ระดบั 4 < 16.0 ปกติ 18.5 - 24.9 อ้วน ระดบั 1 25.0 - 29.9 ระดบั 2 30.0 - 39.9 ระดบั 3 > 40.0 ที่มา :http://hp.anamai.moph.go.th/soongwai/statics/about/soongwai/topic003.php 8. ไตเฉียบพลนั (NS) ส่วนใหญ่ในเด็ก กลุ่มอาการโรคไต (Nephrotic syndrome : NS) หมายถงึ ภาวะท่ีมคี วามผดิ ปกติของ glomerular basement membrane (GBM) เป็นเหตุใหม้ ีไข่ขาวรั่ว ออกมามากผิดปกติในปัสสาวะ ทาให้ปริมาณโซเดียมในเลือดต่าลงมากกว่าปกติ ร่วมกบั มีอาการบวมและ ระดบั ไขมนั ในเลอื ดสูงข้ึน กล่มุ อาการโรคไตเป็นกลุ่มอาการท่ีประกอบดว้ ย 1. โปรตีนในปัสสาวะสูง มี proteinuria มากกว่า 50 มก/กก/วนั หรือมากวา่ 40 มก./ตรม./ชว่ั โมง 2. โปรตีนในเลอื ดต่า โดยเฉพาะอลั บูมนิ มีไข่ขาวในเลือดต่ากว่า 2.5 กรัม/ดล. 3. บวมทวั่ ตวั ชนิดกดบุ๋ม 4. ไขมนั ในเลือดสูง มีไขมนั ในเลือดมากกวา่ 250 มก./ดล. กลมุ่ อาการโรคไตน้ีพบไดใ้ นเดก็ ทุกอายุ แต่พบมากที่สุดในเด็กวยั ก่อนเรียน
15 หลกั การวนิ ิจฉัยโรค จากประวตั ิ อาการและการตรวจร่างกายอยา่ งละเอียดมกั ช่วยในการวินิจฉยั แยกโรคผปู้ ่ วยท่ีบวมจาก ความผดิ ปกติของระบบอวยั วะอ่นื ๆ การตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั ิการ 1) การตรวจปัสสาวะ หาค่าอตั ราส่วนของโปรตีนต่อครีอตินิน ถา้ มากกว่า 2 มก./กก. ถอื ว่ามี proteinuria นอกจากน้ีมกั พบไขมนั ท่ีอยู่ใน tubular cell หลุดออกมากับปัสสาวะเรียกว่า oval fat bodies ซ่ึง แสดงว่ามีไขมนั ในพลาสม่าสูง 2) การตรวจเลือด พบซีร่ัมอลั บูมินต่ากวา่ 2.5 มก./ดล. ซีรั่มโคลเลสเตอรอลสูงประมาณ 450-1500 มก./ดล. ค่าฮีโมโกลบินและฮีมาโตคริต พบวา่ ปกติหรืออาจสูงเลก็ นอ้ ย ซีรั่มโซเดียมปกติหรือต่า 3) พบ fribrinogen และ factor V, VII VII , X เพ่ิมข้ึน ทาใหเ้ ลือดแขง็ ตวั ไดง้ ่ายข้ึน 4) การตรวจอน่ื ๆ เช่น การตรวจชิ้นเน้ือของไต (renal biopsy) ภาวะแทรกซ้อน การสูญเสียโปรตีนชนิดต่างๆทางปัสสาวะในกลมุ่ อาการโรคไต ส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซอ้ นต่างๆ ตามมาดงั น้ี 1. Hypovolemia 2. การติดเช้ือ 3. Thrombosis 4. ไตวายเฉียบพลนั 5. ไตวายเร้ือรัง 6. การเจริญเติบโตและภาวะพร่องฮอร์โมนอ่นื
16 การรักษา ผปู้ ่ วยเดก็ ควรไดโ้ ปรตีนที่มคี ุณภาพดีร้อยละ 130-140 ของความตอ้ งการปกติในแต่ละวนั ตามอายุ และไดแ้ คลอรีตามอายุ ตารางเปรียบเทียบ Acute Glomerulonephritis (AGN) กบั Nephrotic Syndrome (NS) ข้อมลู AGN NS 1. อายุ 2-12 ปี 3-7 ปี 2. เพศชาย:เพศหญงิ 2:1 2:1 3. สาเหตุ β -streptococcus Viral URI, Unknown 4. ระยะเวลาก่อนเริ่มอาการ 2-3 สปั ดาห์ 2-3 วนั 5. อาการบวม เกิดเฉียบพลนั ไมเ่ คยบวมมาก่อน เกิดข้ึนซ้าๆ อาจเคยบวมมาก่อน 6. ลกั ษณะการบวม บวมท่ีหนังตาและทัว่ ตัว กดไม่ บวมมาก กดบุ๋ม(pitting edema)มี บุ๋ม (nonpitting edema) มี pleural ascites ชดั เจน effusion, pulmonary congestion, cardiomegaly 7. ความดนั โลหิตสูง เกือบทุกราย เป็นบางราย, สูงชวั่ คราว 8. blood for β,C ต่าในระยะแรก ปกติ 9. การคง่ั ในระบบไหลเวยี น พบไดบ้ ่อย ไมพ่ บ 10. Proteinuria เลก็ นอ้ ย-ปานกลาง (moderate) พบมาก (massive) 11. Hematuria Gross hematuria/microscopic บางรายและชว่ั คราว hematuria/numerous RBC Microscopic hematuria/none 12. cast Granular, RBC Hyaline, granular, fatty 13. Azothemia พบได้ ไมพ่ บ 14. Serum Potassium เพิ่มข้ึน ปกติ 15. serum cholesterol ปกติหรือสูงเลก็ นอ้ ย สูงกวา่ 250 mg% 16. Serum total protein& ค่อนขา้ งปกติ, ต่าเลก็ นอ้ ย ต่ากว่า 4 mg% Albumin protein Albumin < 2.5 mg% 17. การรักษา ตามอาการ รักษาดว้ ย corticosteroid บางรายอาจใหย้ าปฏชิ ีวนะ (นภิสสรา, ม.ป.ป.)
17 9. กระดูกหักเนื่องจากกระดูกพรุน (FLS) จากการศึกษาพบว่าการใหบ้ ริการแบบ Fracture Liaison Service: FLS โดยสหสาขาวชิ าชีพ เป็นระบบ ที่มปี ระสิทธิภาพและคุม้ ค่ามากท่ีสุดในการป้องกนั การเกิดกระดูกหกั ซ้าในผปู้ ่ วยโรคกระดูกพรุน วิธีการเชิง ระบบโดยที่มีผปู้ ระสานงานเป็นศูนยก์ ลาง สามารถช่วยลดค่าใชจ้ ่ายทางการแพทยล์ ดการเกิดกระดูกหกั ซ้า และสามารถเพมิ่ คุณภาพชีวิตของผปู้ ่ วยไดเ้ ป็นอยา่ งดี รายละเอยี ดของกรอบการทางาน โดยแต่ละหวั ขอ้ แบ่งผปู้ ่ วยเป็น 3 ระดบั 1. การคดั กรองและการระบุตวั ตนผปู้ ่ วย 2. การประเมินผปู้ ่ วย 3. ระยะเวลาในการประเมนิ ผปู้ ่ วยหลงั เกิดกระดูกหกั 4. กระดูกสนั หลงั หกั 5. แนวทางการประเมนิ 6. สาเหตุทุติยภูมขิ องโรคกระดูกพรุน 7. การบริการเพือ่ ป้องกนั การหกลม้ 8. การประเมินปัจจยั เสี่ยงหลายดา้ นท่ีเก่ียวกบั สุขภาพและวิถีชีวติ 9. การเริ่มการใหย้ ารักษาโรคกระดูกพรุน 10. การทบทวนการรักษาดว้ ยยา 11. ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการสื่อสาร 12. การดูแลผปู้ ่ วยในระยะยาว 13. ฐานขอ้ มูล (จอหน์ เอ. คานิส, 2019) 10. คานวณพลงั งานในเดก็ โปรตนี (g/kg) วิธีที่ 1 จาก Recommended Dietary Allowance (RDA) 2.2 อายุ (ปี ) พลงั งานเฉลย่ี (kcal/kg) 1.6 1.2 0-0.6 108 1.1 0.6-0.12 98 1.0 1-3 102 4-6 90 7-10 70
18 วธิ ีท่ี 2 การคานวณพลงั งานในเด็กหญิง 11-15 ปี 1000 กโิ ลแคลอรีในขวบปี แรก + (100 กิโลแคลอรี x อายเุ ดก็ ถึง10 ปี ) เด็กผหู้ ญิง 11-15 ปี บวก (<100 กิโลแคลอรี x อายหุ ลงั จาก 10 ปี ) ตวั อยา่ ง เดก็ หญิงอาย1ุ 4 ปี ตอ้ งการพลงั งาน = 1000+(100 x 10)+(100 x 4) = 2400 กิโลแคลอรี เดก็ ผหู้ ญิง > 15 ปี คานวณ เหมือนผใู้ หญ่ การคานวณพลงั งานในเด็กชายเด็กผชู้ าย 11-15 ปี • บวก (200 กิโลแคลอรี x อายหุ ลงั จาก 10 ปี ) เด็กผชู้ าย > 15 ปี • very active 50 แคลอรี/น้าหนกั ตวั 1 กิโลกรัม • normal activity40 กิโลแคลอรี/น้าหนกั ตวั 1 กิโลกรัม sedentary 30-35 กิโลแคลอรี/น้าหนกั ตวั 1 กิโลกรัม วธิ ีที่ 3 1000 กิโลแคลอรีในขวบปี แรก • เด็กผชู้ าย บวก (125 กิโลแคลอรี x อายเุ ด็ก) • เด็กผหู้ ญิง บวก (100 กิโลแคลอรี x อายเุ ดก็ ) • กรณีที่เดก็ active เพ่ิมพลงั งานไมเ่ กิน 20% เดก็ วยั เตาะแตะ 1-3 ปี พลงั งาน = 40 กิโลแคลอรี /ส่วนสูง 1 น้ิว
19 11. สูตรอาหารทางการแพทย์ (อปั เดต) ชนิดผง ราคา ลกั ษณะการใช้ ไอโซคาล 547 ผปู้ ่ วยทวั่ ไป (ชง 4,000 ซีซี) แพนเอน็ เทอราล 288 ผปู้ ่ วยทวั่ ไป (ชง 2,000 ซีซี) เอน็ ชวั ร์ 306 ผปู้ ่ วยทวั่ ไป (ชง 1,800 ซีซี) เจวตี ้ี (น้า) 84 ผปู้ ่ วยทว่ั ไป (ชง 500 ซีซี) กลเูู ซอร์น่า 442 ผปู้ ่ วยเบาหวาน กลเูู ซอร์น่า (น้า) 49 ผปู้ ่ วยเบาหวาน นิวเทรน บาลานซ์ 596 ผปู้ ่ วยที่ตอ้ งการควบคุมปริมาณน้าตาล (2,000ซีซี) นิวเทรน ไฟเบอร์ 456 ผปู้ ่ วยที่ตอ้ งการเสริมใยอาหาร (ชง 2,000 ซีซี) อะมิโนเลแบน 528 ผปู้ ่ วยโรคตบั หรือ งดไขมนั (ชง 1,800 ซีซี) เจนฟอร์มูล่า 295 อาหารเสริมท่ีไมม่ โี คเลสเตอรอล(2,000 ซีซี) เนปโป (น้า) 86 ผปู้ ่ วยโรคไต โปรชวั ร์ (น้า ) 169 ผปู้ ่ วยเบื่ออาหาร ท่ีตอ้ งการโปรตีนสูง นีโอ - มลู 450 ผปู้ ่ วยตอ้ งการโปรตีนและพลงั งานสูง (1,700 ซีซี) เปปทาเมน 761 ผปู้ ่ วยที่มีปัญหาในการยอ่ ยและดูดซึมอาหาร(2,000 ซีซี) 329 ผปู้ ่ วยสูงอาย,ุ มะเร็ง นิวเทรน ออติมลั (ชง 2,000 ซีซี) อาหารทารกที่มีอาการแหวะนม, อาเจียน แนน AL 221 ทารกท่ีทีระบบการยอ่ ยนมผดิ ปกติ (แพน้ มววั ) โอแลค 197 ทารกท่ีมรี ะบบการยอ่ ยนมผดิ ปกติ (แพน้ มววั ) ไอโซมิล 157 ทารกท่ีมีระบบการยอ่ ยแลคโตสผดิ ปกติ ซิมแิ ลค LF 220 ทารกท่ีมีระบบการยอ่ ยยแลคโตสผดิ ปกติ แนนแลคโตสฟรี 151 สาหรับเด็กเบื่ออาหาร พีดีชวั ร์ คอมพลที 249 ทารกคลอดก่อนกาหนดน้าหนกั ตวั ต่า ซิมแิ ลค นีโอชวั ร์ 156 สาหรับทารกที่แพโ้ ปรตีนหรือมีปัญหาเก่ียวกบั ระบบ นูตรามีเยน 308 การยอ่ ยและดูดซึมแลค็ โตส
20 สดั ส่วนอาหารทางการแพทย1์ ,000 ml สูตร CHO Prot Fat % กรัม % (1,000 มล.) กรัม % กรัม 14 22.7 43 เนบโปร (237มล.) 52.6 43 16.6 18.5 17.8 34.3 2 Kcal / 1 cc. 19 36.45 31 15 33 30 Jevity (500 มล.) 64 47.2 21 12 50 45 25 17 15 504 Kcal 15.1 34 30.5 25 28 25 Glucerna SR 132.32 50 50.15 13 42 37 Ensure 134.5 55 37.5 Pan-Enteral 107 43 30 Aminoleban-Oral 154 60 64 Gen-DM 136 54.4 38 Neo-Mune 125 50 62.5 ISOCAL 125 50 32.5 Nutren – 126.2 50 39.8 16 37.9 34 Optimum 50 40.1 16 38 34 45 38.1 15 44.2 40 Nutren – Fiber 126.5 49 40.4 16 39.1 35 Nutren – 111.7 53.1 35.5 14.2 31 27.9 Baalance Peptaman 125.2 Blendera 133 12. % ของ free water ในอาหาร
21 13.การคานวณพลงั งานการให้อาหารทางหลอดเลือดดา คานวณอยา่ งง่ายจากน้าหนกั อา้ งอิง SPENT คาแนะนาการดูแลการให้อาหารทางหลอดเลือดดาในผปู้ ่ วยท่ีนอนโรงพยาบาล พ.ศ. 2562 14.การคานวณอาหารในผู้ป่ วย CAPD (ล้างไตในช่องท้อง) โปรตนี ประมาณ 1.2 - 1.5 กรัม /น้าหนกั ตวั 1 กิโลกรัม/วนั พลงั งาน -อายนุ อ้ ยกว่า 60 ปี ตอ้ งการพลงั งานเท่ากบั 35 กิโลแคลอร่ีต่อน้าหนกั ตวั 1 กิโลกรัมต่อวนั -อายมุ ากกวา่ หรือเท่ากบั 60 ปี ตอ้ งการพลงั งานเท่ากบั 30-35 กิโลแคลอรี่ต่อน้าหนกั ตวั 1 กิโลกรัม ต่อวนั - ผปู้ ่ วยที่มนี ้าหนกั ตวั มากลดพลงั งานเหลอื 25 กิโลแคลอรี่ต่อน้าหนกั ตวั 1 กิโลกรัม ฟอสฟอรัส ควรจากดั 800-1200 มลิ ลิกรัม/วนั หรือ < 17 มิลลกิ รัม/กก. โซเดียม ควรจากดั โซเดียมในอาหารไมใ่ หเ้ กิน ๒๐๐๐ มก / วนั หรือคิดเป็นแกลือแกงประมาณ ๑ ชอ้ นชา โปแตสเซียม ควรไดร้ ับ 3,000-4,000 มิลลิกรัม/วนั หรือไม่จากดั ข้ึนอยกู่ บั ระดบั ของ โปแตสเซียมในเลอื ด การ มโี ปแตสเซียมในเลือดสูงมากเกินไป จะทาใหห้ วั ใจหยุดเตน้ ได้ (อา้ งองิ โรงพยาบาลราชวิถ)ี 15.ปฏสิ ัมพนั ธ์ยากบั อาหาร ปฏกิ ิริยาของอาหารที่มตี ่อยาที่รับประทานร่วมกนั (food,nutrition -drug interaction) ซ่ึงส่วนประกอบของอาหาร ที่รับประทานจะรบกวนการทางานตามปกติของยาที่มีต่อร่างกาย ทาใหย้ ามีประสิทธ์ิภาพในการรักษาโรคหรือ ความเจ็บป่ วยไดน้ อ้ ยกวา่ ปกติหรือ อาหารทาใหย้ าคา้ งอยใู่ นร่างกายไดน้ านข้ึนจนอาจก่อใหอาการขา้ งเคียงจาก ยาได้ แบ่งเป็น
22 1) อาหารมีผลต่อการดูดซึมยา อาหารหรือส่วนประกอบของอาหารบางชนิดสามารถรวมตวั กบั ยาและส่งผลยบั ยง้ั การดูดซืมยาไดเ้ ช่น อาหารท่ีมไี ฟเบอร์สูง อาจลดการดูดซึมยาตา้ นซึมเศร้ากลุ่ม tricyclic antidepressants, แคลเซียมในผลติ ภณั ฑ์ นมจะรวมตวั กบั ยาปฏชิ ีวนะบางชนิด เช่น tetracycline ส่งผลลดการดูดซึมยา 2) อาหารมีผลต่อเมตาโบลิซึมหรือการเปล่ยี นแปลงของยา อาหารหรือส่วนประกอบของอาหารบางชนิดมผี ลต่อการทางานของเอนไซมท์ ี่ใชใ้ นการเปลยี่ นแปลงยา ก่อนขบั ออกจากร่างกายหรืออาจส่งผลต่อประสิทธิภาพในการออกฤทธ์ิของยา เช่น ผล grape fruit ในปริมาณมากมคี ุณสมบตั ิยบั ย้งั การทางานของเอนไซมไ์ ซโตโครมพี 450 (cytochrome P450) เมื่อเอนไซมท์ ี่ใชใ้ นกระบวนการเมตาโบลซิ ่ึมยาลดลงทาใหย้ าไม่ถกู เปล่ียนแปลง และมปี ริมาณยาคงคา้ งในกระแสเลือดมากอาจทาใหเ้ กิดความเป็นพิษจากยาได้ 16.คาศัพท์ทางการแพททย์ ทอนซิลอกั เสบ :tonsillitis ทุพโภชนาการ : malnutrition ขาดอาหาร : malnourished ภาวะเสียความจา: amnesia ภาวะน้าตาลสูงในเลือด :hyperglycaemia ภาวะน้าตาลต่าในเลือด: hypoglycaemia การอกั เสบ :inflammation ภาวะไตวาย:renal failure ภาวะขาดออกซิเจน: anoxia ภาวะขาดน้า :dehydration ยานอนหลบั :hypnotic ภาวะเบื่ออาหาร :anorexia เบาหวาน: diabetes ผปู้ ่ วยลา้ งไต : ผปู้ ่ วย CAPD เน้ืองอก,กอ้ น : tumor นิ่ว : stone น้าหนกั เกิน : overweight อว้ น : Obesity ด้ือยา : drug-resista
23 ด้ือการรักษา : refractory ต่อมไร้ท่อ : ductless gland 17.ปริมาณสารสาคญั ในอาหารได้แก่ Na, K, P, Ca, Cholesterol และใยอาหารท้ังละลายนา้ และไม่ละลายนา้
24 18. การตรวจ SMBG : Self-monitoring blood glucose การตรวจน้าตาลปลายน้ิวด้วยตนเองในผูป้ ่ วยเบาหวาน เพ่ือปรับพฤติกรรมการบริโภคอาหารและ ควบคุมระดบั น้าตาลในเลือด ซ่ึงผปู้ ่ วยเบาหวานที่ไดร้ ับการรักษาท่ีเหมาะสมและควบคุมระดบั น้าตาลในระดบั ดี จะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซอ้ นและลดอตั ราการเสียชีวติ อีกดว้ ย ปัจจุบนั มกี ารนาแนวคิดการควบคุมระดบั น้าตาลดว้ ยตนเอง (SMBG) มาใชก้ นั อย่างแพร่หลายโดยเป็ น การติดตามการรักษาขณะผปู้ ่ วยอยบู่ า้ นจากการเจาะเลอื ดจากปลายน้ิวดว้ ยตนเอง เพ่อื ตรวจหาค่าระดบั น้าตาลใน เลอื ดไดท้ ุกเวลาที่ตอ้ งการ ใชเ้ ป็ นขอ้ มลู เพ่ือป้องกนั การเกิดภาวะน้าตาลในเลอื ดต่า ซ่ึงต่างจากเดิมท่ีตรวจหาค่า ระดบั น้าตาลในเลือดหลงั งดอาหาร 8 ชว่ั โมงและค่าน้าตาลเฉล่ยี สะสม ซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงเพือ่ ปรับพฤติกรรมการ ดูแลตนเองของผปู้ ่ วยเบาหวาน ขอ้ แนะนาในการตรวจ SMBG - หากค่า BG ต่าในตอนเช้าอาจจะตอ้ งลดปริมาณอินชูลิน จานวนเมด็ ยาที่กิน หรือเติมอาหารว่างก่อน นอน - ควรตรวจ SMBG 2 ชวั่ โมงหลงั อาหารเพ่ือตรวจสอบอาหารชนิดใดมผี ลต่อค่า BG อยา่ งไร - ก่อนออกกาลงั การค่า BG คานเกิน100 mg/dL 19. การกาหนดคาร์บในแต่ละมื้อสาหรับหญงิ ต้งั ครรภ์ (GDM) การควบคุมอาหารในหญิงท่ีเป็ นโรคเบาหวานต้งั ครรภ์มเี ป้าหมายเพื่อใหอ้ าหารเพียงพอแก่มารดาและ ทารกในครรภ์ ควบคุมระดบั น้าตาลใหอ้ ยใู่ นเกณฑป์ กติและป้องกนั ภาวะคีโตซีสจากการขาดอาหาร (starvation ketosis) (วิบูลย์ เรืองชยั นิคม, 2551) สิ่งสาคญั ในการควบคุมอาหาร คือ การจากดั พลงั งานรวมท้งั ควบคุมสัดส่วนของอาหารในแต่ละวนั โดยคงสารอาหารให้ครบทุกม้ือตามหลกั โภชนาการ หญิงต้งั ครรภ์ที่มีค่าดชั นีมวลกายอยใู่ นเกณฑป์ กติ ควร ไดร้ ับพลงั งาน 30 - 35 กิโลแคลอรีต่อน้าหนักตวั 1 กิโลกรัม (ก่อนต้งั ครรภ์) ต่อวนั แบ่งเป็นโปรตีนร้อยละ 12 - 20 คาร์โบไฮเดรตร้อยละ 50 - 60 และไขมนั ร้อยละ 20 - 30 ความตอ้ งการพลงั งานจะเพิม่ ข้ึนในไตรมาสท่ี2 และ 3ของการต้งั ครรภ์ จึงอาจเพิ่มพลงั งานเป็น 35 กิโลแคลอรีต่อน้าหนกั ตวั (Ladewing et al., 2006) แต่ถา้ ดชั นีมวล กายมากกว่า 30 ใหจ้ ากดั อาหารเป็ น 25 กิโลแคลอรี่ต่อน้าหนกั ตวั โดยที่ตอ้ งไมท่ าใหเ้ กิดภาวเน้าตาลในเลือดสูง แต่ถา้ มารดายงั มีภาวะน้าตาลในเลือดสูงให้ลดจานวนคาร์โบไฮเดรตเหลือร้อยละ 35 - 40 ของจานวนแคลอร่ี ท้งั หมด (ADA, 2004)
25 20. ชนิดและยหี่ ้อของ Insulin และ Action อนิ ซูลิน เป็นยาท่ีไดจ้ ากการสกดั หรือสังเคราะหฮ์ อร์โมนอินซูลิน เพื่อใชท้ ดแทนในผเู้ ป็ นเบาหวานที่ ไม่สามารถผลิตอนิ ซูลินไดอ้ ย่างเพยี งพอ รวมถงึ มกี ารดดั แปลงใหม้ ีฤทธ์ิที่แตกต่างไปจากฮอร์โมนตามธรรมชาติ เพ่อื ใหส้ ะดวกในการใชง้ าน เหมาะสมกบั วถิ ีชีวติ มากข้ึน ทาใหค้ ุณภาพชีวิตของผเู้ ป็นเบาหวานท่ีตอ้ งใชอ้ นิ ซูลิน ดีข้ึนมาก 21. วธิ คี านวณ IBW น้าหนกั ในอุดมคติ (IBW) คือ น้าหนกั ที่เราควรจะเป็นนน่ั เอง โดยมสี ูตรคานวณอยา่ งง่ายตามน้ี - ชาย: IBW (kg) = ส่วนสูง (cm) - 105 - หญิง: IBW(kg) = ส่วนสูง (cm) - 110
26 22. วติ ามนิ วติ ามนิ ( Vitamin ) เป็นหน่ึงในสารอาหาร 5 หมู่ ท่ีร่างกายตอ้ งการในปริมาณนอ้ ยแต่ขาดไม่ได้ เพราะมี ความสาคญั ต่อร่างกาย หากขาดวิตามินอาจส่งผลให้ร่างกายเจ็บป่ วยได้ ซ่ึงร่างกายจะตอ้ งใชว้ ิตามิน เพ่ือนามา ช่วยทาใหม้ ีปฏิกิริยาในร่างกายเกิดข้ึน ส่งผลใหก้ ารทางานของระบบต่างๆ ในร่างกายเป็นไปตามปกติ แมวติ ามนิ จะไม่สามารถให้พลงั งานโดยตรงกบั ร่างกาย แต่ร่างกายจาเป็นตอ้ งไดร้ ับวิตามนิ เพอ่ื ไปทาหน้าท่ีเปลี่ยนอาหาร ให้เป็ นพลงั งาน คนเราต้องการ วิตามิน ในปริมาณที่น้อยแต่ขาดไม่ได้ โดยส่วนมากแลว้ วิตามินชนิดต่างๆ ร่างกายไม่สามารถสร้างข้ึนไดเ้ อง ตอ้ งไดร้ ับจากภายนอกโดยการรับประทานอาหาร ซ่ึงวตั ามินท่ีสาคญั ต่อ ร่างกายมดี งั น้ี 1. วติ ามนิ เอ ประกอบดว้ ยสาระสาคญั 2 ชนิด ไดแ้ ก่เรตินอล และแคโรทีน ซ่ึงมีส่วนสาคญั ท่ีช่วยในการบารุงสายตา ทาใหก้ ารมองเห็นในเวลากลางคืนดีข้ึน รวมถงึ ช่วยเสริมการสร้างกระดกู และฟัน ช่วยบารุงผวิ ทาใหผ้ วิ ดู สุขภาพดี ช่วยลดการอกั เสบของสิว ลดรอยจุดด่างดา และช่วยส่งเสริมภูมิตา้ นทาน แหลง่ ที่พบ : เน้ือสตั ว์ ไข่แดง ตบั นม เนย ผกั และผลไมท้ ่ีมสี ีเขียวและสีสม้ เช่น ตาลงึ กวางตุง้ ผกั บุง้ คะนา้ มะมว่ งสุก มะละกอสุก มะเขือเทศ ปริมาณที่ควรไดร้ ับ : ปริมาณที่แนะนาใหร้ ับประทานต่อวนั คือ 900 ไมโครกรัมในผชู้ าย และ 700 ไมโครกรัมในผหู้ ญิง อยา่ งไรกต็ ามไม่ควรไดร้ ับเกิน 3,000 ไมโครกรัม 2. วติ ามนิ ดี วิตามนิ ดี ช่วยควบคุมการดูดซึมแคลเซียมและฟอสฟอรัสเขา้ สู่ร่างกาย ส่งเสริมการสร้างกระดกู และ ฟัน ป้องกนั โรคกระดูกพรุนและโรคกระดูกบาง หากขาดวติ ามินดจี ะทาใหป้ วดเมอ่ื ย และเสี่ยงต่อโรค กระดูกพรุน โดยปกติแลว้ ร่างกายของเราสามารถสงั เคราะห์วติ ามินดีไดจ้ ากแสงแดดอ่อนๆ ในตอนเชา้ และ ตอนเยน็ แหลง่ ท่ีพบ : ควรสมั ผสั แสงแดดออ่ นๆ อยา่ งนอ้ ยวนั ละ 15-20 นาที สปั ดาห์ละ 3-5 คร้ัง หรือ รับประทานอาหารจาพวก นม ไข่ น้ามนั ตบั ปลา หรือเน้ือปลาที่มีไขมนั เช่น ปลาแซลมอน ปลาทู ปลาทูน่า หรือจากอาหารเสริม เป็นตน้ ปริมาณที่ควรไดร้ ับ : วนั ละ 5 ไมโครกรัม และไมค่ วรเกินวนั ละ 50 ไมโครกรัม
27 3. วิตามนิ อี วติ ามนิ อี เป็นสารตา้ นอนุมูลอิสระท่ีสาคญั ช่วยชะลอการเส่ือมของเซลล์ กระตุน้ การทางานของระบบ ประสาท ระบบสืบพนั ธุ์ และกลา้ มเน้ือ ช่วยบรรเทาอาการเหน่ือยลา้ และอ่อนเพลยี ช่วยบารุงทาใหส้ ุขภาพ ผวิ เป็นปกติ แหล่งท่ีพบ : ในกลุ่มน้ามนั พชื เช่น น้ามนั ดอกทานตะวนั น้ามนั มะกอก น้ามนั เมลด็ ดอกคาฝอย อลั มอนด์ เป็นตน้ ปริมาณท่ีควรไดร้ ับ : ไมค่ วรเกิน 1,000 ไมโครกรัมต่อวนั 4. วิตามินเค วิตามนิ เค เป็นส่วนประกอบสาคญั ในการแข็งตวั ของเลอื ด ในเด็กที่วิตามินเคในเลอื ดต่า จะมอี าการ เลอื ดออกผดิ ปกติ หากขาดวติ ามินเคจะส่งผลใหเ้ ลือดออกง่าย หรือเลอื ดไหลแลว้ หยดุ ชา้ แหลง่ ที่พบ : ในผกั ใบเขียว มะเขือเทศ ดอกกะหล่า ไข่แดง น้ามนั ถว่ั ตบั เน้ือหมู เป็นตน้ ปริมาณที่ควรไดร้ ับ : 80 ไมโครกรัมต่อวนั 5. วิตามินบี 5.1 วิตามินบี 1 ประกอบดว้ ยสารสาคญั ไทอะมนี ส่วนสาคญั ในการส่งเสริมการทางานของระบบประสาทและ กลา้ มเน้ือ โดยเฉพาะการนากระแสประสาท ช่วยเพ่ิมการเผาผลาญสารอาหารโดยเฉพาะ คาร์โบไฮเดรต ช่วยบารุงผวิ เสน้ ผม และสมอง ป้องกนั โรคเหน็บชา หากขาดจะเกิดอาการกลา้ มเน้ืออ่อน แรงได้ แหลง่ ที่พบ : เน้ือหมู เมลด็ ทานตะวนั ขา้ วซอ้ มมือ ซ่ึงจะพบมากที่เปลือกและจมูกของขา้ ว หากเป็นขา้ ว ขดั สีจะพบปริมาณวิตามนิ บี 1 นอ้ ยกว่าขา้ วซอ้ มมือถึง 10 เท่า ปริมาที่ควรไดร้ ับ : 1.5 มลิ ลิกรัมต่อวนั 5.2 วิตามนิ บี 2 ประกอบดว้ ยสารสาคญั ไรโบฟลาวิน เกี่ยวขอ้ งกบั การสร้างเสน้ ผม เลบ็ และ ผวิ หนงั เป็นสารตา้ นอนุมลู อสิ ระ ท้งั ยงั มสี ่วนช่วยในการทางานของสายตา โดยเฉพาะบริเวณเรตินาของลกู ตา ถา้ ขาดวิตามนิ และแร่ธาตุตวั น้ี จะทาใหเ้ ป็นโรคปากนกกระจอกได้ แหล่งที่พบ : ในอาหารจาพวกขา้ ว ธญั พชื เน้ือสตั ว์ ไข่ นม เคร่ืองในสตั ว์ ตบั ผกั ใบเขียว โยเกิร์ต ขา้ ว โอต๊ ปริมาณท่ีควรไดร้ ับ : 1.2 มิลลกิ รัมต่อวนั
28 5.3 วิตามินบี 3 ประกอบดว้ ยสารสาคญั ไนอาซิน หรือ ไนอาซนิ ามายด์ ช่วยเร่ืองผวิ หนงั แหง้ เมอ่ื เจอแสงแดด ถา้ ขาดมากจะพบอาการทอ้ งเสีย สมองเบลอ เกิดอาการข้ีหลงข้ีลืมได้ แหลง่ ท่ีพบ : ตบั เน้ือสตั ว์ ขา้ วโอต๊ ถว่ั จมกู ขา้ ว ยสี ต์ ผกั ใบเขีย ปริมาณท่ีควรไดร้ ับ : 35 มิลลกิ รัมต่อวนั 5.4 วิตามนิ บี 5 ประกอบดว้ ยสารสาคญั แพนโททินิก แอซิด ช่วยเผาผลาญสารอาหาร เสริมสร้างฮีโมโกลบิน เป็นส่วนสาคญั ของฮอร์โมนและสารสื่อประสาทท่ีมไี ขมนั เป็นส่วนประกอบ แหล่งที่พบ : เน้ือไก่ เน้ือววั ตบั มนั ฝรั่ง เมลด็ ทานตะวนั ปริมาณที่ควรไดร้ ับ : 6 มิลลิกรัมต่อวนั 6. วติ ามินซี เป็นสารตา้ นอนุมลู อิสระ ช่วยในการดูดซึมธาตุเหลก็ ส่งเสริมการสร้างคอลลาเจนใหก้ บั ผวิ หนงั และ เน้ือเยอ่ื ต่างๆ เช่น ผนงั หลอดเลอื ด ช่วยสมานแผล ทาใหผ้ วิ หนงั มสี ุขภาพดี กระตุน้ ระบบภูมคิ ุม้ กนั กระตนุ้ ทาใหเ้ กิดการสร้างกระดูกและฟัน แหลง่ ท่ีพบ : สม้ ดอกกะหล่า บรอกโคลี ผกั โขม แคนตาลปู มะเขือเทศ มะละกอ มนั ฝร่ัง ฝร่ัง สบั ปะรด ปริมาณที่ควรไดร้ ับ : วนั ละ 60 มลิ ลกิ รัม แต่ไม่เกนิ 2,000 มิลลิกรัม 23. อาหารแก้ hypoglycemia ซ่ึงเป็ นภาวะแรกซ้อนของเบาหวาน Hypoglycemia (ภาวะน้าตาลในเลือดต่า) คือ ภาวะท่ีร่างกายมีระดบั น้าตาลในเลือดนอ้ ยกว่า 7มิลลิกรัม/ เดซิลิตร มกั ทาใหเ้ กิดอาการใจสน่ั ออ่ นเพลีย ซ่ึงเกิดข้ึนไดจ้ ากหลายสาเหตุ ภาวะน้าตาลในเลือดต่าน้ันมีโอกาส เกิดข้ึนสูงกบั ผปู้ ่ วยโรคเบาหวานท่ีใชย้ าลดน้าตาลหรือฉีดอินซูลิน ผปู้ ่ วยมีควรมีลกู อม น้าหวานหรือน้าผลไม้ 100% หรือขนมปังแครกเกอร์เกบ็ ไวใ้ กลต้ วั ตลอดเวลา เผอ่ื รับประทานในยามที่มีภาวะ Hypoglycemia 24.รูปแบบอาหาร Ketone, DASH diet, TLC plate model รูปแบบการกนิ อาหารแบบ Ketogenic หรือ Keto Diet เป็นรูปแบบการกินอาหารที่มีผลทาใหร้ ่างกาย เกิดการผลิตสารคีโตน (ketone) โดยหลกั การกนิ ที่สาคญั คือ การกินอาหารที่เนน้ สดั ส่วนของไขมนั ในปริมาณที่ สูง รองลงมาเป็นโปรตีน แต่จากดั การกินคาร์โบไฮเดรตในสดั ส่วนที่ต่ามาก โดยปกติหลงั การกินอาหารร่างกาย
29 จะเผาผลาญคาร์โบไฮเดรตเพอ่ื ใชเ้ ป็นแหล่งพลงั งานใหแ้ ก่ร่างกาย แต่การกินแบบ Ketogenic น้นั เป็นการกิน อาหารท่ีมคี าร์โบไฮเดรตในปริมาณท่ีนอ้ ยมากจึงทาใหร้ ่างกายตอ้ งหาแหลง่ พลงั งานอืน่ โดยเผาผลาญไขมนั มา ใชเ้ ป็นแหลง่ พลงั งานทดแทนเรียกกระบวนการน้ีวา่ คโี ตซิส (Ketosis) ในการศกึ ษาท่ีผา่ นมาการกินอาหารแบบ Ketogenic น้ี ใชเ้ พ่อื ควบคุมอาการชกั ในผปู้ ่ วยเด็กโรคลมชกั รวมถึงใชใ้ นผปู้ ่ วยที่มีความผดิ ปกติของ กระบวนการนาคาร์โบไฮเดรตไปใชเ้ ป็นพลงั งาน แต่ในหลายการศึกษากพ็ บวา่ Ketogenic Diet ช่วยในการ ควบคุมระดบั น้าตาลในผปู้ ่ วยโรคเบาหวานและมผี ลต่อการลดน้าหนกั ดว้ ยเช่นกนั การกินแบบ Ketogenic จะจากดั การใหพ้ ลงั งานอยทู่ ี่ร้อยละ 70-80 ของพลงั งานที่ร่างกายตอ้ งการต่อวนั และแบ่งสดั ส่วนการกินโดยเป็นพลงั งานท่ีไดร้ ับจากคาร์โบไฮเดรตไม่เกินร้อยละ 10 โปรตีนไม่เกินร้อยละ 30 ของพลงั งานท้งั หมด ส่วนที่เหลือเป็นพลงั งานจากไขมนั มากกว่าร้อยละ 60 (สดั ส่วนน้ีอาจแตกต่างกนั ตามแต่ละ ตารา แต่หลกั การเหมอื นกนั คือ เพิ่มการกินไขมนั เป็นพลงั งานหลกั และจากดั สดั ส่วนการกินคาร์โบไฮเดรต) ข้อดขี องการการกนิ แบบ Ketogenic การกินแบบ Ketogenic ทาใหล้ ดน้าหนกั ได้ เนื่องจาก - การกินแบบจากัดพลงั งานรวมท่ีได้รับต่อวนั อยู่ท่ีร้อยละ 70-80 ของพลงั งานท่ีร่างกายต้องการ เพือ่ ใหร้ ่างกายดึงพลงั งานท่ีสะสมในร่างกายออกมาใชน้ ้าหนกั ร่างกายจึงลดลง - ร่างกายมีการสูญเสียน้าเนื่องจากการสลายไกลโคเจน ส่งผลให้น้าหนักตวั ลดลงประมาณ 1-2 กิโลกรัม จากน้าหนกั เริ่มตน้ ในช่วง 2 วนั แรก - ร่างกายมกี ารเพิม่ การสลายไขมนั และลดการสงั เคราะหไ์ ขมนั - ลดความอยากอาหาร ข้อควรระวงั จากการกนิ แบบ Ketogenic 1. ภาวะน้าตาลในเลือดต่า เน่ืองจากขาดน้าและเสียสมดุลแร่ธาตุในร่างกาย ทาให้ร่างกายอ่อนเพลีย เหนื่อยลา้ ไม่มแี รง เวยี นศรี ษะ มึนงง หรือที่เรียกวา่ keto flu ร่างกายจะมีความอยากกินอาหารจากคาร์โบไฮเดรต ขา้ ว แป้ง น้าตาล ซ่ึงจะเกิดรุนแรงในช่วงตน้ ของการเริ่มกินแบบ Ketogenic และจะหายไปภายใน 1-2 สปั ดาห์ 2. นิ่วในไต (kidney stones) ซ่ึงอาจเป็ นโรคที่พบไดไ้ ม่มากนกั แต่เมื่อเวลาผ่านไประยะหน่ึงก็มีความ เสี่ยงท่ีจะเกิดภาวะนิ่วในไตสูงเน่ืองจากระหวา่ งท่ีกินแบบ Ketogenic ปัสสาวะจะมีความเป็นกรดจึงขบั แคลเซียม ทางปัสสาวะสูงกว่าปกติแต่มีซิเตรททางปัสสาวะนอ้ ย ซ่ึงหากมกี ารด่ืมน้านอ้ ยอาจยง่ิ ส่งผลใหเ้ กิดนิ่วในไตได้ 3. มีกล่ินปากและกลนิ่ ตวั แรง เน่ืองจาก acetone ที่ถูกขบั ออกมากบั ลมหายใจและเหง่ือ
30 4. ภาวะแทรกซอ้ นในระบบทางเดินอาหาร เช่น คลื่นไส้ อาเจียน ทอ้ งอืดทอ้ งเฟ้อ อาหารไม่ยอ่ ย กรดไหล ยอ้ น ท้องผูก ทอ้ งเสีย เป็ นต้น ซ่ึงการลดน้าหนักดว้ ยการกินแบบ Ketogenic ผกู้ ินมกั มีปัญหาระบบ ขบั ถ่ายแปรปรวน และการท่ีร่างกายไดร้ ับใยอาหารนอ้ ยลงอาจมผี ลใหอ้ าการทอ้ งผกู เกิดข้ึนได้ รูปแบบการกินอาหารแบบ DASH DIET เป็ นหลกั การบริโภคอาหารเพือ่ ควบคุมภาวะความดนั โลหิตสูง โดยมี หลกั การดงั น้ี 1.รับประทานผกั ผลไม้ และอาหารที่ทาจากนมไขมนั ต่า 2.ละเวน้ การรับประทานอาหารที่มไี ขมนั อิม่ ตวั คอเลสเตอรอล และไขมนั ทรานสใ์ นปริมาณมาก 3.เนน้ รับประทานธญั พืชไมข่ ดั สี ถวั่ สตั วป์ ี ก ปลา และเน้ือสตั วไ์ ม่ติดมนั 4.จากดั ปริมาณการบริโภคโซเดียม ขนมหวาน เคร่ืองดื่มผสมน้าตาล และเน้ือแดง 5.ผทู้ ่ีมีภาวะความดนั โลหิตสูงหรือคิดว่าการบริโภคคาเฟอีนอาจมีผลต่อความดนั โลหิต ตอ้ งปรึกษา แพทยก์ ่อนบริโภคอาหารท่ีมีคาเฟอีน เพราะแมว้ ่า DASH Diet จะไมไ่ ดห้ า้ มบริโภคคาเฟอีน และผลกระทบของ คาเฟอนี ต่อภาวะความดนั โลหิตน้นั ยงั ไม่เป็นท่ีแน่ชดั แต่คาเฟอีนอาจมผี ลใหค้ วามดนั โลหิตเพ่ิมข้ึนไดช้ ว่ั คราว 6.จากดั ปริมาณการดื่มแอลกอฮอล์ เพราะการดื่มแอลกอฮอลม์ ากเกินพอดีมีส่วนทาให้ความดนั โลหิต เพิ่มสูงข้ึนได้ โดยเพศชายไม่ควรเกิน 2 ดื่มมาตรฐาน/วนั และเพศหญิงไม่ควรเกิน 1 ดื่มมาตรฐาน/วนั ซ่ึง 1 ด่ืม มาตรฐานเทียบเท่ากบั เบียร์ปริมาณ 355 มลิ ลิลติ ร หรือไวน์ 148 มลิ ลิลติ ร
31 รูปแบบการกินอาหารแบบ TLC plate model หรือTherapeutic Lifestyle Change diet (TLC diet) เป็ นวิธีการ ดูแลทางโภชนบาบดั ทางการแพทยว์ ิธีหน่ึง ที่มีประสิทธิภาพในการดูแลผปู้ ่ วยท่ีมีภาวะไขมนั ในเลือดผดิ ปกติ โดยมรี ูปแบบท่ีควรบริโภคดงั น้ี สารอาหาร ปริมาณท่ีแนะนาใหบ้ ริโภค Saturated fat Polyunsaturated fat <7% ของพลงั งานที่ไดร้ ับท้งั หมด (Total calories) Monounsaturated fat ไม่เกิน 10% ของพลงั งานท่ีไดร้ ับท้งั หมด Total fat ไม่เกิน 20% ของพลงั งานท่ีไดร้ ับท้งั หมด Cabohydrate 25-35% ของพลงั งานท่ีไดร้ ับท้งั หมด Fiber 50-60% ของพลงั งานท่ีไดร้ ับท้งั หมด Protein 20-30 g/day Cholesterol ประมาณ 15% ของพลงั งานท่ีไดร้ ับท้งั หมด Total calories (energy) <200 mg/day พลงั งานที่ไดร้ ับและพลงั งานที่ใช้ไปควรมีดุลยภาพ เพื่อคงน้าหนักตัวให้พึงปรารถนา/ป้องกนั น้าหนัก เกิน 25.การคานวณพลงั งานอย่างง่าย แบ่งตามกจิ กรรมและ BMI ดัชนีมวลกาย (BMI) กจิ กรรมเบา กจิ กรรมปานกลาง กจิ กรรมหนกั นา้ หนักเกิน 20-25 30 35 นา้ หนักปกติ 30 35 40 นา้ นักตา่ กว่าเกณฑ์ 30 40 45-50 ที่มา : สุนีย์ ฟังสูงเนิน (นกั โภชนาการระดบั ชานาญการ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา)
32 Diabetic Ketoacidosis (DKA) เป็ นภาวะระดบั น้าตาลในเลือดสูงร่วมกบั ภาวะเลือดเป็ นกรด ซ่ึงไม่หายเป็นปกติไดโ้ ดยการกินยาหรือ ฉีดยาอินซูลนิ เพ่มิ เพียงอยา่ งเดียว จาเป็นตอ้ งเขา้ รับการรักษาในโรงพยาบาล บางคร้ังตอ้ งเขา้ ICU เพื่อใหน้ ้าเกลือ ยาอินซูลินเขา้ กระแสเลือด และสารน้าเกลอื แร่ดว้ ยความระมดั ระวงั รักษา 12-24 ชว่ั โมงจึงจะพน้ ภาวะน้ี อาการท่ีบ่งช้ีว่ากาลงั เกิดภาวะ DKA เมอื่ มีภาวะเจบ็ ป่ วยเฉียบพลนั เกิดข้ึน เช่น การติดเช้ือ การผา่ ตดั อุบตั ิเหตุ หรือไดร้ ับยาบางชนิดที่ทาให้ น้าตาลในเลือดสูงข้ึน รวมกบั ไม่สามารถรับประทานอาหารกลมุ่ คาร์โบไฮเดรต(แป้ง น้าตาล)ไดเ้ พียงพอ เช่น มี อาการคล่ืนไสอ้ าเจียน เบื่ออาหาร หรืองดน้างดอาหารเพ่ือเตรียมตวั ผา่ ตดั มีอาการปัสสาวะบ่อย ปริมาณมากข้ึน คอแห้ง กระหายน้า(โดยเฉพาะน้าเยน็ น้าหวาน) อ่อนเพลีย ไมม่ ีแรง คลื่นไส้ อาเจียน หอบเหนื่อย ลมหายใจมี กลิ่นผลไม้ และตรวจพบ ระดบั น้าตาลในเลือดสูงกวา่ 250 มก. ต่อ ดล. รูปแบบการกินอาหารเบาหวานแบบ DKA ขอ้ ควรปฏบิ ตั ิยามเจบ็ ป่ วยสาหรับผปู้ ่ วยเบาหวาน (Sick- day rules) ไดแ้ ก่ เนน้ กินคาร์โบไฮเดรต, ด่ืมน้า มากข้ึน, อยา่ หยดุ ยาฉีดอนิ ซูลิน, ตรวจน้าตาลในเลอื ดบ่อยข้ึน และมาโรงพยาบาลทนั ทีเม่ืออาการไมด่ ีข้ึน 1. เนน้ กินคาร์โบไฮเดรต คือ แนะนาใหร้ ับประทานอาหารอ่อนยอ่ ยง่าย เช่น ขา้ วตม้ โจ๊ก น้าขา้ วผสม เกลือเล็กน้อย แครกเกอร์ หรือขนมปัง ถา้ ไม่สามารถกินอาหารอ่อนได้ แนะนาให้กินอาหารเหลว ที่มี คาร์โบไฮเดรตอยา่ งนอ้ ย 50 กรัม ทุก 3-4 ชม. เช่น น้าผลไมห้ รือโยเกิร์ต ซุปขน้ เป็นตน้ 2. ด่ืมน้ามากข้ึน คือ ด่ืมน้าเปล่าใหเ้ พยี งพออยา่ งนอ้ ย 1 แกว้ ทุก 1 ชว่ั โมง (สาหรับผทู้ ี่มปี ัญหาโรคหวั ใจ หรือโรคไต ควรปรึกษาแพทยเ์ ก่ียวกบั ปริมาณน้าท่ีเหมาะสม 3. อยา่ หยดุ ยาฉีดอินซูลิน หา้ มหยดุ ฉีดยาอนิ ซูลนิ เอง โดยเฉพาะ basal หรือ long-acting insulin 4. ตรวจน้าตาลในเลือดบ่อยข้ึน คือ ตรวจระดบั น้าตาลในเลือดอย่างสม่าเสมอ เช่น ในผปู้ ่ วยเบาหวาน ชนิดท่ีหน่ึง ควรตรวจทุก 4 ชวั่ โมง และในผปู้ ่ วยเบาหวานชนิดที่สอง ควรตรวจอย่างนอ้ ย 4 คร้ังต่อวนั (3 เวลา ก่อนอาหารและก่อนนอน)
33 27. % Weight loss น้าหนักลด/นา้ หนักตัวลด (Weight loss) ในทางการแพทยห์ มายถึง การลดลงของเน้ือเยอ่ื ในร่างกาย ส่วนใหญ่คือ เน้ือเย่ือเก่ียวพนั เช่น ไขมนั กลา้ มเน้ือ และความหนาแน่นกระดูก ท้งั น้ีอาจเกิดโดยไม่ไดต้ ้ังใจ (Unintentional weight loss) กล่าวคือ เกิดจากโรค หรือเกิดจากการต้งั ใจ (Intentional weight loss) ซ่ึงคือ การลด น้าหนกั การอดอาหาร หรือกินยาเพอื่ การลดน้าหนกั โรคท่ีเป็นสาเหตุใหผ้ อมลงหรือน้าหนกั ลด มีไดห้ ลากหลาย โรค ท้งั โรคที่เกิดจากการติดเช้ือและโรคหรือภาวะที่ไม่ไดเ้ กิดจากการติดเช้ือ โดยสาเหตุท่ีทาใหผ้ อมลงมกั เกิด จากอาการของโรคน้นั ๆ โดยอาการสาคญั ที่ทาใหผ้ อมลงคือ การเบื่ออาหาร อาการคลน่ื ไส้ อาการทอ้ ง เสียเร้ือรัง และบางคร้ังแพทยห์ าอาการที่เป็ นตน้ เหตุไม่ได้ แต่หลกั การทวั่ ไปก็คือหากน้าหนักของคุณลดโดยไม่ทราบ สาเหตุ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ เมื่อน้าหนกั ลดลงถึง 4.5 กิโลกรัม หรือ 5% ของน้าหนกั ตวั ภายในหกถึง 12 เดือน ควร ไปพบแพทยท์ ี เพอื่ หาสาเหตุของน้าหนกั ที่ลดลง และสามารถแกไ้ ขไดท้ นั ท่วงที 28.Nutrition diagnosis term การวินิจฉัยทางโภชนาการ (Nutrition Diagnosis) เป็ นข้ันตอนถัดมาหลงั จากการประเมินภาวะ โภชนาการ โดยจะเป็ นการระบุปัญหาทางโภชนาการท่ีนักกาหนดอาหารสามารถแกป้ ัญหาน้นั ๆ ได้ รูปแบบ ของการเขียนคาวินิจฉัยทางโภชนาการ จะใชร้ ูปแบบท่ีเรียกว่า PES (Problem-Etiology-Sign/symptoms) โดย ตามมาตรฐานสากล จะเขียนในรู ปของ “Problem related to etiology as evidenced by sign/symptoms” หรื อ “ปัญหา(…) เน่ืองจาก(…) สงั เกตไดจ้ าก(…)” โดย 1. Problem ปัญหาทางโภชนาการ เป็นการระบุปัญหาท่ีเกิดหรือมีความเส่ียงที่จะเกิดข้ึนในทางโภชนาการ ท่ีนกั กาหนดอาหารพบ หลงั จากประเมินภาวะโภชนาการเรียบร้อยแลว้ 2. Etiology สาเหตุหรือปัจจยั เสี่ยงของปัญหา คือปัจจยั ต่างๆ ที่ส่งผลใหเ้ กิดปัญหาทางโภชนาการ หรือทา ใหป้ ัญหาน้นั ๆ คงอยู่ การวนิ ิจฉัยสาเหตุหรือปัจจยั เส่ียงเป็นข้นั ตอนท่ีสาคญั มาก เนื่องจากจะทาให้นัก กาหนดอาหารสามารถวางแผนการดูแลทางโภชนาการได้ โดยดาเนินการแกไ้ ขที่ตน้ เหตุ ไมว่ ่าจะเป็ น สาเหตุจากการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม หรือปัจจยั แวดลอ้ มท่ีส่งผลใหเ้ กิดปัญหา และนอกจากน้ี ปัญหาทางโภชนาการปัญหาหน่ึง อาจเป็นสาเหตุของการเกิดอีกปัญหาหน่ึงได้ การวเิ คราะหห์ าสาเหตุท่ี ถูกตอ้ ง จะทาใหน้ ักกาหนดอาหารสามารถลาดบั การดูแลทางโภชนาการไดอ้ ยา่ งเหมาะสม โดยการ เรียงลาดบั ของปัญหา จะตอ้ งเรียงลาดบั จากความสาคญั และความเร่งด่วนของปัญหาแต่ละปัญหาก่อน เสมอ
34 3. Signs/Symptoms อาการแสดง คือตวั แปรต่างๆ ที่เป็นขอ้ มลู จากการประเมนิ ภาวะโภชนาการ ที่เกี่ยวขอ้ ง หรือแสดงใหเ้ ห็นถึงปัญหาที่เกิดข้ึน รวมถึงระบุความรุนแรงของปัญหาน้ันๆ ดว้ ย โดยอาจเป็นขอ้ มูล รูปธรรม (objective) หรือนามธรรม (subjective) กไ็ ด้ การระบุสญั ญาณและอาการแสดงท่ีถูกตอ้ ง จะทา ให้นักกาหนดอาหารสามารถแก้ไขปัญหา และเลือกตวั ช้ีวดั ในการติดตามและประเมินผลไดอ้ ย่าง เหมาะสม 29.อาหารสาหรับผู้ป่ วยธาลสั ซีเมยี โรคธาลสั ซีเมยี (Thalassemia) เป็นโรคโลหิตจางท่ีเกิดจากความผดิ ปกติทางพนั ธุกรรม ทาใหเ้ มด็ เลอื ด แดงมีอายุส้นั แตกง่าย ถกู ทาลายไดง้ ่าย มภี าวะธาตุเหลก็ เกิน เพราะฉะน้นั ตอ้ งไดร้ ับยาขบั เหล็กตลอดชีวติ ผทู้ ี่ เป็ นโรคน้ีไมต่ อ้ งกงั วลอะไร แค่ตอ้ งดูแลสุขภาพของตนเองอยา่ งดี ใส่ใจตวั เองทุกรายละเอียดเลยเท่าน้นั ไม่ว่า จะเป็ นเร่ืองอาหารการกิน ยา อาหารเสริมต่าง ๆ หรือเรื่องของการออกกาลงั กาย เท่าน้ีกส็ ามารถอยใู่ นสงั คมได้ เหมือนคนทว่ั ไป อาหารที่เหมาะสม สาหรับผปู้ ่ วยโรคธาลสั ซีเมยี ไดแ้ ก่ อาหารท่ีมีโปรตีนสูง เช่น เน้ือปลาทะเล เน้ือไก่ ธญั พืชต่างๆ เช่น ถว่ั เหลือง ถว่ั เขียว ขา้ วกลอ้ ง ขา้ วบาเลย์ อาหารท่ีมีแคลเซียม แมกนีเซียม และวิตามนิ ดีสูง เพ่ือ ป้องกนั ภาวะกระดูกพรุน เช่น ผลิตภัณฑ์นม ใบยอ ผกั โขม ใบสะระแหน่ ใบตาลึง ผกั กวางตุ้ง ผลไม้ เช่น ส้มเขียวหวาน มะขามหวาน และควรรับประทานอาหารท่ีมีวิตามินเอ วิตามินซี และวิตามินอีสูง เช่น มะยม ผกั หวาน ฝร่ัง เป็นตน้ อาหารที่ควรหลีกเลยี่ ง ผปู้ ่ วยท่ีมีความรุนแรงของโรคมาก และปานกลาง ควรหลีกเลีย่ งอาหารที่มีธาตุ เหลก็ สูง เช่น เน้ือววั เน้ือหมู เครื่องในสตั ว์ ผลิตภณั ฑจ์ ากเลอื ด หอยชนิดต่าง ๆ เมลด็ ฟักทอง งาดา งาขาว ดาร์ก ช็อกโกแลต
34
34
Search
Read the Text Version
- 1 - 39
Pages: