Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กฎหมายการศึกษา

กฎหมายการศึกษา

Description: กฎหมายการศึกษา

Search

Read the Text Version

กฎหมายการศึกษา กฎหมาย ความหมายวิชาชีพครู การศึกษา สรุปย่อ กฎหมายท่เี ก่ียวข้องกบั การศึกษา

วชิ าชพี ครู 1 บุค คล ซ่ึ งปร ะกอ บ วชิ าชีพหลกั ทางด้านการเรียน การสอน และส่งเสริมการ เรียนร้ขู องผู้เรียนด้วยวิธีการ ต่าง ๆ ผู้ประกอบวชิ าชพี 2 ทางการศกึ ษา บุคคลท่ีปฎิบัติงานในตาแหน่ง หมายถึง ครู,ผู้บริหารสถานศึกษา ผ้บู ริหาร เชน่ ผอ. รัฐ,เอกชน ผู้บรหิ ารการศึกษา บุคลากรทางการศึกษาอ่ืนซ่ึงมีใบ ประกอบวิชาชีพ 2546 3 ผ้บู ริหาร สถานศกึ ษา

ผู้บริหารการศึกษา 4 ผู้บริหารระดับเขตพืน้ ที่ การศึกษา เชน่ ผอ.เขต 5 บุคลากรทางการศึกษา บุคคลทีท่ าหนา้ ท่ี สนบั สนุนการศึกษา เชน่ นเิ ทศศึกษา ตอ้ งมีวฒุ ิทางการศกึ ษา

กฎหมายทเี่ ก่ียวขอ้ งกับการศกึ ษา กฎหมายเก่ยี วกับการศึกษาในปจั จบุ ัน ได้แก่ พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพ่ิมเตมิ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ.2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553 จดุ มงุ่ หมายและหลกั การ รปู แบบการจดั การศกึ ษา หนา้ ทข่ี องรฐั ในการจดั การศกึ ษา แนวทางการจดั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน สทิ ธิและหนา้ ทขี่ องบดิ ามารดาหรอื ผปู้ กครอง

กฎหมาย หมายถงึ บทบัญญัติซ่งึ มีอานาจสงู สดุ ในประเทศไทยตราข้ึนไว้ เพือ่ ใช้ในการบรหิ าร บ้านเมอื งและบังคบั บคุ คลในความสัมพนั ธ์ ระหว่างกนั ผูใ้ ดฝา่ ฝนื ตอ้ งไดร้ ับโทษหรือต้องถกู บังคับให้ปฏบิ ตั ิ ตาม (พจนานุกรมฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน. 2525: 3) การศกึ ษา หมายถงึ การเล่าเรียนฝกึ ฝนและอบรม (พจนานกุ รมฉบับราชบัณฑิตยสถาน. 2525:772) เมอื่ นา ความหมายของคา ทั้ง สองมารวมกนั แล้ว สามารถสรปุ ได้วา่ กฎหมายการศกึ ษา หมายถึง กฎ ระเบยี บ ประกาศและคาสัง่ ตา่ ง ๆ เกย่ี วกับ การศกึ ษา

กฎหมายที่เก่ยี วข้องกบั การศกึ ษา ประกอบดว้ ย 1. พระราชบัญญตั ิ การศกึ ษาแห่งชาติ 2542 และท่ี แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ 2545 และ2551 2. พระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคบั พ.ศ. 2545 3. พระราชบัญญตั ิ ระเบยี บข้าราชการครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2547 4. พระราชบัญญตั ิ ส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตาม อธั ยาศัย พ.ศ.2551 5. พระราชบัญญัตกิ ารจัดการศึกษาสาหรบั คนพกิ าร พ.ศ.2551

พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ 2542 ใหไ้ ว้ ณ วันที่ 14 สงิ หาคม 2542 ประกาศ ณ วันท่ี 19 สงิ หาคม 2542 มผี ลบังคบั ใช้เมือ่ วนั ที่ 20 สิงหาคม 2542 รฐั มนตรกี ระทรวงศกึ ษาธกิ าร รกั ษาการ สรปุ ย่อ พระราชบญั ญัติการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 มี 9 หมวด 78 มาตรา 1 บท เฉพาะกาล เกดิ จากหมวด 5 มาตรา 81 ของกฎหมายรฐั ธรรมนญู (จัดใหม้ กี ฎหมายเกย่ี วกบั การศึกษาแห่งชาติ)

หมวดท่ี 1 บททั่วไป ความมงุ่ หมาย และหลกั การ ( มาตรา 1 – 9 )

มาตรา 6 การจดั การศกึ ษาตอ้ งเปน็ ไปเพือ่ พฒั นาคนไทย ให้เป็นมนุษยท์ ่ี สมบูรณ์ ท้งั ร่างกาย จติ ใจ สติปญั ญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรม และวฒั นธรรมในการดารงชวี ิต สามารถอยรู่ ว่ มกับผู้อน่ื ได้อยา่ งมคี วามสขุ มาตรา 8 หลกั การจดั การศึกษา มีองค์ประกอบ ดงั นี้ 1. เป็นการศกึ ษาตลอดชีวติ สาหรับประชาชน 2. ใหส้ ังคมมสี ว่ นร่วม ในการจัดการศกึ ษา 3. การพฒั นาสาระ และกระบวนการเรยี นรู้ ใหเ้ ป็นไปอย่างต่อเนื่อง

หมวดท่ี 2 สิทธิ และหนา้ ทที่ างการศกึ ษา ( มาตรา 10 – 14 )

มาตรา 10 การจัดการศึกษา ต้องจดั ให้บุคคลมีสิทธิ และโอกาสเสมอกนั ในการรับการศกึ ษา ขน้ั พน้ื ฐาน ไม่น้อยกวา่ 12 ปี ทรี่ ฐั ต้องจัดให้ อย่างทวั่ ถงึ มีคณุ ภาพ และไมเ่ กบ็ คา่ ใชจ้ า่ ย - การศกึ ษาสาหรับคนพกิ าร รัฐต้องจดั ใหต้ ัง้ แตแ่ รกเกดิ หรอื พบความพิการ โดยไมเ่ สียคา่ ใช้จ่าย มสี ิทธไิ ด้รบั ส่งิ อานวยความสะดวก สื่อ บริการ และ ความชว่ ยเหลือ - บุคคลทมี่ คี วามสามารถพเิ ศษ รัฐตอ้ งจัดด้วยรูปแบบท่ีเหมาะสม โดย คานึงถงึ ความสามารถของบุคคล ( ความแตกตา่ งระหว่างบุคคล )

มาตรา 13 บดิ ามารดา หรอื ผปู้ กครอง มีสทิ ธไิ ด้รับสทิ ธิประโยชน์ ( การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ) 1 การสนับสนุนจากรัฐ ใหม้ คี วามรู้ ความสามารถในการอบรมเล้ียง ดู และการศึกษาบตุ ร 2. เงินอุดหนุนการจดั การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน 3. การลดหยอ่ น หรอื ยกเวน้ ภาษี สาหรบั คา่ ใช้จ่ายการศึกษา มาตรา 14 บุคคล ครอบครวั ชมุ ชน องค์กรชมุ ชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และอนื่ ๆ มีสทิ ธิ ได้รบั สิทธปิ ระโยชน์ ( การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ) 1. การสนบั สนุนจากรัฐ ให้มคี วามรู้ ความสามารถในการอบรมเล้ยี ง ดู และการศกึ ษาบตุ ร 2. เงนิ อุดหนุนการจัดการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน 3. การลดหย่อน หรอื ยกเว้นภาษี สาหรบั คา่ ใชจ้ า่ ยการศึกษา

หมวดที่ 3 ระบบการศกึ ษา ( มาตรา 15 – 21 )

มาตรา 15 ระบบการศกึ ษา มี 3 ระบบ 1.การศกึ ษาในระบบ เป็นการศึกษาทีก่ าหนดจุดมุ่งหมาย วิธกี ารศึกษา หลักสูตร ระยะเวลา ของการศึกษา การวดั ผล และประเมนิ ผล ซ่ึงเปน็ เงอ่ื นไขของการสาเรจ็ การศึกษาที่ แนน่ อน 2.การศกึ ษานอกระบบ เปน็ การศึกษาท่ีมีความ ยดื หยนุ่ ในการกาหนด จุดมงุ่ หมาย วิธกี ารศึกษาหลักสตู ร ระยะเวลาของการศึกษาการวดั และ ประเมินผล ซ่ึงเปน็ เงื่อนไขการสาเร็จการศกึ ษา 3.การศกึ ษาตามอธั ยาศยั เป็นการศึกษาท่ใี ห้ผู้เรยี นได้เรียนรู้ดว้ ยตนเอง ตามความสนใจ

มาตราท่ี 16 การศกึ ษาในระบบ มี 2 ระดบั คอื 1.การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน จัดใหไ้ มน่ อ้ ยกวา่ 12 ปี กอ่ นอดุ มศึกษา 2.การศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษา ระดบั ตา่ กว่าปรญิ ญา และระดับ ปริญญา มาตรา 17 การศกึ ษาขนั้ บงั คบั จานวน 9 ปี โดยเดก็ อายยุ ่างเข้า ปีที่ 7 เข้าเรยี นในสถานศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน จนอายุยา่ งเขา้ ปีท่ี 16 เวน้ แตส่ อบไดช้ น้ั ปที ่ี 9 ของ การศกึ ษาภาคบงั คับ มาตรา 18 การจดั การศกึ ษาปฐมวยั และการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ให้ จดั ในสถานศกึ ษา ดังนี้ 1.สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั เชน่ ศนู ยเ์ ด็กเลก็ ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ 2.โรงเรยี น เชน่ โรงเรยี นรัฐ / เอกชน 3.ศูนยก์ ารเรยี น

หมวด 4 แนวการจดั การศึกษา (มาตรา 22 – 30) เป็นหวั ใจของ พ.ร.บ. การศกึ ษาแหง่ ชาติ

มาตรา 22 การจดั การศึกษายดึ หลกั วา่ ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถ เรยี นรู้ และพฒั นาตนเองได้ และถอื วา่ ผเู้ รยี นสาคญั ทส่ี ดุ กระบวนการ จัดการศกึ ษาตอ้ งส่งเสริมใหผ้ ู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ และ เต็มตามศกั ยภาพ มาตราที่ 23 จดุ เนน้ ในการจดั การศกึ ษา ( ท้ัง 3 ระบบ ) 1.ความรู้ คุณธรรม 2. กระบวนการเรยี นรู้ 3. บรู ณาการ ตามความเหมาะสม ดังนี้ •ความรเู้ กีย่ วกบั ตนเอง และความสมั พนั ธ์ของตนเองกับสังคม รวมถึง ประวัตคิ วามเป็นมาของสังคมไทย และระบอบการปกครอง •ความรู้ และทกั ษะด้านวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี •ความรเู้ กี่ยวกับศาสนา ศิลปะวฒั นธรรม การกฬี า ภูมปิ ญั ญาไทยและ การประยุกตใ์ ชภ้ ูมปิ ัญญา •ความรู้ และทักษะดา้ นคณิตศาสตร์ และดา้ นภาษา เนน้ การใชภ้ าษาไทย อยา่ งถกู ตอ้ ง •ความรู้ และทกั ษะในการประกอบอาชีพ และการดารงชีวิตอย่างมี ความสุข

มาตรา 25 รฐั สง่ เสรมิ การจัดต้งั แหลง่ เรยี นร้ตู ลอดชวี ติ มาตรา 26 ใหส้ ถานศึกษาจดั ประเมนิ ผเู้ รยี น ควบคกู่ บั กระบวนการ เรยี นการสอน ( โดยถือวา่ การประเมนิ ผล เปน็ สว่ นหนงึ่ ของการจดั การศกึ ษา และเป็นหนา้ ทข่ี องสถานศกึ ษา ) มาตรา 27 คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน กาหนด หลกั สตู ร แกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน มาตรา 30 สถานศกึ ษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มี ประสทิ ธิภาพ ส่งเสริมผสู้ อนให้ สามารถวจิ ัย เพอื่ พัฒนาผเู้ รียน

หมวด 5 การบริหาร และการจดั การศกึ ษา ( มาตรา 31 – 46 )

สว่ นที่ 1 การบรหิ าร และการจัดการศึกษาของรฐั มาตรา 32 การจดั ระเบยี บบริหารราชการในกระทรวง ที่เป็นองคก์ รหลกั ทเ่ี ปน็ คณะ บคุ คลในรปู สภา จานวน 4 องคก์ ร คอื ( ข้อสอบแน่ ๆ ) 1.สภาการศกึ ษา มหี น้าที่ •พิจารณา เสนอแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ กับการศกึ ษาทุกระดับ •พิจารณาเสนอนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษา •พจิ ารณาเสนอนโยบาย และแผน ในการสนับสนุนทรัพยากร เพอ่ื การศึกษา •ดาเนนิ การประเมินผลการจัดการศึกษา •ใหค้ วามเห็น และคาแนะนาเกี่ยวกับกฎหมาย และกฎกระทรวง •คณะกรรมการสภาการศกึ ษา ( จานวน 59 คน ) ประกอบด้วย •ประธานกรรมการ รฐั มนตรกี ระทรวงศึกษาธกิ าร •กรรมการโดยตาแหน่ง •ผูแ้ ทนองคก์ ร เอกชน •ผแู้ ทนองคก์ รปกครองส่วน ทอ้ งถน่ิ •ผแู้ ทนองคก์ ร วิชาชพี •ผู้แทนคณะ สงฆ์ •ผู้แทนศาสนา อิสลาม •ผูแ้ ทน ศาสนาอน่ื •ผูท้ รงคุณวฒุ ิ ไม่น้อยกวา่ กรรมการประเภทอ่ืนรวมกัน ( 30 คน ) •เลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา เปน็ กรรมการ และเลขานกุ าร ( เปน็ นติ บิ คุ คล )

2.คณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน มหี น้าที่ พิจารณา เสนอแผนพฒั นา มาตรฐาน และ หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน สอดคล้องกบั แผนพฒั นา เศรษฐกิจ และสังคมแหง่ ชาติ และแผนการศึกษาแหง่ ชาติ การสนบั สนนุ ทรพั ยากร การตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศกึ ษาข้ัน พน้ื ฐาน คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ประกอบดว้ ย กรรมการโดยตาแหน่ง ( ปลัดกระทรวง / เลขาฯ สภา / เลขาฯ อุดมศกึ ษา / เลขาฯ อาชวี ศกึ ษา / เลขาฯ ครุ สุ ภา / ผอ.สานกั งบประมาณ / ผอ.สานกั สอนวทิ ย์ และเทคโนฯ / ผอ.สานกั รบั รอง มาตรฐาน และประกันคุณภาพ) •ผ้แู ทนองค์กรเอกชน •ผแู้ ทนองค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ •ผู้แทนองค์กรวิชาชพี ( ไม่มีผแู้ ทนศาสนา ) •ผ้ทู รงคณุ วุฒิ ไม่น้อยกวา่ กรรมการประเภทอื่นรวมกนั ( 12 คน และ ผแู้ ทนพระ 1 รูป ) •เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน เปน็ กรรมการ และ เลขานกุ าร ( เป็นนติ บิ คุ คล ) •คณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ( ลักษณะคลา้ ยกนั กบั คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ) •คณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา ( ลักษณะคลา้ ยกนั กบั คณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน )

มาตรา 37 การบรหิ าร และการจัดการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ใหย้ ึดเขตพ้นื ที่การศกึ ษา โดยคานงึ ถงึ 1.ปริมาณสถานศกึ ษา 2.จานวนประชากร 3.วัฒนธรรม 4.ความเหมาะสมดา้ นอน่ื ๆ รัฐมนตรกี ระทรวง โดยคาแนะนะของ สภาการศกึ ษา มีอานาจประกาศใน ราชกิจจานเุ บกษา กาหนดเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา

มาตรา 38 คณะกรรมการเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา มอี านาจในการ กากบั ดูแล จดั ตงั้ ยุบ รวม หรอื เลกิ สถานศกึ ษา คณะกรรมการเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา ( จานวน 15 คน ) ประกอบดว้ ย •ผู้แทนองคก์ รชุมชน •ผู้แทนองค์กรเอกชน •ผแู้ ทนองคก์ รส่วนทอ้ งถน่ิ •ผแู้ ทนสมาคมผ้ปู ระกอบวชิ าชพี ครู •ผู้แทนสมาคมผู้ประกอบวิชาชพี บรหิ ารการศกึ ษา •ผู้แทนสมาคมผูป้ กครอง และครู •ผทู้ รงคุณวุฒิ •ผู้อานวยการเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา เปน็ กรรมการ และเลขานกุ าร •คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ประกอบด้วย •ผู้แทนผูป้ กครอง •ผแู้ ทนครู •ผู้แทนองค์กรชมุ ชน •ผแู้ ทนองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ •ผ้แู ทนศษิ ย์เกา่ •ผู้แทนพระภกิ ษ/ุ องค์กรศาสนาอืน่ •ผทู้ รงคุณวฒุ ิ •ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา เป็นกรรมการ และเลขานกุ าร

ส่วนท่ี 2 การบรหิ าร และการจัดการศึกษาขององคก์ ร ปกครองส่วนท้องถ่ิน มาตรา 41 องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น มีสิทธิจัดการศกึ ษาไดท้ ุกระดับ สว่ นที่ 3 การบรหิ าร และการจัดการศึกษาของเอกชน มาตรา 44 สถานศกึ ษาเอกชน เปน็ นิติบคุ คล •คณะกรรมการสถานศกึ ษาเอกชน ประกอบด้วย •ผบู้ ริหารสถานศึกษาเอกชน •ผ้รู บั ใบอนญุ าต •ผู้แทนผูป้ กครอง •ผแู้ ทนองคก์ รชมุ ชน •ผูแ้ ทนครู •ผู้แทนศิษย์เกา่ ( ไมม่ ผี ูแ้ ทน องคก์ รสว่ นทอ้ งถนิ่ และ ศาสนา ) •ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ มาตรา 45 สถานศึกษาเอกชน มสี ทิ ธจิ ัดการศกึ ษาไดท้ ุกระดบั

หมวดที่ 6 มาตรฐาน และการประกนั คณุ ภาพทางการศึกษา ( มาตรา 47 – 51 )

มาตรา 47 ให้มีระบบประกนั คณุ ภาพทางการศึกษา เพอ่ื พฒั นาคุณภาพ และมาตรฐานการศกึ ษา ทุกระดบั ประกอบดว้ ย ระบบการประกนั คณุ ภาพภายใน และระบบการประกนั คณุ ภาพภายนอก มาตรา 48 ใหห้ น่วยงานตน้ สังกัด และสถานศกึ ษา จดั ใหม้ ีระบบการประกัน คณุ ภาพภายใน โดยให้ถือวา่ การประกันคณุ ภาพภายใน เปน็ ส่วนหน่ึงของกระบวนการบริหารการศึกษา ดาเนินการอย่างตอ่ เนอ่ื ง จัดทารายงานประจาปีเสนอหนว่ ยงานต้นสังกดั / หน่วยงานท่ีเกย่ี วขอ้ ง เปิดเผยต่อสาธารณชน

มาตรา 49 ใหม้ ี สานักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพทาง การศกึ ษา มีฐานะเปน็ องค์กรมหาชน มหี น้าทพ่ี ฒั นาเกณฑ์ วิธีการ และทาการประเมิน คณุ ภาพภายนอก เพือ่ ตรวจสอบ คุณภาพ ของสถานศกึ ษา อยา่ ง นอ้ ย 1 ครงั้ ในทกุ 5 ปี นบั แตป่ ระเมนิ ครั้งสดุ ท้าย และเสนอผลต่อ หนว่ ยงานท่เี กยี่ วขอ้ ง และสาธารณชน มาตรา 51 กรณีผลการประเมนิ ภายนอกของสถานศกึ ษา ไม่ได้มาตรฐานให้ สมศ. จัดทาข้อเสนอแนะ การปรบั ปรุงแก้ไขต่อ หน่วยงานต้นสังกดั เพ่อื ใหส้ ถานศกึ ษาปรบั ปรุงแกไ้ ขภายในเวลาที่ กาหนด หากไม่ดาเนินการให้รายงานตอ่ คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน

หมวดที่ 7 ครู คณาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ( มาตรา 52 – 57 )

มาตรา 53 ใหม้ ีองคก์ รวชิ าชีพครู ผู้บรหิ ารสถานศึกษา และผบู้ รหิ าร การศึกษา มฐี านะเป็นองคก์ รอสิ ระ ภายใต้การบริหารของสภาวชิ าชีพ มีอานาจ ( ทาใหเ้ กดิ พ.ร.บ.สภาครู ฯ ) •กาหนดมาตรฐานวชิ าชพี / ออก และเพกิ ถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชพี กากับดูแลการปฏบิ ัตติ ามมาตรฐาน และจรรยาบรรณของวิชาชพี / พัฒนา วชิ าชพี •ครู ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ผูบ้ รหิ ารการศกึ ษา และบคุ ลากรทางการศกึ ษาอน่ื ท้งั ของรฐั และเอกชนต้องมีใบประกอบวิชาชีพ ยกเวน้ •บคุ ลากรท่ีจดั การศกึ ษา ตามอธั ยาศยั •ผบู้ ริหารการศึกษาระดับเหนือเขตการศกึ ษา •วทิ ยากรพิเศษทางการศึกษา •คณาจารย์ ผบู้ ริหารสถานศึกษา ผูบ้ ริหารการศกึ ษา ในระดบั อุดมศึกษา ระดบั ปริญญา

หมวดที่ 8 ทรัพยากร และการลงทนุ เพื่อการศึกษา ( มาตรา 58 – 62 )

มาตรา 59 บรรดาอสังหาริมทรพั ยข์ องสถานศกึ ษาของรัฐ ทเ่ี ป็นนติ ิ บุคคลไดม้ า โดยมีผอู้ ุทิศใหห้ รือซอื้ แลกเปลีย่ นจากรายได้ของ สถานศกึ ษาไมถ่ อื เปน็ ทรี่ าชพสั ดุ ให้เปน็ กรรมสทิ ธข์ิ องสถานศกึ ษา •บรรดารายได้ และผลประโยชน์ต่าง ๆ ไมเ่ ปน็ รายไดท้ ต่ี อ้ งนาสง่ กระทรวงการคลงั ให้จัดสรรเป็นค่าใช้จา่ ยในการจดั การศกึ ษาได้

หมวดที่ 9 เทคโนโลยี เพื่อการศกึ ษา ( มาตรา 63 – 69 )

มาตรา 63 รฐั ต้องจดั คลื่นความถ่ี สื่อตวั นา โครงสร้างพื้นฐานอน่ื ท่จี าเปน็ ต่อการส่งวทิ ยกุ ระจายเสียง โทรทัศน์ เพอื่ ใชป้ ระโยชน์ สาหรบั การศึกษา มาตรา 64 รฐั สง่ เสริม และสนบั สนนุ การผลติ และพัฒนา แบบเรยี น โดนเปดิ ใหม้ กี ารแข่งขนั โดยเสรีอยา่ งเป็นธรรม

บทเฉพาะกาล ( มาตรา 70 – 78 ) มาตรา 70 บรรดา กฎหมาย กฎ ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั ที่ใชบ้ งั คับอยู่ ใหใ้ ช้ ต่อไป แตไ่ มเ่ กนิ 5 ปี นับแตว่ นั ที่ พ.ร.บ. บี้ บงั คบั ใช้ มาตรา 71 กระทรวง ทบวง กรม หนว่ ยงานทางการศกึ ษา และสถานศกึ ษา ทมี่ ี อยูใ่ นวนั ท่ี พ.ร.บ.บังคบั ใช้ ใหใ้ ช้ต่อไป แตไ่ มเ่ กนิ 3 ปี นบั แตว่ นั ที่ พ.ร.บ. น้ี บังคบั ใช้ มาตรา 72 ห้ามมิให้ใช้ มาตรา 10 ( การศกึ ษาพ้ืนฐานไมน่ ้อยกวา่ 12 ปี ) มาบังคับใช้ จนกว่าจะมกี ารดาเนินการให้เปน็ ไปตาม พ.ร.บ. แตต่ อ้ งไม่เกนิ 5 ปี นบั แตว่ ันทีร่ ัฐธรรมนูญบงั คบั ใช้ •ภายใน 6 ปี นบั แตว่ ันท่ี พ.ร.บ.น้บี งั คบั ใช้ ใหม้ กี ารประเมนิ ภายนอกทุก แห่ง ( 2548 ) มาตรา 75 ใหจ้ ัดตงั้ สานกั งานปฏริ ปู ทางการศกึ ษา เป็นองคก์ รมหาชนเฉพาะกจิ มาตรา 76 คณะกรรมการบรหิ ารสานกั งานปฏริ ปู การศกึ ษา จานวน 9 คน มีวาระดารงตาแหน่งวาระเดยี ว 3 ปี เมอื่ ครบแล้วยุบตาแหน่ง และสานักงาน

พระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาภาคบงั คบั พ.ศ. 2545 พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2545 ฉบับน้ีมีวัตถุประสงค์ คือ ต้องการเน้นย้าว่า การจัดการศึกษาต้อง เป็นไป เพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็น มนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรม ในการ ดารงชีวิต สามารถอยกู่ ับผอู้ ืน่ ไดอ้ ย่างมีความสุข เรียกยอ่ ๆ ว่า ( เกง่ ดี มีความสขุ ) พระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับพ.ศ.2545 ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ เก่ียวกับ การจากัดสิทธิ และเสรี ภาพของบุคคล ซ่ึงมาตรา 29 ประ กอบกั มาตรา 35 และ มาตรา 50 ของรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักร ไทย บญั ญัตใิ หก้ ระทาได้โดยอาศัย อานาจตามบท บัญญัติ แห่งกฎหมาย เพอื่ ใหเ้ ด็กทกุ คนได้รับการศึกษาอย่างท่ังถงึ และเปน็ ธรรม

พระราชบัญญตั ิ ระเบยี บข้าราชการครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2547 พระราชบญั ญตั ริ ะเบียบขา้ ราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 มวี ัตถปุ ระสงคค์ อื บอกคณุ สมบตั ิ สทิ ธหิ นา้ ท่ีการ ปฏิบตั ิงานและสทิ ธิ การได้รบั การคุมครองของ ครแู ละบุคลากร ทางการ ศึกษา

พระราชบัญญตั ิ สง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั พ.ศ.2551 พระราชบัญญัติ สง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั พ.ศ.2551 มีวัตถุประสงคเ์ พื่องส่งเสริมการศึกษากับเด็กทุกคน เนื่องจากเดก็ บาง คนอาจจะมเี หตผุ ลส่วนตวั ทีท่ าให้ไมส่ ามารถเข้าศกึ ษาในระบบได้ รัฐจงึ มีหน้าท่ี สนับสนุน

พระราชบญั ญัตกิ ารจดั การศึกษา สาหรับคนพิการ พ.ศ.2551 พระราชบัญญัตกิ ารจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ พ.ศ.2551 มีวัตถุประสงค์ คือ สามารถพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ของคนพกิ ารให้ สามารถประกอบอาชพี ดแู ลตวั เองได้ และใหเ้ ปน็ ภาระของครอบครวั ให้นอ้ ย ทส่ี ดุ สุดท้ายคือ ทาให้ เดก็ รูส้ ิทธปิ ระโยชน์ ทาง การศกึ ษา ท่ตี นควรได้รับ

ผจู้ ดั ทา นายพีรวิชญ์ ปัญญาดิบวงศ์ สาขาวิชาฟสิ ิกส์ รหัสนกั ศกึ ษา 60181590138


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook