Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Digital citizenship pdf

Digital citizenship pdf

Description: Digital citizenship pdf

Keywords: รู้เท่าทันสื่อ

Search

Read the Text Version

01 02หลกั การและเหตุผล 03 วตั ถปุ ระสงคแ์ ละ เปา้ หมาย 04วิธกี ารดาเนนิ การ ระยะเวลาและ 05 งบประมาณ 06ผลท่คี าดว่าจะไดร้ บั การตดิ ตามและ ประเมินผล

หลักการ และเหตุผล

สานักงานสถิติแห่งชาติได้ทาการสารวจประชากรอายุ ต้ังแต่ 6 ปีขึ้นไป ในเร่ืองของการใช้คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต และโทรศัพท์มือถือ จาแนกตามระดับ การศึกษา พบว่ากลุ่มคนที่ใช้คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต และโทรศพั ทม์ อื ถอื สงู ทส่ี ุดกค็ ือกลุ่มคนในระดับอุดมศกึ ษา ซ่ึงมากถึงร้อยละ 71.70 , 95.10 และ 99.50 ตามลาดับ (สานักงานสถิติแห่งชาติ, กระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจ และสังคม, 2561) เหตุท่ีเป็นเช่นน้ีเนื่องจากนักศึกษา เติบโตและใช้ชีวิตอยู่ท่ามกลางเทคโนโลยีดิจิทัล สามารถ เข้าถึงได้ทุกที่และทุกเวลา และถึงแม้ว่าเทคโนโลยีดิจิทัล จะช่วยอานวยความสะดวกและนามาซ่ึงประโยชน์ที่ มากมาย แต่อย่างไรก็ตามก็นามาซ่ึงความเส่ียงมากมาย หลากหลายรูปแบบ จากผลการวิจัยของแพทย์หญิง พรรณพิมล วิปุลากร ช้ีให้เห็นว่ากลุ่มวัยรุ่นแสดง พฤติกรรมที่เป็นความเสี่ยงมากข้ึน จึงก่อให้เกิดปัญหา ความรนุ แรงเพมิ่ ขึน้ ตามมาไม่ว่าจะเป็น การกลั่นแกล้ทาง ไซเบอร์(Cyberbullying) การพนันออนไลน์ การ หลงเช่ือโฆษณาชวนเชื่อ การด่าทอกันในโลกออนไลน์ หรือที่เรียกกันอีกอย่างว่าโลกเสมือนจริง ทาให้นามาซึ่ง ปัญหาการทะเลาะววิ าทกันในชีวิตจริง อีกทั้งอิทธิพลของ เทคโนโลยีดิจิทัลทาให้เกิดสังคมก้มหน้า ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างครอบครัวและคนรอบข้างน้อยลง การรับรู้ เรื่องราวจากสังคมภายนอกเพิ่มมากข้ึน ซ่ึงนั่นส่งผลต่อ การใช้ชีวิต กระบวนการคิด ภาวะทางอารมณ์ การยับย้ัง ช่งั ใจ และการตดั สินใจโดยพลการ

ดังน้ันจึงได้จัดทาโครงการ Digital citizenship พลเมืองยุคใหม่ หัวใจดิจิทัล ตอน รู้เท่าทันส่ือ เพ่ือส่งเสริมให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ บ ท บ า ท แ ล ะ ห น้ า ที่ ข อ ง พ ล เ มื อ ง ดิ จิ ทั ล ท่ี ดี เกิดความตระหนักในความเป็นพลเมืองดิจิทัลที่ดีใน ฐานะสมาชิกของโลกออนไลน์และสร้างเสริมความ ฉลาดทางดิจิทัล ทั้งน้ีจะทาให้ได้ข้อมูลสารสนเทศ สาหรับสถาบันการศึกษา คณาจารย์ และบุคลากร ที่เกี่ยวข้องกบั การพฒั นานิสิตนกั ศกึ ษา ในการนาข้อมูล สารสนเทศท่ีได้ไปออกแบบหลักสูตรการเรียนการสอน เพือ่ เสริมสรา้ งความเปน็ พลเมืองดิจิทัล และนาไปสู่การ จัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาให้มีความรู้ ความพร้อม และสามารถก้าวเข้าสู่ความเป็นพลเมืองในยุคดิจิทัลได้ อย่างเหมาะสมและมีประสทิ ธภิ าพตอ่ ไป

วตั ถปุ ระสงค์ และเปา้ หมาย

วัตถุประสงค์ เปา้ หมาย 1. เพอ่ื ส่งเสรมิ ให้ นักศึกษา มี “นักศึกษา เป็นพลเมืองดิจิทัล ค ว า ม รู้ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ เ ก่ี ย ว กั บ ท่ี มี ค ว า ม ฉ ล า ด ท า ง ดิ จิ ทั ล บ น บทบาทและหน้าที่ของพลเมือง พ้ืนฐานความรับผิดชอบ การมี ดิจิทัลท่ดี ี จ ริ ย ธ ร ร ม ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ความเห็นอกเห็นใจและเคารพ 2. เพื่อส่งเสริมให้ นักศึกษา ผู้อื่น โดยมุ่งเน้นความเป็นธรรม เกิดความตระหนักในความเป็น ในสังคม เพ่ือสร้างความสมดุล พลเมืองดิจิทัลที่ดี เข้าใจถึงสิทธิ ข อ ง ก า ร อ ยู่ ร่ ว ม กั น อ ย่ า ง มี และความรับผิดชอบในฐานะ ความสุข” สมาชิกของโลกออนไลน์ 3. เพื่อสร้างเสริมความฉลาด ทางดิจิทัล

วธิ ดี าเนินการ สว่ นที่ 1 : แผนการดาเนินการ

ระยะเวลาดาเนินงาน ที่ ขนั้ ตอนการดาเนนิ งาน เดือนมกราคม เดอื นกมุ ภา ผลท่ไี ด้ พนั ธ์ุ หวั ขอ้ โครงการ เนอื้ หาทเ่ี กยี่ วข้อง 1 ประชุมวางแผนคดิ หัวขอ้ วนั ที่ 16 โครงการ แก้ปัญหาที่ตดิ ขดั 2 ศึกษาและค้นควา้ ข้อมลู วันท่ี18-19 3 จัดทาเค้าโครงการและ วันท่ี 20 นาเสนอโครงการ 4 อนมุ ตั ิโครงการ ดาเนินการตามโครงการ 5 ประชาสัมพันธ์ วันท่ี 21 ม.ค. ถึง 4 ก.พ. แจกแผ่นพบั 6 รายงานความก้าวหน้าของ วนั ที่ 28 โครงการ วนั ที่ 1 7 ปรบั ปรงุ แกไ้ ข วนั ที่ 23 ม.ค. ถงึ 4 ก.พ. วนั ที่ 4 8 จดั ทาเอกสารรายงาน โครงการ 9 นาเสนอและแสดงผลโครงการ 10 สรุปและประเมินผล วนั ที่ 4

วธิ ีดาเนนิ การ ส่วนที่ 2: ขั้นตอนการดาเนินการ

ประชมุ วางแผน เลอื กหวั ข้อโครงการ : Digital citizenship พลเมืองยุคใหม่ หวั ใจดจิ ิทลั ตอน ร้เู ทา่ ทนั สอื่ ประเมนิ และสรปุ ผล แบ่งฝา่ ยรบั ผิดชอบ ทาแบบทดสอบ ฝ่ายข้อมลู : ทรายประกาย สรปุ ผลการทา แกว้ , กัญญารตั น์ แบบทดสอบ ฝา่ ยประเมินผล : สุกฤษตา ฝ่ายประชาสัมพนั ธ์ : ดาเนินการตามแผน วรัญญา , จิราภรณ์ ฝ่ายออกแบบ : ณฐั ตนิ ัย แจกแผ่นพับ ประชาสัมพันธ์

ระยะเวลาและ งบประมาณ

ระยะเวลาและสถานท่ีดาเนนิ โครงการ วันท่ี 21 มกราคม 2563 - 4 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2563 รวมเปน็ ระยะเวลา 15 วนั สถานท่ี มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร , อาคารเรยี น งบประมาณและอปุ กรณท์ ่ีต้องใช้ -สอ่ื ติดประกาศ 100 บาท - แผ่นพับ 50 บาท

ผลท่ีคาดว่า จะไดร้ ับ

1. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับบทบาทและหน้าท่ีของ พลเมอื งดิจิทลั ทีด่ ี คิดเป็นรอ้ ยละ 80 2. นักศึกษาเกิดความตระหนักในความเป็นพลเมืองดิจิทัลท่ีดี เข้าใจถึงสิทธิและความรับผิดชอบในฐานะสมาชิกของโลก ออนไลน์ 3.สรา้ งเสริมความฉลาดทางดจิ ทิ ลั ใหแ้ กน่ กั ศกึ ษาได้ 4.นักศึกษาสามารถปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดิจิทัลที่ดีได้ สามารถ รเู้ ทา่ ทนั สอ่ื ออนไลน์

การตดิ ตามและ ประเมนิ ผล

คณะ จากผลการทาแบบทดสอบ เพื่อประเมินความเป็นพลเมอื งดจิ ทิ ัล 22% 47% ครศุ าสตร์ ท่ดี ี ไดผ้ ลสรปุ ดังน้ี ผู้ทาแบบทดสอบ : ใช้วิธีการสุ่ม 13% มนษุ ยศาสตรแ์ ละ ตั ว อ ย่ า ง นั ก ศึ ก ษ า จ า ก ค ณ ะ ต่ า ง ๆ 18% สังคมศกึ ษา รวม 45 คน วทิ ยาการจัดการ ครุศาสตร์ 21 คน มนุษยศาสตร์และสังคมศึกษา 8 คน วิทยาศาสตร์และ วทิ ยาการจดั การ 6 คน เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 10 คน การตอบคาถาม โพสตข์ ้อความหรือรูปภาพลามกอนาจาร 2 (4.44%) 43 (95.56%) การให้เครดติ และลิขสทิ ธ์เิ จ้าของผลงาน 1.มารยาทการใชส้ ื่อออนไลน์ โพสต์ขณะอย่ใู นอารมณ์โกรธ 0 ทดี่ ี ควรเปน็ อยา่ งไร การรู้กาลเทศะ ประพฤตดิ ี มีมารยาท 1 (2.22%) 42 (93.33%) ถกู ท้งั สองขอ้ 2.ความเป็นพลเมอื งดิจิทัลที่ ร้จู กั ปกป้องความเปน็ สว่ นตวั ของตนเอง… 2 (4.44%) ดคี วรปฏิบตั ิอย่างไร

น่ิงเฉย ไมส่ นใจ 10 (22.22%) 3.การรับมือในสถานการณ์ ท่ี ถู ก ก ล่ั น แ ก ล้ ง บ น โ ล ก บันทกึ หลักฐานการกลั่นแกลง้ อเี มล… 34 (75.56%) ออน ไ ลน์ท่ี ดีค วร ปฏิบัติ อย่างไร ตอบโตก้ ลับทันทีดว้ ยถอ้ ยคาหยาบคาย 1 (2.22%) นาย Cใสใ่ จกบั การตั้งคา่ ความเป็นสว่ นตัว ระมดั ระวงั ใน 43 (95.56%) การเปิดเผยชือ่ ข้อมูลสว่ นตวั ต่างๆ 4.ใครมีทักษะความเป็น นาย B การสรา้ งกลุ่มในโซเชียลเพอ่ื โจมตโี ดยเฉพาะ 0 พลเมอื งดิจทิ ัลท่ดี ี นาย A แชรข์ อ้ มลู เท็จให้เพื่อน 2 (4.44%) ไม่สนใจ 2 (4.44%) 5.จากขา่ วนี้ ท่านควรทา ตรวจสอบให้แน่ใจวา่ เป็นขา่ วจริงหรือไม่ 1 (2.22%) 42 (93.33%) อย่างไร เช่ือตามข่าวและแชรข์ อ้ มลู ทนั ที จานวน ้ผูทาแบบทดสอบ 35 11 สรุปผล 29 4 2 “ชว่ งคะแนน 4-5” 30 4 คะแ3นน บ่งบอกว่า มีความเป็น 25 1 พลเมืองดิจิทัลที่ดี คิดเป็น 20 ร้อยละ 88.89 15 1 10 5 0 5

การประชาสมั พันธภ์ ายในสาขา การประชาสมั พนั ธ์ภายในสาขา ประชาสมั พนั ธ์ใหก้ บั นักศึกษา คณะครุศาสตร์ การประชาสัมพนั ธภ์ ายในสาขา

ติดปา้ ยประชาสัมพนั ธ์ ใบความรู้ ตดิ ปา้ ยประชาสัมพนั ธ์ ใบความรู้ ประชาสัมพนั ธ์ แจกแผน่ พับ

ผรู้ ับผิดชอบโครงการ นางสาว วรญั ญา ใครจนั ทรเ์ ศรษฐ นางสาว สกุ ฤษตา กุดวงค์แกว้ นางสาว ทรายประกายแกว้ ประกิ่ง นางสาว กญั ญารตั น์ สญู ราช นางสาว จิราภรณ์ เดชขันธ์ นาย ณัฐตนิ ยั พัลวงศ์ นักศึกษาชัน้ ปีที่ 1 สาขาวิชาเคมี คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั สกลนคร เสนอ อาจารยน์ นทวรรณ แสนไพร




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook