Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 5 เครื่องมือวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย

บทที่ 5 เครื่องมือวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย

Published by benjamas, 2020-06-24 04:31:00

Description: เครื่องมือวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย

Keywords: พุุทธิพิสัย,แบบทดสอบ

Search

Read the Text Version

- 79 - บทที่ 5 เครื่องมือวัดพฤติกรรมด้านพทุ ธิพิสัย วิธีการวดั พฤติกรรมผู้เรียนแบ่งออกเป็น 3 ด้าน คอื พทุ ธิพิสัย จติ พิสัย และทักษะพิสัย ในด้านพุทธิพิสัยนั้นเป็นการวัดความรู้ ความคิด การแก้ปัญหา หรือพฤติกรรมทางด้านสมอง ของผู้เรียน โดยวัดความรู้ระดับพฤติกรรม ความรู้-จา ความเข้าใจ การนาไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การประเมินค่า และมีการปรับเปลี่ยน การสังเคราะห์ เป็น คิดสร้างสรรค์ โดย ต้องมีการประเมินก่อน จึงกลายเป็นแนวคิดการวัดพฤติกรรมใหม่ คือ จา เข้าใจ ประยุกต์ใช้ วิเคราะห์ ประเมิน และสร้างสรรค์ และวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยด้วยวิธีการทดสอบ เคร่ืองมือวัดส่วนใหญ่เป็นแบบทดสอบและมีหลายแบบ เช่น แบบทดสอบเขียนตอบ แบบทดสอบด้วยวาจา เป็นต้น แต่เคร่อื งมือที่นิยมใช้กันมากและครูผู้สอนสามารถสร้างขึ้นเอง คือ แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็นเครื่องมอื ในการตรวจสอบพฤติกรรมหลังจาก ที่สอนไปแล้วว่า ผู้เรียนมีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงมากน้อยเพียงใด ผลจากการทดสอบจะ ป ร ะโย ชน์ ต่ อ ก าร พั ฒ น า ผู้ เรีย น ให้ มี คุ ณ ภ าพ ต าม จุ ด มุ่ งห ม าย ห รื อ ม าต ร ฐ าน ก าร เรี ย น รู้ ในหลักสูตร และเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน เพื่อให้ผลการทดสอบถูกต้อง มีความเที่ยงตรง และเชื่อถือได้ ครูผู้สอนควรศึกษาเรียนรู้ เกี่ยวกับหลักการและวิธีสร้างเคร่ืองมือวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย เพื่อจะนาเคร่ืองมือที่มี คณุ ภาพ วัดได้ตรงกับสิ่งทีต่ ้องการจะวัดได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป ซึ่งในบทนจี้ ะขอกล่าวถึง แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น 1. เครือ่ งมือวัดพฤติกรรมดา้ นพทุ ธิพิสัย เคร่ืองมือวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยของผู้เรียน ครูผู้สอนใช้วัดความรู้ ทักษะ หรือ ความสามารถของผู้เรียนตามจดุ มุ่งหมายและเน้ือหาของรายวิชาต่าง ๆ ทีก่ าหนดไว้ในหลักสตู ร มีหลายประเภท ส่วนใหญ่ใช้แบบทดสอบ หมายถึง ชุดของคาถามหรือกลุ่มงานใด ๆ ที่สร้าง ขึน้ มาอย่างมีกระบวนการที่เป็นวิธีการเชิงระบบ เพื่อใช้เปรียบเทียบพฤติกรรมของผเู้ รียนต้ังแต่ สองคนขึ้นไป ณ เวลาหนึ่ง หรือให้ผู้เรียนได้ทดสอบและแสดงพฤติกรรมทางสมองออกมา ซึ่งพฤติกรรมที่แสดงออกมาน้ันสามารถให้ครูผู้สอนวัดได้ สังเกตได้ โดยแบบทดสอบแต่ละ ประเภทมีลักษณะ คุณสมบัติ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมกับระดับพฤติกรรมที่ต้องการวัด ระดับช้ันเรียน เน้ือหาแต่ละรายวิชา และให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดใน หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551

- 80 - 2. ประเภทของแบบทดสอบ เคร่ืองมือวัดพฤติกรรมพุทธิพิสัย คือ แบบวัด หรือแบบทดสอบ ซึ่งหมายถึง ชุดของ คาถาม หรือสถานการณ์ ที่สร้างขึ้นเพื่อให้ผู้ถูกทดสอบแสดงพฤติกรรมที่สามารถวัดได้สังเกต ได้ ซึ่งแบบทดสอบสามารถแบ่งออกได้หลายประเภท (อัจฉรีย์ (คาแถม) พิมพ์พิบูลย์, 2550; พิชิต ฤทธิ์จรูญ, 2553; มลิวัลย์ ผวิ คราม, 2559) ดังน้ี 2.1 จาแนกตามสมรรถภาพทีจ่ ะวดั ในการสรา้ ง จาแนกได้ 2 ประเภท คือ 2.1.1 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ (Achievement Test) หมายถึงแบบทดสอบที่ ใช้วัดความรู้ความสามารถ ทักษะเกี่ยวกับวิชาการที่ได้เรียนรู้มาว่ารับรู้ไว้ได้มากน้อยเพียงไร แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1) แบบทดสอบท่ีครูผู้สอนสร้างเอง (Teacher Made Test) แบบทดสอบนี้ เป็นแบบทดสอบที่ครูผู้สอนสร้างขึ้นเฉพาะคราวเพื่อใช้ทดสอบผลสัมฤทธิ์และความสามารถ ทางวิชาการของผเู้ รียน 2) แบบทดสอบมาตรฐาน (Standardized Test) เป็นแบบทดสอบที่สร้างขึ้น ด้วยกระบวนการ หรือวิธีการที่ซับซ้อนมากกว่าแบบทดสอบที่ครูผู้สอนสร้างขึ้น เม่ือสร้างขึ้น แล้วมีการนาไปทดลองสอบ วิเคราะห์ด้วยวิธีการทางสถิติหลายคร้ัง เพื่อปรบั ปรุงใหม้ ีคุณภาพ ดีมคี วามเป็นมาตรฐาน แบบทดสอบมาตรฐานจะมีความเป็นมาตรฐานอยู่ 2 ประการ 2.1) มาตรฐานในการดาเนินการสอบ เพือ่ ควบคุมตัวแปรที่จะมีผลกระทบต่อ คะแนนของผสู้ อบ ดงั น้ันขอ้ สอบมาตรฐานจงึ จาเปน็ ต้องมีคู่มอื ดาเนินการสอบไว้เป็นแนวปฏิบัติ สาหรับผู้ใชข้ ้อสอบ 2.2) มาตรฐานในการแปลความหมายคะแนน ข้อสอบมาตรฐานมีเกณฑ์ สาหรับเปรียบเทียบคะแนนให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน ซึ่งเรียก ว่า เกณฑ์ปกติ (Norm) แบบทดสอบที่ครูผู้สอนสร้างขึ้น มีข้อดีตรงที่ครูผู้สอนวัดได้ตรงจุดมุ่งหมายเพราะครูผู้สอน เป็นผู้ออกข้อสอบเอง แต่แบบทดสอบมาตรฐานมีข้อดีตรงที่คุณภาพของแบบทดสอบเช่ือถือได้ ทาให้สามารถนาผลไปเปรียบเทียบได้กว้างขวางกว่า 2.1.2 แบบทดสอบความถนัด (Aptitude Test) เป็นแบบทดสอบที่ใช้วัด ความสามารถทีเ่ กิดจากการสะสมประสบการณ์ทีไ่ ด้เรียนรมู้ าในอดีต สว่ นมากใช้ในการทานาย สมรรถภาพของบุคคลว่าสามารถเรียนไปได้ไกลเพียงใด แบบทดสอบวัดความถนัด แบ่งออกเปน็ 2 ประเภท ได้แก่

- 81 - 1) แบบทดสอบความถนัดทางการเรียน (Scholastic Aptitude Test) หมายถึงแบบทดสอบวัดความถนัดทางด้านวิชาการต่าง ๆ เช่น ความถนัดทางด้านภาษา ด้านคณิตศาสตร์เหตุผล เปน็ ต้น 2) แบบทดสอบความถนัดเฉพาะอย่างหรือความถนัดพิเศษ (Specific Aptitude Test) หมายถึงแบบทดสอบวัดความถนัดที่เกี่ยวกับอาชีพหรือความสามารถพิเศษ ที่นอกเหนือจากความสามารถด้านวิชาการ เช่นความถนัดเชิงกล ความถนัดทางด้านดนตรี ศลิ ปะ การแกะสลกั กีฬา เปน็ ต้น 2.2 จาแนกตามรปู แบบคาถามและวิธีการตอบ จาแนกได้ 2 ประเภท ดังนี้ 2.2.1 แบบทดสอบอัต นัย (Subjective Test) แบบทดสอบ ประเภทนี้มี จุดมุ่งหมายที่จะให้ผู้ตอบได้ตอบยาว ๆ แสดงความคิดเห็นเต็มที่ ผู้สอบมีความรู้ในเน้ือหานั้น มากน้อยเพียงไรก็เขียนออกมาให้หมดภายในเวลาที่กาหนดให้ 2.2.2 แบบทดสอบปรนัย (Objective Test) เป็นแบบทดสอบที่มงุ่ ให้ผสู้ อบตอบ สั้น ๆ ในแตล่ ะขอ้ วัดความสามารถเพียงเรือ่ งใดเรือ่ งหน่งึ เพียงเรื่องเดียว ดังน้ี 2.2.1 แบบถกู ผดิ (True - False) 2.2.2 แบบเติมคา (Completion) 2.2.3 แบบจับคู่ (Matching) 2.2.4 แบบเลือกตอบ (Multiple Choices) 2.3 จาแนกตามลักษณะการตอบ จาแนกได้ 3 ประเภท ดงั น้ี 2.3.1 แบบทดสอบภาคปฏิบัติ (Performance Test) ได้แก่ ข้อสอบภาคปฏิบัติ ทั้งหลาย เช่น วิชาพลศึกษา ให้แสดงท่าทางประกอบเพลง วิชาหัตถศึกษาให้ประดิษฐ์ของใช้ ด้วยเศษวสั ดุ ให้ทาอาหารในวิชาคหกรรมศาสตร์ เป็นต้น 2.3.2 แบบทดสอบเขียนตอบ (Paper- Pencil Test) เป็นแบบทดสอบที่ใช้ การเขียนตอบทุกชนิด ได้แก่ แบบทดสอบปรนัย และอัตนัยที่ใช้กันอยู่ท่ัวไปในโรงเรียน รวมท้ัง การเขียนรายงานซึง่ ต้องใช้กระดาษ ดินสอ หรอื ปากกาเปน็ เครือ่ งมอื สาคัญในการสอบ 2.3.3 แบบทดสอบด้วยวาจา (Oral Test) เป็นแบบทดสอบที่ผู้สอบใช้การ โต้ตอบด้วยวาจาแทนที่จะเป็นการเขียนตอบหรือปฏิบัติ เช่น การสอบสัมภาษณ์ การสอบ ท่องจา เป็นต้น 2.4 จาแนกตามเวลาท่กี าหนดให้ จาแนกได้ 2 ประเภท ดงั นี้ 2.4.1 แบบทดสอบวัดความเร็ว (Speed Test) เป็นแบบทดสอบที่มุ่งวัดทักษะ ความคล่องแคล่วในการคิด ความแม่นยาในการรู้เป็นสาคัญ แบบทดสอบประเภทนี้

- 82 - มกั มีลักษณะค่อนข้างง่ายแต่มีจานวนข้อมาก และให้เวลาทาน้อย ใครทาเสร็จก่อนและถูกต้อง มากทีส่ ดุ ถือว่ามีประสิทธิภาพสูงสดุ 2.4.2 แบบทดสอบวัดความสามารถสูงสุด (Power Test) มีลักษณะค่อนข้าง ยากและให้เวลาทามากเพียงพอในการตอบ เป็นการสอบวัดความสามารถในเร่ืองใดเร่ืองหนึ่ง โดยให้เวลา ผู้สอบทาจนสุดความสามารถ หรือจนกระท่ังทุกคนทาเสร็จ เช่น การให้ค้นคว้า รายงาน การทาวิทยานิพนธ์ หรอื ข้อสอบอตั นัยบางอย่างกอ็ นุโลมจดั อยู่ในประเภทนี้ได้ 2.5 จาแนกตามลกั ษณะและโอกาสในการใช้ จาแนกได้ 2 ประเภท คือ 2.5.1 แบบทดสอบย่อย (Formative Test) เป็นแบบทดสอบที่มีจานวนข้อ คาถามไม่มากนัก ใช้สาหรับประเมินผลระหว่างการจัดการเรียนรู้หรือเม่ือเสร็จในแต่ละ หน่วยย่อย เพื่อวินิจฉัยการเรียนรู้ของผู้เรียน วัตถุประสงค์สาคัญของแบบทดสอบย่อย คือ มุ่งปรบั ปรุงการจดั การเรียนรู้ 2.5.2 แบบทดสอบรวม (Summative Test) เป็นแบบทดสอบที่มีจานวนคาถาม มาก ใช้สาหรับสอบปลายภาค หรือปลายปีการศึกษาเม่ือจบเน้ือหาของแต่ ละรายวิชา วัตถุประสงค์สาคัญของแบบทดสอบรวมเพื่อวัดว่าใครมีความรู้ความเข้าใจมากน้อยเพียงใด และนาไปตัดสินผลการเรียน แบบทดสอบมีหลายประเภทตามการจาแนกการใช้งานหรือจุดมุ่งหมาย ซึ่งการ สร้างเคร่ืองมือที่ใช้วัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย ครูผู้สอนควรเลือกสร้างแบบทดสอบให้ เหมาะสมกับเนื้อหารายวิชาและระดับชั้นของผู้เรียน โดยส่วนใหญ่แบบทดสอบที่ครูผู้สอนนิยม สร้างข้นึ เพือ่ วัดความรู้ความสามารถของผเู้ รียน คือ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น 3. หลกั การสร้างแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (Achievement Test) มีหลักการสร้าง ดังนี้ (อัจฉรีย์ (คาแถม) พิมพ์พบิ ูลย์, 2550; พิชิต ฤทธิ์จรญู , 2553) 3.1 แบบทดสอบอัตนัย (Subjective Test) เป็นแบบทดสอบทีก่ าหนดคาถามหรือ ปัญหาให้ผู้เรียนตอบคาถามโดยการเขียนคาตอบในลักษณะยาว ๆ แสดงความคิดเห็น ความรู้ เจตคติได้อย่างเต็มที่ โดยผู้สอบต้องมีความสามารถในด้านความจัดระเบียบความคิดแล้ว สงั เคราะหเ์ ปน็ ข้อความคาตอบทีเ่ หมาะสม ซึ่งแบบทดสอบอตั นยั จาแนกเปน็ 2 ประเภท ได้แก่ 3.1.1 แ บ บ ต อ บ ขย าย ห รือ ไม่ จ ากั ด ค าต อ บ (Extended Response or Unrestricted Response) เป็นแบบทดสอบที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนตอบคาถาม ได้อย่างอิสระ

- 83 - มักใช้กับผู้เรียนในระดับสูง เช่น การให้ผู้ตอบแสดงความคิดเห็น การอภิปราย การบรรยาย หรอื อธิบาย เหมาะสาหรับใช้วดั สมรรถภาพทางสมอง ความคิดริเรม่ิ สร้างสรรค์ 3.1.2 แบบจากัดคาตอบหรือตอบสั้น (Restricted Response or Short Essay Item) เป็นแบบทดสอบที่ต้องการคาตอบเฉพาะเจาะจงที่จัดระบบความคิดเป็นอย่างดี หรือ ต้องการให้ตอบส้ันภายในขอบเขตที่กาหนดให้ การตรวจให้คะแนนง่าย มีความยุติธรรม ความเชื่อม่ันสูงและมีประสทิ ธิภาพมากกว่าแบบไม่จากัดคาตอบ ข้อควรพิจารณาสาหรับการสร้างขอ้ สอบแบบอัตนยั มีดงั นี้ 1) เขียนคาสัง่ และกาหนดเกณฑใ์ ห้คะแนนอย่างชดั เจน 2) ควรถามเฉพาะเรื่องทีส่ าคัญ 3) ควรระบใุ หช้ ัดเจน ว่าเป็นแบบจากดั คาตอบหรอื ไม่จากดั คาตอบ 4) ควรเรียงลาดับข้อคาถามของแบบทดสอบ จากแบบทดสอบ ข้อที่ง่ายไป หาแบบทดสอบข้อที่ยาก เพื่อสร้างกาลังใจแก่ผเู้ รียน 5) การออกข้อสอบ ต้องกาหนดจานวนข้อให้เหมาะสมกับเวลา ที่กาหนดให้ สอบเพื่อให้ผู้เรยี นสามารถตอบคาถามได้ครบทุกข้อ 6) ควรกาหนดหลกั เกณฑส์ าหรับการให้คะแนนแต่ละข้อ 7) พยายามใช้คาถามหลากหลายแบบและหลีกเลี่ยงคาถามประเภท วัดความรู้ หรือความจา เช่น ใคร ทาอะไร เม่ือไหร่ หรือที่ไหน เน่ืองจากคาถามดังกล่าว ไม่สามารถวัดสมรรถภาพทางอื่นได้ ควรใช้คาถามประเภท อธิบายเปรียบเทียบ วิเคราะห์ ความสัมพันธ์ อภปิ ราย ให้บรรยาย วิเคราะหเ์ หตผุ ล หรอื วิจารณ์ เป็นต้น 8) ไม่ควรใช้คาถามจานวนข้อมาก แล้วให้ผู้เรียนเลือกตอบบางข้อ เพราะ อาจทาให้ได้เปรียบเสียเปรียบกัน เนอ่ื งจากความยากง่ายของข้อสอบแต่ละข้อไม่เท่ากัน 9) เมื่อเขียนโจทย์คาถามแล้วควรเขียนคาตอบไว้ให้เรียบร้อย เพือ่ ตรวจสอบ ความชัดเจนของคาตอบ ถ้าคาถามน้ันไม่ชัดเจนเร่ืองคาตอบให้เปลี่ยนแปลงแก้ไขโจทย์คาถาม นั้นก่อนนาไปทดสอบจรงิ 10) ไม่ควรถามเร่ืองทีผ่ ู้เรยี นเคยทาหรอื เคยอภปิ รายมาก่อน หลักการตรวจข้อสอบแบบอัตนัย ข้อสอบแบบอัตนัยมีข้อดี คือ ผู้ตอบ ได้แสดงความคิดเห็นของตนเองได้ มักจะพบปัญหาสาหรับผู้ตรวจข้อสอบเพื่อให้คะแนน จงึ ตอ้ งมหี ลักการตรวจขอ้ สอบดงั น้ี 1) เขียนคาถามให้จัดเจนว่าแบบทดสอบน้ันต้องการอะไร มีเกณฑ์ ในการ พิจารณาให้คะแนนอย่างไร

- 84 - 2) พิจารณาคาตอบของแต่ละข้อของผู้เรียนอย่างคร่าว ๆ ก่อน แต่ยัง ไม่ตรวจให้คะแนนเพราะเป็นการดูมาตรฐานการตอบคาถามของผู้เรยี น โดยรวมเสียก่อน 3) ต้องมีการเฉลยคาตอบทีถ่ ูกต้องชัดเจนไว้ลว่ งหนา้ 4) ควรตอบให้คะแนนทีละขอ้ จนครบทกุ คน แล้วค่อยตรวจขอ้ ใหม่ 5) ต้องตรวจให้คะแนนด้วยความรอบคอบ ยุติธรรม ไม่มีอคติ หรือลาเอียง ถ้าจะให้ดีไม่ควรให้ทราบช่อื หรอื ควรปกปิดชือ่ ของผู้ตรวจ 6) เมื่อตรวจให้คะแนนเรยี บร้อยแลว้ ควรมีการตรวจทานอกี ครั้ง ตัวอย่างข้อคาถามแบบทดสอบอตั นัย (ท่ดี ี) จงตอบคาถามตอ่ ไปน้ี 1) จงเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างแบบทดสอบแบบอัตนัยและปรนัย 2) ผู้เรียนจะนาหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างไรบ้าง จงอธิบายและยกตัวอย่างประกอบ 3) จงบอกชื่อนักวิทยาศาสตร์มา 3 ท่าน พร้อมทั้งบอกข้อค้นพบของแต่ละ ท่านมาพอสงั เขป (ความยาวไม่เกิน 1 หนา้ กระดาษ) 4) จากสถิติการใช้ไฟฟ้าของมหาวิทยาลัยที่ผ่านมา ท่านคิดว่าจะรณรงค์ การใชไ้ ฟอย่างประหยดั ได้อย่างไรบ้าง และควรประหยัดการใชใ้ นส่วนใดเปน็ อันดับแรก 5) ที่ดิน 3 แปลง ในชุมชนแห่งหนึ่ง ตั้งอยู่ในที่มีฝนตกชุก ถ้าต้องการ ปลูกพืชที่ไม่ต้องการน้ามาก เป็นพืชที่มีราคาดี เป็นที่ต้องการของตลาด โดยที่ดิน 3 แปลง มีลักษณะ โดยแปลงที่ 1 เป็นดินร่วน แปลงที่ 2 เป็นดินเหนียว และแปลงที่ 3 เป็นดินทราย จากข้อความผเู้ รียนควรปลูกพืชในที่ดนิ แปลงใดเพราะอะไร 3.2 แบบทดสอบปรนัย (Objective Test) เป็นแบบทดสอบที่ให้ผู้เรียน ตอบแบบ ส้ัน ๆ หรือมีคาตอบให้เลือกโดยจากัดคาตอบ ผู้เรียนไม่สามารถแสดงความรู้สึก หรือความ คิดเห็นอย่างกว้างขวางเหมือนแบบอัตนัย คาถามที่ต้องใช้ความชัดเจน ผู้เรียนทุกคนอ่านแล้ว แปลความหมายได้ตรงกัน การตรวจให้คะแนนแน่นอนชัดเจน การให้เวลาน้อยกว่าแบบอัตนัย การเขียนส้ันกะทัดรัด สามารถใช้ทดสอบก่อนเรียน และใช้ทดสอบท้ายบทเรียน ได้เป็นอย่างดี จาแนกเป็น 4 ประเภท ดังนี้ (อัจฉรีย์ (คาแถม) พิมพ์พิบูลย์, 2550; พิชิต ฤทธิ์จรูญ, 2553; เยาวดี รางชัยกลุ วิบลู ย์ศรี,2556) 3.2.1 แบบทดสอบจับคู่ (Matching) เป็นแบบทดสอบที่มีการเตรียมชุด คาถามและชุดคาตอบ ไว้ให้ผู้เรียนจับคู่ที่ตรงกันหรือมีความสัมพันธ์สอดคล้องกัน โดยแบ่ง ออกเปน็ สองสดมภ์ โดยปกติชดุ ทางซ้ายมือจะเปน็ คาถามและชดุ ทางขวามือจะเปน็ คาตอบ

- 85 - ข้อควรพิจารณาสาหรบั การสร้างแบบทดสอบจับคู่ มีดงั นี้ 1) ข้อควรที่จับคู่ควรเปน็ เรือ่ งราวหรอื เนือ้ หาประเภทเดียวกนั เท่านั้น 2) ตวั เลือกทางขวาควรมมี ากกว่าคาถามทางดา้ นซ้าย 3) คาทีเ่ ปน็ คู่กันควรจดั ใหก้ ระจายออกจากกนั ไม่ควรอยู่เรยี งกนั 4) ควรมีขอ้ สอบประมาณ 10-15 ข้อ 5) การจัดพิมพ์ควรใช้ขอ้ สอบแตล่ ะชดุ อยู่ในหนา้ เดียวกัน 6) วิธีการตอบไม่ควรกาหนดให้ยุ่งยาก ในการจัดคู่หรอื การตอบควรนา เฉพาะตวั อักษรหนา้ ข้อความหรอื หนา้ ตาเลือกใหส้ ดมภม์ าใส่หน้าข้อความหรอื คาถาม 7) ให้ข้อความหรือคาในสดมภ์ที่เป็นตัวเลือกมีจานวนมากกว่าข้อความ หรอื สดมภท์ ี่เป็นข้อคาถามอย่างนอ้ ยประมาณ 3-4 ข้อ ตัวอยา่ งขอ้ คาถามแบบทดสอบปรนัยแบบจับคู่ (ท่ีดี) จงเลือกตวั อกั ษรดา้ นขวา เติมลงในช่องวา่ งด้านซ้าย .......... 1. เกมประเภทวิ่ง ไล่ หนี แตะหรือจบั ก. เกมช่วยฉนั เชลย .......... 2. เกมทีเ่ น้นทกั ษะการเคลือ่ นไหวร่างกายอย่างคล่องแคล่ว ข. การแข่งมาหาคู่ .......... 3. เกมทีม่ กี ารเล่นเปน็ กลุ่ม ค. เกมแบบผลดั .......... 4. เกมที่สร้างความสามัคคี สนกุ สนาน ง. เกมแบบไล่จบั .......... 5. เกมทีเ่ น้นทกั ษะการสือ่ ความหมาย จ. เกมดักแด้ ฉ. เกมรีรีขา้ วสาร ช. เกมลกู บอลวิง่ เปรี้ยว 3.2.2 แบบทดสอบเติมคา (Completion) เป็นแบบทดสอบประเภท ให้ตอบ คาถามสั้น ๆ มีขอบเขตในการตอบ มีลักษณะการเขียนเป็นประโยคคาถามหรือประโยคบอก เล่าโดยใหผ้ ตู้ อบเติมคาตอบลงในชอ่ งว่างที่กาหนดให้ ซึง่ ทาให้ประโยคนั้นสมบรู ณ์ ข้อควรพิจารณาในการสร้างแบบทดสอบเติมคา มีดังนี้ 1) การเขียนคาถาม ต้องเขียนใหช้ ัดเจนว่าต้องการให้ตอบอย่างไร 2) ควรเว้นช่องว่างให้เติมอย่างเพียงพอและมีระยะช่องเท่ากันทุกเร่ือง ไม่ควรเว้นช่องว่างให้เตมิ หลายๆแหง่ 3) คาตอบที่ตอ้ งการใหผ้ เู้ รียนเติม ต้องเปน็ ส่วนสาคญั 4) ควรเขียนคาถามให้มีคาตอบเจาะจงลงไปไม่กว้างจนเกินไป 5) ไม่ลอกข้อความจากตารา หรอื หนงั สือโดยตัดข้อความ บางตอนออก 6) ควรเขียนคาถามให้มีขอ้ มลู มากพอสาหรับผู้เรยี นจะหาคาตอบ

- 86 - ตวั อยา่ งข้อคาถามแบบทดสอบปรนยั แบบเติมคา (ทไ่ี มค่ วรทา) จงเติมคาในชอ่ งวา่ งต่อไปนใ้ี ห้ถกู ตอ้ ง 1. เขือ่ นภมู ิพลต้ังอยู่ที่__________ 2. พืชใบเขียวส่วนมากผลิตน้าตาลจาก__________และ__________ 3. ชาวนาปลูก__________ในฤดูฝน 4. คาว่านกตรงกบั ภาษาอังกฤษคือ ____ ____ ____ ____ 5. ออกซิเจนมีความสาคญั ยิง่ สาหรบั __________ ตวั อย่างขอ้ คาถามแบบทดสอบปรนยั แบบเติมคา (ทด่ี ี) จงเติมคาในชอ่ งวา่ งต่อไปน้ใี ห้ถูกต้อง 1. การละเล่นพืน้ เมืองจะต้องมี__________เพื่อให้ผู้เล่นปฏิบัติตาม 2. กติกาการเล่นกีฬาแชร์บอลห้ามครอบครองลกู บอลไว้เกิน__________นาที 3. ผเู้ ล่นกีฬาฟุตบอลมีผเู้ ล่นในสนามทีมละ__________คน 4. นายกรัฐมนตรคี นแรกของไทย คือ __________ 5. ยอดเขาที่สูงที่สดุ ในประเทศไทยชอ่ื อยู่ในจงั หวดั __________ 3.2.3 แบบทดสอบ ถูก-ผิด (True-False) เป็นแบบทดสอบที่จากัดคาตอบ ให้ผู้เรียนโดยเลือกคาตอบเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง อาจตอบว่า ใช่-ไม่ใช่ ถูก-ผิด หรอื จริง-เท็จ คาถามของแบบทดสอบชนิดนี้ มักเขียนในรูปของประโยคบอกเล่า หรือปฏิเสธ แล้วให้ผู้ตอบ ทารหัสใส่ช่องว่างด้านหนา้ คาตอบโดยทัว่ ไปมกั ใช้อักษร ถ ผ หรอื T F อาจมกี ารใชเ้ ครือ่ งหมาย ✓หรอื เครื่องหมาย  กไ็ ด้ ข้อควรพิจารณาในการสร้างแบบทดสอบถกู -ผดิ มีดังนี้ 1) ใช้คาถามทีช่ ัดเจน ถกู ต้อง เข้าใจง่าย สามารถตดั สินว่าถูกหรอื ผดิ 2) ไม่ควรใช้คาถามในลักษณะปฏิเสธซ้อน เพราะทาให้ผู้ตอบเข้าใจผิด 3) คาถามข้อหนึง่ ๆ ควรมีคาถามเดียวเพือ่ ความงา่ ยในการตคี วาม 4) ไม่ควรใช้คาขยายเพื่อชี้แนะคาตอบถูกหรือผิดเด่นชัด เช่น ทั้งหมด อาจจะไม่ค่อยจะ หรอื บางอย่าง เป็นต้น 5) ควรหลีกเลีย่ งขอ้ ความที่ยกมาจากบทเรียน หรอื ตาราโดยตรง 6) ไม่ควรเขียนประโยคทีม่ คี วามถูกหรอื ผดิ อย่างชัดเจนรวมอยู่ด้วยกนั 7) ควรใช้ข้อความถูกหรือผิดด้วยหลักวิชาการ ไม่ใช่การสะกดคาผิด และหลีกเลีย่ งข้อความทีเ่ ปน็ การรอ้ งขอหรอื คาส่ังเพราะบอกไม่ได้ว่าถกู หรอื ผดิ 8) ควรใหจ้ านวนข้อทีผ่ ิดและถูกมีจานวนใกล้เคียงกนั

- 87 - ตวั อยา่ งข้อคาถามแบบทดสอบปรนัยแบบถกู ผิด (ทไ่ี มค่ วรทา) __________1. ตวั อย่างขอ้ สอบแบบถกู ผดิ (ทีไ่ ม่ด)ี __________2. นมปลาวาฬเป็นสตั ว์บกเลี้ยงลกู ด้วยนม __________3. ไม่จบั ปลาที่ยังโตไม่ได้ขนาด __________4. คลอโรฟิลซึ่งเปน็ ส่วนสีเขยี วของใบทาหน้าที่ผลิตอาหาร ตัวอยา่ งขอ้ คาถามแบบทดสอบปรนยั แบบถกู ผิด (ทด่ี ี) __________1. นางวันทองเป็นคนดีเพราะรกั สามีทั้งสองคน __________2. พระนารายณ์ทรงประดษิ ฐ์อักษรไทย __________3. กาลิเลโอเป็นผู้ประดษิ ฐ์กล้องโทรทรรศน์ __________4. ปรอทเป็นตัวนาไฟฟ้าได้ดที ีส่ ุด คาชี้แจง ให้ผเู้ รียนทาเครือ่ งหมายถกู (✓) หน้าข้อความที่ถูกต้องและทาเครือ่ งหมายกากบาท () หนา้ ข้อความที่ไม่ถกู ต้อง ผลไม้ชนิดใดต่อไปนีเ้ มื่อผลสกุ จะมีสเี หลือง __________1. มะม่วง __________2. แตงโม __________3. ทเุ รียน __________4. ขนุน __________5. มังคดุ 3.2.4 แบบทดสอบเลือกตอบ (Multiple Choices) เป็นแบบทดสอบที่ให้ ผู้เรียนตอบคาถามโดยการเลือกคาตอบที่ถูกที่สุด ถูกที่ต้องสุดหรือเหมาะสมที่สุด สามารถ วัดพฤติกรรมการเรียนรไู้ ด้ท้ังความรู้ ความเข้าใจ ความจา การวิเคราะห์ การนาไปใช้ และ การ สังเคราะห์เป็นแบบทดสอบที่ได้รับความนิยมค่อนข้างมาก แบบทดสอบเลือกตอบ ประกอบด้วย 2 ส่วนใหญ่ คือ ส่วนตอนนาหรือคาถาม (Stem) และส่วนของตัวเลือก (Choices หรือ Option) ซึ่งส่วนของตัวเลือกเป็นส่วนของการกาหนดคาตอบมีอยู่ 2 ประเภท คือ ตัวถูก หรือตัวตอบ (Correct Choice) และตัวลวง (Decoys หรือ Distracters) แบบทดสอบเลือกตอบ จาแนกได้เป็น 3 ประเภท คือ 1) ประเภทของแบบทดสอบเลือกตอบ 1.1) ประเภทคาตอบถูกต้องเพียงข้อเดียว (One Correct Answer) หมายถึงแบบทดสอบทีม่ คี าตอบถูกต้องเพียงข้อเดียว ส่วนขอ้ อืน่ ๆ เป็นตวั ลวง

- 88 - 1.2) ประเภทเลือกคาตอบที่ดีที่สุด (Best Answer) เป็นข้อสอบที่มี ลักษณะทีม่ ตี ัวเลือกทีถ่ กู หลายตัว แตต่ ้องเลือกตัวเลือกที่ดที ี่สุด 1.3) ประเภทเลือกคาตอบที่สัมพันธ์หรือแตกต่างกัน (Relation or Difference) เป็นข้อสอบที่มตี วั เลือกสมั พนั ธ์กบั ข้ออ่นื หรอื ตวั เลือกแตกต่างไปจากข้ออืน่ 2) ข้อควรพิจารณาในการสร้างแบบทดสอบเลือกตอบ มีดงั นี้ 2.1) การเขียนคาถามหรอื ตอนนา ให้อยู่ในรปู ประโยคทีช่ ัดเจน 2.2) ใช้ภาษาให้เหมาะสมกับระดบั ของผู้เรยี น 2.3) ควรใช้รปู ภาพประกอบเป็นตัวสถานการณ์ คาถาม หรอื ตัวเลือก ที่จะทาให้แบบทดสอบมีความนา่ สนใจมากยิ่งข้ึน 2.4) ไม่ควรถามเรอ่ื งทีผ่ ู้เรยี นเคยชิน ควรถามให้ผู้เรยี นได้ใชค้ วามคิด 2.5) พยายามหลีกเลี่ยงในการใช้คาถามปฏิเสธ ที่ทาให้ผู้เรียนคิด ยอกย้อนโดยไม่จาเปน็ หากจาเป็นต้องใชค้ วามขดี เส้นใต้ ทาตวั หนา้ หรอื ตัวเอียงที่คานั้น 2.6) ควรใช้คาถามเพียงคาถามเดียวในแตล่ ะขอ้ เท่าน้ัน 2.7) หลีกเลีย่ งคาถามทีเ่ ปน็ การแนะนาคาตอบ 2.8) การเรียงลาดับตัวเลือกที่เป็นตัวเลือก ควรเรียงลาดับจากมาก ไปหาน้อยหรอื น้อยไปหามาก เพือ่ ให้ผู้ตอบหาคาตอบได้ง่ายและไม่เกิดความสบั สน ตวั อย่างข้อคาถามแบบทดสอบปรนัยแบบเลือกตอบ (ท่ไี มค่ วรทา) กล้องที่ใชส้ ่องดขู องเลก็ ให้มขี นาดใหญ่ข้นึ เรยี กว่าอะไร ก) กล้องโทรทศั น์ ข) กล้องปริทัศน์ ค) กล้องจลุ ทรรศน์ ง) กล้องชีวทศั น์ จ) กล้องมโนทัศน์ ควรใช้ส่งิ ใด ขดุ ดิน ถากหญ้า ขดุ แปลงปลกู ก) จอบ ข) คน ค) คราด ง) ช้อนปลกู จ) พล่ัว

- 89 - ตัวอย่างขอ้ คาถามแบบทดสอบปรนยั แบบเลือกตอบ (ท่ดี ี) จดุ ประสงคข์ องการจดั การแสดงดนตรีระดบั โรงเรยี นคือข้อใด ก) เพือ่ หารายได้มาพัฒนาโรงเรยี น ข) เพือ่ ให้การแสดงมปี ระสิทธิภาพมากขึน้ ค) เพือ่ ลดปมด้อยด้านวิชาการของโรงเรยี น ง) การเปน็ นักดนตรีมอื อาชีพและการหารายได้ จ) เพือ่ ให้การแสดงดนตรเี ป็นสื่อกระตุ้นความคิดสร้างสรรค์ ข้อคาถามแต่ละประเภทมีคุณลักษณะที่จะนาไปใช้ในวัดระดับพฤติกรรมของ ผู้เรียนที่ไม่เหมือนกัน ครูผู้สอนต้อศึกษาให้เข้าใจและเลือกคาถามที่เหมาะสมไปใช้กับ จดุ มงุ่ หมายใหถ้ กู ต้อง 4. การสรา้ งแบบทดสอบตามลาดับขน้ั ของการเรียนรู้ ตามแนวคิดของบลูมและคณะ (Bloom et al., 1956) ได้แบ่งการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัย ออกเป็น 6 ข้ัน คือ 1) ความรู้-จา 2) ความเข้าใจ 3) การนาไปใช้ 4) การวิเคราะห์ 5) การ สังเคราะห์ และ 6) การประเมินค่า ซึ่งการสังเคราะห์คือสร้างสรรค์ตามแนวคิดใหม่น่ันเอง ข้อคาถามของแบบทดสอบต้องสอดคล้องกับจุดประสงค์และระดับพฤติกรรมที่ต้องการจะวัด (เยาวดี รางชยั กุล วิบลู ย์ศรี,2556) ดังน้ี ขั้นท่ี 1 ความรู้ การวัดระดับความรู้ความจานั้น เป็นการวัดความสามารถของผู้เรียน ในการระลึกถึงเร่ืองราวหรือสิ่งที่เคยเรียนมาแล้ว เช่น คาศัพท์และนิยามข้อเท็จจริง หลักการ หรอื กลวิธีในการแก้ปัญหาพฤติกรรมของผเู้ รียน สภาพการเรียนรู้ : ผู้เรียนได้รับการบอกเล่าว่ายอร์ชวอชิงตันเป็นประธานาธิบดี คนแรกของสหรัฐอเมริกา คาถาม : ใครเปน็ ประธานาธิบดีคนแรกของสหรัฐอเมรกิ า สภาพการเรียนรู้ : ผู้เรียนได้เรียนรู้คาจากัดความของคาว่าของแข็งของเหลวและ แก๊สพร้อมทั้งเหน็ ตัวอย่างประกอบมาแล้ว คาถาม : ครูผู้สอนยกอุปกรณ์ชิ้นหนึ่งที่เคยใช้เป็นตัวอย่างของสารประเภทของแข็ง ขนึ้ มาให้ผเู้ รียนดแู ล้วถามวา่ สารนีเ้ ปน็ ของแข็งของเหลวหรอื แก๊ส สภาพการเรียนรู้ : สอนวิธีการสรา้ งสามเหลี่ยมหนา้ จั่ว คาถาม : ให้เขียนข้ันตอนที่จาเปน็ ในการสร้างสามเหลี่ยมหน้าจั่ว

- 90 - ขั้นท่ี 2 ความเข้าใจ เป็นคาถามที่ได้นาเรื่องราวซึ่งเคยเรียนมาแล้วมาใช้แก้ปัญหา ตามเง่ือนไขที่กาหนดขึ้น เนือ้ หาต้องมลี ักษณะที่ทาให้ผู้เรียนได้ระลึกถึงความรู้ที่จาเป็นซึง่ เคยเรียนมาแล้วเพื่อนามาใช้ใน การแก้ปญั หา แบ่งย่อยได้ 3 ระดบั คือ การแปลความ การตคี วาม และขยายความ 1) การแปลความ เป็นการวัดความสามารถของผเู้ รียนในการถอดความเร่ืองราวหรือ ข้อความให้เป็นสัญลักษณ์ใหม่ที่ไม่เหมือนเดิม เช่น ภาษาต่างประเทศ สัญลักษณ์ทาง คณิตศาสตร์ หรอื ระลึกข้อความหรือสัญลักษณ์ทีเ่ ปลีย่ นไปว่ามีความหมายอย่างไร ดังน้ี สภาพการเรียนรู้ : ให้ผเู้ รียนอ่านตารามา 1 ย่อหนา้ คาถาม : เรือ่ งทีอ่ า่ นโดยใช้คาพดู ของผเู้ รียนเอง สภาพการเรียนรู้ : ให้ผเู้ รียนดภู าพยนตรท์ ีแ่ สดงการระเบิดของภเู ขาไฟ คาถาม : ให้เขียนเรือ่ งสั้นบรรยายถึงการระเบิดของภเู ขาไฟจากภาพยนตรท์ ี่ได้ดู สภาพการเรียนรู้ : ให้ผู้เรียนได้ดูตัวอย่างการหาพื้นทีข่ องสี่เหลี่ยมผืนผ้าทอจากรปู โดย การขูดความยาวกับความกว้างของรูปตัวอย่างนนั้ คาถาม : ให้เขียนสตู รสาหรับการคานวณหาพืน้ ที่ของป๋อ ข้อสังเกตคาถามดังกล่าวข้างต้นผู้เรียนต้องไม่เคยเรียนรู้เร่ืองสูตรของการคานวณพื้น ที่มาก่อนมิฉะนั้นจะเป็นแตเ่ พียงการวัดระดบั ความรคู้ วามจาเท่านั้น 2) การตีความ สิ่งที่จะใช้วัดความสามารถของผู้เรียนในการนาข้อมูลจากเร่ืองราว ทีอ่ า่ นมาวินจิ ฉัยเพื่ออธิบายว่าเรือ่ งราวนั้นเป็นอย่างไรหรอื เพื่อเปน็ การสรุปข้อความในเรอ่ื งราว มากกว่าจะเป็นการแปลความ ดังน้ี สภาพการเรียนรู้ : ผู้เรียนได้เรียนรู้วิธีการอ่านกราฟอย่างน้อยและได้หรือรปู ภาพกราฟ ซึง่ ได้จากการทดสอบความจาของผเู้ รียนชายและหญิง 2 คน เกีย่ วกับการจาชื่อจงั หวัดโดยการ สอบก่อนสอน (pretest) แล้วมีการฝึกจาชื่อจังหวัด 3 ครั้งครั้งละ 10 นาทีพร้อมกับ ทาการทดสอบหลังฝึกฝนแล้ว (posttest) โดยมีการทดสอบหลังการฝึกฝนทุกครั้งดังข้อมูล ทีแ่ สดง คาถาม : (ถูกหรือผิด) หลังจากการฝึกการจาชื่อจังหวัด 10 นาทีแรก ผู้เรียนหญิง จาชือ่ จงั หวัดได้ 44 ชือ่ คาถาม : (ถูกหรือผิด) การเรียนรจู้ งั หวดั จะดีข้ึนหลังจากมีการฝกึ สภาพการเรียนรู้ : ให้ผู้เรียนอ่านและโต้แย้งแสดงเหตุผลเกี่ยวกับบทความในหนังสือที่ กล่าวถึงสภาพเศรษฐกิจของประเทศ คาถาม : ให้เขียนประเด็นการโต้แย้งแสดงผลในเรื่องสภาพเศรษฐกิจของประเทศ

- 91 - 3) การขยายความ สิง่ ที่วัดขยายความ เป็นการวดั ความสามารถของผู้อ่านหรือผรู้ ับรู้ ข้อความจากข้อมูลต่าง ๆ ซึ่งจะต้องใช้สถานภาพทางสมองในระดับที่สูงขึ้นไปจากการแปล ความและการตีความจะมีลักษณะเป็นการพิจารณาถึงแนวโน้มหรือแนวทางหรือรูปแบบของ การเปลี่ยนแปลงที่จะเป็นไปได้โดยพิจารณาจากสภาพการรับรู้ข้อความในการสื่ อสารที่ตน ได้รบั ตั้งตวั อย่างคาถามต่อไปนี้ สภาพการเรียนรู้ : จากสถานที่อธิบายมาแล้วตัวอย่างที่ปรากฏเป็นกราฟในเร่ืองของ การตคี วาม คาถาม : หากเราจะทดลองให้เด็กได้ฝึกความจาเกี่ยวกับชื่อจงั หวัดเพิม่ เติมเปน็ คร้ังที่ 4 ผเู้ รียนชายเจา้ เกิดการเรยี นรู้เพิ่มข้ึนหรอื ไม่ สภาพการเรียนรู้ : จากการขยายสินค้าได้ 4 ปีที่ผ่านมาของบริษัทแห่งหนึ่ง ในปี พ.ศ. 2551 – 2554 ของบริษัทหน่งึ คาถาม : ในปี พ.ศ. 2555 ถ้าการดาเนินงานของบริษัทยังคงอยู่ในภาวะปกติ เราพอจะ ประมาณได้ไหมว่าบริษัทน่าจะขายสินค้าได้สูงกว่าหรอื ตา่ กว่า 28 ล้านบาท ขนั้ ท่ี 3 การนาไปใช้ สิ่งที่วัดระดับการนาไปใช้ คือ ต้องการให้ผู้เรียนนาเร่ืองราวซึ่งเคยเรียนมาแล้ว ไปแก้ปัญหาใหม่ๆ คาถามหรือเนื้อหาที่ใช้ทาน้ันควรจะช่วยให้ผู้เรียนตัดสินได้ว่าความรู้หรือ เรื่องราวที่เคยเรียนมานั้นจะใช้อะไรแก้ปัญหาได้ คาถามในระดับนี้มีจดุ มุ่งหมายที่จะตรวจสอบ ว่าผู้เรียนสามารถเลือกเอาความรทู้ ี่เหมาะสมที่สดุ มาใช้แก้ปญั หาใหม่ ๆ ได้อย่างถูกต้องหรอื ไม่ จะตัดสินว่าการใช้หลักการหรือวิธีการใดจึงจะเหมาะสมหรือเกี่ยวข้องกับสถานการณ์ของ ปัญหาที่จะให้แก้ไข ดังตวั อย่างคาถามต่อไปนี้ สภาพการเรียนรู้: ในช่ัวโมงคณิตศาสตร์ผเู้ รียนได้เรยี นวิธีแก้สมการช้ันเดียวอย่างง่าย คาถาม : ดาตัดหญ้าได้ 1 ไร่ในเวลา 4 ชั่วโมงและนายแดงตัดหญ้าได้ 1 ไร่ในเวลา 4 ช่วั โมง ถ้านายดาและนายแดงช่วยกนั ตัดหญ้าได้เพียง 1 ไร่จะใช้เวลานานเท่าไร สภาพการเรียนรู้: ในชั่วโมงภูมิศาสตร์ผู้เรียนได้เรียนถึงพื้นที่ส่วนต่าง ๆ ของประเทศ ตลอดจนภมู ิอากาศของภาคต่าง ๆ คาถาม: จากแผนที่สมมุติซึ่งระบุส่วนต่าง ๆ เช่น ที่ราบ เกาะ ภูเขา ถามว่าภูมิภาคใด ของประเทศไทยทีม่ ผี ปู้ ระกอบอาชีพการเกษตรมาก ขัน้ ท่ี 4 การวิเคราะห์ สิ่งที่วัดในระดับการวิเคราะห์ต้องการให้ผู้เรียนได้แสดงความสามารถในการวิเคราะห์ โดยวิธีตอ่ ไปนี้

- 92 - ก.ชใี้ หเ้ หน็ ความคาดเคลื่อนเชิงเหตุผลในเรื่องราวต่าง ๆ เช่น ความขัดแย้ง ความคลาด เคลือ่ นที่เกิดจากการตคี วาม เปน็ ต้น ข. ชี้ให้เห็นความสาคัญหรือจาแนกประเภทของเร่ืองราวต่าง ๆ เช่น ข้อเท็จจริง ข้อสันนิษฐาน ข้อสมมติ ข้อสรุป และแนวความคิดในเร่ืองราวนั้น ๆ คาถามในระดับนี้จะเป็น การฝึกการใช้กระบวนการทางตรรกะวิทยา ซึ่งบลูมและคณะ ได้แบ่งออกเป็น 3 ประเภท 1) การวิเคราะหอ์ งค์ประกอบ 2) การวิเคราะหค์ วามสัมพนั ธ์ 3) การวิเคราะหห์ ลกั การ ดงั น้ี สภาพการเรียนรู้: ครูผู้สอนช้ันประถมศึกษาได้อธิบายในห้องเรียนถึงความคิด บางอย่างที่ไปด้วยกันไม่ได้ขัดแย้งกัน เช่น ความเป็นไปไม่ได้ที่ใครคนหนึ่งจะมีรูปร่างทั้งสูงและ เพียบพร้อมกนั คาถาม: อะไรคือความเป็นไปไม่ได้ของนิทานต่อไปนี้เด็กชายอ๊อดมีเหรียญบาท อยู่ 1 อัน เขาเอาเหรียญน้ันไปซอื้ ขนม ต่อมาเขาไปร้านหนงั สือซื้อภาพการ์ตูนร้านจากน้ัน เขาก็ กลบั บ้านและเอาเหรยี ญนั้นไปใส่ในกล่องออมสินของเขา สภาพการเรียนร:ู้ ครผู สู้ อนอธิบายการให้เหตุผลแบบการอนมุ าน คาถาม: การให้เหตุผลในข้อความต่อไปนี้ผิดตรงไหน มนุษย์มี 2 ขา ไก่มี 2 ขา ดังน้ัน ไก่ตอ้ งเป็นมนษุ ย์ สภาพการเรียนรู้: ให้ผเู้ รียนดูภาพยนตร์เกี่ยวกับผลกระทบของมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม เปน็ เวลา 15 นาที คาถาม: ให้เขียนสิ่งที่ประชาชนในภาพยนตร์ได้ตั้งข้อสังเกตเกี่ยวกับผลกระทบของ มลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมพร้อมกับไม้ขีดเส้นใต้ข้อความที่เป็นข้อเท็จจริงของคาตอบเพื่อให้ จาแนกข้อความที่เป็นข้อเทจ็ จรงิ ออกจากข้อความที่เปน็ ความคดิ เหน็ ขนั้ ท่ี 5 การสงั เคราะห์ การสังเคราะห์ต้องการให้ผู้เรียนนาเอาหน่วยความรู้ย่อยว่าผสมผสานหรือมาจาก ระเบียบใหม่เพื่อให้เกิดเป็นโครงสร้างขึ้นใหม่ที่แปลกกว่าเดิม ผู้เรียนจะต้องมีความสามารถใน การมองเรอ่ื งส่วนต่าง ๆ ได้อย่างกว้างขวางหลายแง่หลายมุม รู้จักพลิกแพลงปรับปรุงของเดิม ให้แปลกใหม่ อาศัยความคิดสร้างสรรค์ที่แสดงว่ามีความสามารถในการสังเคราะห์ เช่น ความสามารถในการเสนอแผนงานใหม่ ๆ ความสามารถในการสร้างหรือออกแบบโครงการ รวมท้ังการเขียนบทความ การแต่งคาประพันธ์ การเรียงความ การแสดงความคิดความรู้สึกใน รูปของสุนทรพจน์โดยศิลปะและดนตรี เช่น ให้เขียนเรื่องที่เกี่ยวกับประสบการณ์ของบุคคลให้ พดู เรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยไม่ได้ตระเตรียมล่วงหน้า ให้เขียนภาพแสดงโทษร้ายแรงของเขาต่อการ ใช้ยาเสพติด ให้วางแผนการทดลองเพื่อทดสอบสมมตฐิ านเปน็ ต้นดัง ตวั อย่างคาถามต่อไปนี้

- 93 - สภาพการเรียนรู้: ให้ผเู้ รียนอาสาไปช่วยเหลือเด็กพิการในสถานศกึ ษาส่งเคราะห์ คาถาม : ต้องเขียนภาพ รวมที่ สะท้ อนความ เป็นอยู่ของเด็กพิ การที่ ผู้เรียน ได้ไปช่วยเหลือ สภาพการเรียนรู้: ผู้เรียนได้อ่านตาราวิทยาศาสตร์ที่กล่าวถึงแรงกระทาใด ๆ ว่า ย่อมเท่ากบั แรงต้านของการกระทานนั้ ๆ คาถาม: เราจะสาธิตการทดลองตามหลักการที่ว่าแรงกระทาใดย่อมเท่ากับแรงต้าน ของการกระทานั้นในชีวติ ประจาวนั ของเราได้อย่างไรยกตวั อย่างให้เข้าใจ ขัน้ ท่ี 6 การประเมิน สิ่ งที่ วัด ใน ระดั บ ผ ล ก ารป ระเมิ น ผ ล ต้ อ งก ารให้ ผู้ เรีย น ส าม ารถ ตั ด สิ น คุ ณ ค่ าขอ ง แนวความคิดผลผลิตและวิธีการได้ตรงตามจุดหมายใดจุดหมายหนึ่ง พร้อมกับสามารถแสดง เหตุผลที่ถูกต้องและเหมาะสมสาหรับการตัดสินนั้น ๆ แก้ไปมาตรฐานที่ใช้ในการตัดสิน คือ อาจจะตัดสินตามหลักภายในซึ่งหมายถึงการตัดสินความถูกต้องตามหลักฐานที่สอดคล้องกัน ในเชิงเหตุและผลหรืออาจตัดสินตามหลักฐานภายนอกชื่อ หมายถึง การตัดสินความถูกต้อง ของสิ่งของวัตถุและนโยบายต่าง ๆ โดยการใช้หลักฐานภายนอกที่อาจจะพาดพิงถึงการเลือก เกณฑ์ซึ่งอาจจะให้ผู้เรียนเป็นผู้สร้างเกณฑ์ขึ้นโดยอาศัยแนวเกณฑ์ในลักษณะของงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องหรืออาศัยมาตรฐานและเกณฑ์ที่กาหนดขึ้นโดยผู้เชี่ยวชาญดังตัวอย่างคาถาม ต่อไปนี้ สภาพการเรียนรู้: ผู้เรียนได้เข้าไปสังเกตการณ์เกี่ยวกับการผ่าตัดกระต่ายใน หอ้ งทดลอง คาถาม: จากการสงั เกตพบว่ากระต่ายแต่ละตัวมีปอดดังน้ันถ้าเราสรปุ ว่าจะตัดทุกชนิด ต้องมีปลอดถกู หรือไม่เพราะเหตใุ ด สภาพการเรียนรู้: ผู้เรียนได้ดูภาพยนตร์ 2 เร่ืองเร่ืองหนึ่งเกี่ยวกับความต้องการ ในการเพิ่มผลผลิตน้ามันได้อีกเร่ืองนึงเกี่ยวกับปัญหาสภาพแวดล้อมที่เกิดจากสิ่งตกค้าง ของนา้ มัน คาถาม: ผู้เรียนคิดว่าเราควรเพิ่มหรือควรลดการสารวจน้ามันในบริเวณชายฝั่ง อ่าวไทยเพราะเหตใุ ด สภ าพ ก ารเรียน รู้: ผู้ เรียน ได้ ฟั งการอธิบ ายถึ งการแบ่ งชน ชั้น ใน สังค ม กั บ ความเท่าเทียมกันในสิทธิส่วนบุคคล คาถาม: ผู้เรียนคิดว่าการขับไล่ผู้อพยพชาวต่างชาติที่หลั่งไหลเข้ามาในประเทศไทยนั้น เปน็ การกระทาทีม่ เี หตผุ ลหรอื ไม่เพราะเหตุใด

- 94 - กระบวนการสร้างแบบทดสอบ ครผู ู้สอนควรทราบว่าในรายวิชาที่จัดการเรียนรู้นั้น สอนเน้ือหาอะไรและมีจุดมุ่งหมายให้ผู้เรียนเกิดพฤติกรรมที่คาดหวังอย่างไร โดยกาหนด จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมดังปรากฏในบท ที่ 2 ที่กล่าวมาแล้วนั้น และนามาวิเคราะห์ ความสาคัญ กาหนดจานวนข้อสอบ ดังน้ันจึงต้องมีการสร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตรหรือ สร้างตารางกาหนดรายละเอียดของรายวิชา เพื่อให้การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนได้ตรงกับจุดมุ่งหมายที่ต้องการจะวัด โดยมีข้ันตอนการสร้างแบบทดสอบวัด ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ดงั น้ี 5. ขนั้ ตอนการสร้างแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การสรา้ งแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น (พิชิต ฤทธิ์จรูญ, 2553; อิทธิพทั ธ์ สวุ ทันพรกูล, 2557) มีขนั้ ตอนดงั น้ี 5.1 วิเคราะห์หลักสูตร เป็นการพิจารณามาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด และสาระการ เรียนรู้ของแต่ละรายวิชาที่กาหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ประกอบด้วย จุดมุ่งหมาย หลักการ โครงสร้าง เน้ือหา สื่อการจัดการเรียนรู้ วิธีสอน และการวัดและประเมินผล ซึ่งการวิเคราะห์หลักสูตรเป็นการแยกแยะหลักสูตรให้เห็น องค์ประกอบย่อย โดยมุ่งใหเ้ ห็นความสมั พนั ธ์ของเน้ือหาวิชาและพฤติกรรมของผเู้ รียน 5.2 กาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ เป็นพฤติกรรมที่เป็นผลการเรียนรู้ที่ครูผู้สอน มุ่งหวังให้เกิดขึน้ กับผู้เรียน เพื่อวิเคราะห์เนื้อหาสาระและพฤติกรรมของผู้เรียนที่ต้องการจะวัด และกาหนดให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้ของแต่ละ รายวิชาในหลกั สตู รฯ 5.3 สร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตร หลังจากวิเคราะห์หลักสูตรและกาหนด จุดประสงค์การเรียนรู้แล้ว จึงนามาจัดทาตารางวิเคราะห์หลักสูตร เพื่อพิจารณพฤติกรรม การเรียนรู้ของผู้เรียนที่จะเปลี่ยนแปลงไปหลังจากการเรียนรู้ และให้อันดับความสาคัญของ แต่ละจุดประสงค์กบั เน้ือหาในบทเรียน และกาหนดจานวนข้อสอบใหเ้ หมาะสมกับผเู้ รียน ในรูป ของตารางที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหาและพฤติกรรมที่จะวัด เรียกว่า ตารางวิเคราะห์ หลักสูตร หรอื ตารางกาหนดรายละเอียดของวิชา (Table of Specifications) โดยมีขน้ั ตอนในการ วิเคราะหห์ ลักสูตร (พิชิต ฤทธิจ์ รูญ, 2553) ดังตอ่ ไปนี้ 5.3.1 กาหนดกรรมการวเิ คราะหห์ ลกั สตู รจากครผู ู้สอนที่สอนในรายวิชาเดียวกัน 5.3.2 วิเคราะห์เน้ือหาวิชาโดยการแยกเนื้อหาทั้งหมดออกเป็นหัวข้อย่อย ๆ แล้ว จัดเรียงลาดับเนือ้ หา

- 95 - 5.3.3 วิเคราะห์พฤติกรรมที่จุดมุ่งหมายตามมาตรฐานและตัวชี้วัดในหลักสูตร ซึ่ง เป็นพฤติกรรมที่คาดหวังว่าจะเกิดขึ้นหลังจากจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ อาจมีทั้ง พฤติกรรมดา้ นพทุ ธิพิสัย ด้านจติ พิสัย หรอื ทักษะพิสยั 5.3.4 สร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตรโดยแสดงความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรม และจุดประสงคข์ องบทเรียน 5.3.5 กาหนดน้าหนักของเน้ือหาและพฤติกรรมแต่ละช่องโดยมักกาหนดให้ คะแนนเต็มช่องละ 10 คะแนน แล้วให้กรรมการแต่ละคนพิจารณาให้ค่าน้าหนัก โดยมีเกณฑ์ พิจารณาดังน้ี 9 – 10 คะแนน หมายถึง เนือ้ หาและพฤติกรรมนน้ั สาคญั มาก 7 – 8 คะแนน หมายถึง เนือ้ หาและพฤติกรรมนน้ั สาคญั ค่อนขา้ งมาก 4 – 6 คะแนน หมายถึง เนือ้ หาและพฤติกรรมนน้ั สาคัญปานกลาง 2 – 3 คะแนน หมายถึง เนือ้ หาและพฤติกรรมนนั้ สาคัญน้อย 0 – 1 คะแนน หมายถึง เนือ้ หาและพฤติกรรมนนั้ สาคญั น้อยมาก/ไม่สาคัญ 5.3.6 นาตารางวิเคราะห์หลักสูตรที่กรรมการแต่ละคนกาหนดน้าหนักคะแนน แล้วหาค่าเฉลี่ยใส่ในตาราง แล้วนามาเทียบบัญญัติไตรยางค์ในช่องรวมสุดท้ายมีค่าเป็น 100 หนว่ ย 5.3.7 จดั อนั ดบั ความสาคญั ของเน้ือหาแตล่ ะหน่วยการเรียนรู้ 5.3.8 กรรมการรว่ มกนั พิจารณาและตรวจสอบความถูกต้อง 5.3.9 กาหนดจานวนข้อสอบที่เหมาะสมกับระยะเวลาในการสอบ ประเภทของ ข้อสอบและระดับการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ 5.3.10 นาจานวนข้อสอบที่กาหนดไว้เทียบบัญญัติไตรยางค์ โดยคานวณตาม สัดส่วนของคะแนนนา้ หนกั ทีก่ รรมการพจิ ารณาในข้อ 5.3.7 ข้างตน้ 5.3.11 นาไปเป็นแนวทางในการจัดทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ใหส้ อดคล้องกับ จุดมงุ่ หมายที่ตอ้ งการจะวดั ต่อไป โดยมีรายละเอียดดงั ตารางตอ่ ไปนี้

ตารางท่ี 5.1 แสดงการกาหนดน้าหนกั ในตารางวิเคราะหห์ ลักสตู รสังคม เนือ้ หา (บทเรียน) มาตรฐาน/ พฤตกิ รรมทีต่ อ้ งการวดั / ตัวชีว้ ดั จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 1. พระพุทธ ส 1.1 ป.2/1 บอกความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนาได 2. พระธรรม ส 1.1 ป.2/1 บอกความสาคญั และเคารพพระรตั นตร 3. พระสงฆ์ ส 1.1 ป.2/4 บอกแบบอย่างการดาเนนิ ชีวิตและข้อคิด จากประวตั พิ ทุ ธสาวกได้ 4. การปฏบิ ตั ติ นดี ส 2.1 ป.2/1 เข้าใจและปฏบิ ตั ติ นตามกฎระเบียบของ ครอบครัวและโรงเรียนได้ 5. พลเมอื งดี ส 2.2 ป.2/1 อธิบายความสัมพนั ธ์ของตนเองและสม ครอบครัวในการช่วยเหลอื กิจกรรมของ 6. สิทธิ เสรีภาพ ส 2.2 ป.2/2 ระบผุ ู้มบี ทบาท อานาจในการตดั สนิ ใจใ โรงเรียนและชุมชน อย่างนอ้ ย 3 คน 7. การซือ้ และการขาย ส 3.1 ป.2/1 ยกตวั อย่างการใชจ้ ่ายเงินเพอ่ื ซอื้ สนิ ค้าแ บริการในชีวิตประจาวัน 8. รายได้และรายจ่าย ส 3.1 ป.2/1 ระบุทรัพยากรทีน่ ามาผลิตสินค้าและบร ของตนเองและครอบครวั ทีใ่ นชีวิตประจาวนั ส 3.1 ป.2/2 บอกที่มาของรายได้และรายจ่ายของตน และครอบครัวได้ รวม อนั ดบั ความสาคัญ

มศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ระดบั ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 K (Knowledge) รวม % อนั ดับ จานวน ขอ้ สอบ จา ใจ ใช้ วิ ประ สร้าง ด้ 4 3 - - - - 7 9 6 2 รัย 4 3 - - - - 7 9 6 2 ด 33--- - 68 7 1 ง 4 7 4 - - - 15 19 1 4 มาชกิ ใน - - 6 5 - - 11 14 4 3 - 96 - งชมุ ชน 3 ใน 3 4 5 - - - 12 15 3 และ - 3 4 - 6 - 13 16 2 3 ริการ 1 3 2 - 3 - 9 10 5 2 นเอง 19 26 21 5 9 80 100 20 31254

- 97 - 5.4 กาหนดชนิดของข้อสอบและศึกษาวิธีการสร้างแบบทดสอบ โดยศึกษาจาก ตารางวิเคราะห์หลักสูตรพิจารณาร่วมกันกับจุดประสงค์การเรียนรู้ และเลือกชนิดของ แบบทดสอบว่าเป็นแบบอัตนัยหรือปรนัย ที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน เหมาะสมกับผลการ ทดสอบว่านาไปใช้ในการตัดสินใจเรือ่ งใด และศกึ ษาวิธีการสรา้ งแบบทดสอบแต่ละชนิด 5.5 เขียนข้อสอบ เป็นการกาหนดข้อความถามตามจานวนข้อที่ได้กาหนดไว้ใน ขั้นตอนการสร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตร แล้วเขียนข้อสอบให้สอดคล้องกับชนิดของข้อสอบ หากเปน็ ข้อสอบแบบมีตัวเลือก ต้องเขียนตัวเลือกให้เหมาะสม 5.6 ตรวจทาน นาข้อสอบที่เขียนขึ้นมาแล้วมาตรวจทาน เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ของเน้ือหาและครอบคลุมกบั จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 5.7 จัดพิมพ์แบบทดสอบฉบับนาไปทดลองใช้ นาข้อสอบที่เขียนขึ้นมาจัดพิมพ์ เพื่อจะนาไปทดลองใช้กับโรงเรียนทีม่ ีบริบทใกล้เคียงกับเรา โดยองค์ประกอบของแบบทดสอบ ควรระบุชื่อรายวิชาที่จะทดสอบ จานวนข้อสอบ ระยะเวลาในการทาข้อสอบ เลขหน้า และ คาชแี้ จง พร้อมท้ังจัดพิมพ์ในรูปแบบให้เหมาะสม 5.8 วิเคราะห์คณุ ภาพแบบทดสอบ โดยนาแบบทดสอบที่สอบแล้วมาตรวจให้คะแนน แล้ววิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบ ประกอบด้วย ความเที่ยงตรง ความยาก อานาจจาแนก ความเชื่อม่ัน และความเป็นปรนัย รายละเอียดในบทที่ 7 การวิเคราะห์คุณภาพเคร่ืองมือ วัดและประเมินผลการเรียนรู้ 5.9 จัดทาแบบทดสอบฉบับสมบูรณ์ คัดเลือกแบบทดสอบที่เหมาะสมและเป็นไป ตามเกณฑข์ องคุณภาพแบบทดสอบ แล้วจดั ทาฉบับสมบรู ณ์เพือ่ นาไปใช้จริงกับผเู้ รียน การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีให้มีคุณภาพผู้เขียนต้องมี ลักษณะ คือ 1) มีความรู้ในเนื้อหาวิชาและจุดมุ่งหมายของรายวิชา 2) มีความรู้เกี่ยวกับ หลักการเขียนข้อสอบ รูปแบบของข้อสอบ และวิธีการสร้างข้อสอบตรงตามเนื้อหาและ พฤติกรรมที่ต้องการวัด 3) ใช้ภาษาที่อ่านเข้าใจได้ตรงกัน ไม่คลุมเครือ 4) รู้วิธีการถามใน ลักษณะแปลกใหม่ 5) มีทกั ษะในการวิจารณ์ขอ้ สอบ 6. การบริหารการสอบ การบริหารการสอบเป็นกระบวนการดาเนินการเกี่ยวกับ การวางแผน การทดสอบ และการนาผลไปใช้สาหรับการประเมินการเรียนร้แู ละรายงานผลการเรียนต่อผู้เกี่ยวข้อง 6.1 ความสาคญั ของการบรหิ ารการสอบ 6.1.1 การทาใหก้ ารดาเนินการสอบเป็นระบบ ความสาคญั ของการบริหารการสอบ

- 98 - 6.1.2 ช่วยทาให้ได้ผลการสอบที่มคี วามถกู ต้อง เทีย่ งตรง และเชอ่ื ถือได้ 6.1.3 บุคลากรทีเ่ กีย่ วข้องมีการเตรียมความพร้อมในการดาเนินการสอบ 6.1.4 นาผลการสอบไปใช้ประโยชน์อย่างคุ้มค่า 6.1.5 ช่วยสนบั สนุนส่งเสริมให้ผู้สอบได้แสดงความสามารถและพัฒนาตนเอง 6.2 การดาเนินการสอบ 6.2.1 ก่อนเร่มิ การสอบ 1) ตรวจสอบความเรียบร้อยภายในห้องสอบ เช่น โต๊ะ เก้าอี้ อยู่ในสภาพ ปกติ ตรวจสอบความเรียบร้อยเครือ่ งแตง่ กาย ไม่ให้นาสิง่ ของอปุ กรณ์ตอ้ งห้ามเข้าหอ้ งสอบ 2) ให้เข้าสอบก่อนเวลา 5 - 15 นาที 3) สร้างบรรยากาศและแรงจูงใจ กรรมการคุมสอบต้องประกาศเตือนผู้เข้า สอบตามข้อห้ามต่าง ๆ โดยเฉพาะอุปกรณ์สื่อสาร เคร่ืองคานวณและกระดาษที่สามารถจด ข้อความได้ทุกประเภท พร้อมท้ังระบุผลของการฝ่าฝืนด้วย แบบทดสอบวิชาทีม่ ีการคานวณ ให้ ผเู้ ข้าสอบทดในข้อสอบ หรอื ตามที่ระบุไว้หน้าซองขอ้ สอบ 4) แจกแบบทดสอบ โดยแจกแบบทดสอบและกระดาษคาตอบตามลาดับใน แผนผังการแจกข้อสอบหรือเลขที่น่ังสอบ 5) ให้ผู้สอบเขียนชื่อ รายการตา่ ง ๆ ลงในกระดาษคาตอบ 6.2.2 ขณะดาเนินการสอบ 1) ต้องป้องกนั สิ่งรบกวนสมาธิ ควบคุมการสอบอย่างทั่วถึง ควบคมุ เวลา สอบไม่ให้เกิดการทุจรติ และปฏิบัติหน้าที่ดว้ ยความ รบั ผิดชอบ กรรมการคุมสอบต้องควบคมุ หอ้ งสอบตลอดเวลา และไม่ควรทากิจกรรมอน่ื ๆ 2) เมื่อเวลาสอบผา่ นไปประมาณ 15 นาที ให้ผู้เข้าสอบลงลายมือชื่อในใบ เซ็นชื่อ 3) ก่อนหมดเวลา 5 นาที ใหก้ รรมการคุมสอบประกาศให้ผู้เข้าสอบทราบ 4) เมือ่ หมดเวลาสอบ กรรมการคุมสอบประกาศให้ผเู้ ข้าสอบวางดินสอ ปากกา หยดุ ทาข้อสอบและให้ออกจากหอ้ งสอบทนั ที ห้ามผู้เข้าสอบนาข้อสอบใด ๆ ออกนอก หอ้ งสอบ 6.2.3 หลังดาเนินการสอบ 1) เม่ือหมดเวลาสอบ ให้ผู้เข้าสอบวางดินสอหรือปากกา เก็บรวบรวม กระดาษคาตอบและแบบทดสอบ พร้อมทั้งบรรจกุ ระดาษคาตอบและแบบทดสอบใส่ซองส่งคืน

- 99 - 2) กรรมการคุมสอบตรวจนับข้อสอบ กระดาษคาตอบให้ครบตามจานวน ผู้เข้าสอบและจัดเรียงกระดาษคาตอบตามเลขที่แล้วบรรจุใส่ในซองข้อสอบพร้อมกรอก ข้อความหนา้ ซองขอ้ สอบ กระดาษคาตอบและลงนามหนา้ ซองให้เรยี บร้อย สรุป แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน เป็นเครื่องมอื วัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย ที่เหมาะสาหรับในการวัดความรู้ของผู้เรียนในแต่ละรายวิชา โดยส่วนใหญ่ครูผู้สอนจะสร้างข้ึน เพื่อใช้กับผู้เรียนของตนเอง โดยแบบทดสอบที่ครูผู้สอนสร้างขึ้นเอง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ แบบปรนัย และแบบอัตนัย ซึ่งแบบปรนัย แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ แบบถูกผิด แบบเติมคา แบบจับคู่ และแบบเลือกตอบ การเลือกประเภทของแบบทดสอบขึ้นอยู่กับการวัด และประเมินผลของครูผู้สอน ที่ต้องการให้ผู้เรียนบรรลุจุดมุ่งหมายอย่างไร การสร้าง แบบทดสอบ มีข้ันตอนดังนี้ 1) วิเคราะห์หลักสูตร 2) กาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ 3) สร้าง ตารางวิเคราะห์หลักสูตร 4) กาหนดชนิดของข้อสอบและศึกษาวิธีการสร้างแบบทดสอบ 5) เขียนข้อสอบ 6) ตรวจทาน 7) จัดพิมพ์แบบทดสอบฉบับนาไปทดลองใช้ 8) วิเคราะห์ คุณภาพแบบทดสอบ 9) จัดทาแบบทดสอบฉบบั สมบูรณ์ แบบฝึกหดั 1. แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น มีกีป่ ระเภท อะไรบ้าง 2. เพราะเหตุใดจึงต้องมีการสร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตร และมีความเกี่ยวข้องกับ การวดั และประเมินผลการเรียนรู้กับผู้เรยี นอย่างไร 3. หากนักศึกษาต้องการสร้างวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยของผู้เรียนในรายวิชาที่ตรง กับสาขาวิชาของนักศึกษา จะมีการออกแบบเครื่องมือการวดั และประเมินผลอย่างไร 4. จงอธิบายข้ันตอนการสรา้ งแบบทดสอบ มาพอสังเขป 5. หากนักศึกษาต้องนาแบบทดสอบไปทดลองใช้ที่โรงเรียน นักศึกษาจะการบริหาร การสอบ หรอื ดาเนนิ การจัดการทดสอบในห้องเรยี นอย่างไร จงอธิบายมาพอสังเขป

- 100 - ใบกิจกรรมการสร้างแบบทดสอบ แบบทดสอบ วิชา ...................................................... สาหรบั ผู้เรยี นชั้น .................. จุดประสงค์ : ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... แบบทดสอบอตั นยั (subjective test) คาชี้แจง ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ข้อสอบ ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... แนวการตอบ (เฉลย) ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... เกณฑใ์ นการให้คะแนน ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................

- 101 - แบบทดสอบปรนยั (objective test) 1. แบบทดสอบถกู -ผิด คาชี้แจง ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ……..……1. .............................................................................................................................. ……..……2. .............................................................................................................................. ……..……3. .............................................................................................................................. ……..……4. .............................................................................................................................. ……..……5. .............................................................................................................................. แนวการตอบ (เฉลย) 1. ................. 2. ................. 3. ................. 4. ................. 5. ................. เกณฑใ์ นการให้คะแนน ............................................................................................................................................... 2. แบบทดสอบเติมคา คาชีแ้ จง ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... 1. ........................................................................................................................................... 2. ........................................................................................................................................... 3. .......................................................................................................................................... 4. ........................................................................................................................................... 5. .......................................................................................................................................... แนวการตอบ (เฉลย) 1. ................. 2. ................. 3. ................. 4. ................. 5. ................. เกณฑ์ในการใหค้ ะแนน ...............................................................................................................................................

- 102 - 3. แบบทดสอบจับคู่ คาชี้แจง ............................................................................................................................................... ……..……1. ..................................................... ก ........................................................... ……..……2. ..................................................... ข .......................................................... ……..……3. ..................................................... ค .......................................................... ง .......................................................... จ .......................................................... แนวการตอบ (เฉลย) 1. ................. 2. ................. 3. ................. 4. ................. 5. ................. เกณฑใ์ นการให้คะแนน ............................................................................................................................................... 4. แบบทดสอบเลือกตอบ คาชีแ้ จง ............................................................................................................................................... คาถาม ............................................................................................................................................... คาตอบ ก)………………………………………………………………………………………… ข) ………………………………………………………………………………………… ค) ………………………………………………………………………………………… ง) ………………………………………………………………………………………… จ) ………………………………………………………………………………………… แนวการตอบ (เฉลย) ............................................................................................................................................... เกณฑ์ในการใหค้ ะแนน ............................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook