- 103 - บทที่ 6 เครื่องมือวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย จากที่กล่าวไว้ในบทที่ 5 เกี่ยวกับเครอ่ื งมอื วัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย โดยมีเครอ่ื งมือ คือ แบบทดสอบน้ัน ครูผู้สอนยังสามารถสร้างและใช้เคร่ืองมือเพื่อวัดและประเมินพฤติกรรม ผู้เรียนด้านคุณธรรม จริยธรรมหรือคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และด้านการปฏิบัติ ให้เป็นไป ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้ระบุไว้ในหมวด 1 มาตรา 6 ว่า การ จัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ท้ังร่างกาย จิตใจ และ สติปัญญา ความรู้ คุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับ ผู้อื่นได้อย่างมีความสุข จากคากล่าวนี้ ทาให้การพัฒ นาด้านจิตพิสัยเป็นสิ่งสาคัญ ที่ จ ะเป็ น พื้ น ฐ าน ให้ เกิ ด คุ ณ ลั ก ษ ณ ะอั น พึ งป ระส งค์ ต าม ที่ ห ลั ก สู ต รแก น ก ล างก ารศึ ก ษ า ขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ที่ระบุไว้ ครูผู้สอนจึงต้องมีการวัดและประเมินพฤติกรรมของ ผู้เรียนด้วยเคร่ืองมือที่หลากหลาย เพื่อจะวัดพฤติกรรมที่แสดงออกของผู้เรียนได้อย่าง เหมาะสมและถูกต้อง 1.เครือ่ งมือวัดพฤติกรรมดา้ นจิตพิสยั เคร่ืองมือวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยมีหลายประเภท เช่น แบบตรวจสอบรายการ แบบมาตราส่วนประมาณค่า แบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ แบบวัดเชิงสถานการณ์ เป็นต้น ซึ่งเคร่ืองมือแต่ละประเภทมีลักษณะ คุณสมบัติ และความเหมาะสมกับพฤติกรรมที่จะวัด ต่างกัน อีกทั้งการวัดประเมินด้านจิตพิสัยเพียงคร้ังเดียวไม่สามารถสรุปพฤติกรรมของผู้เรียน ได้ ต้องอาศัยระยะเวลาในการวัดอย่างต่อเน่ือง เพื่อให้นักเรียนแสดงพฤติกรรมอย่างเป็น ประจา จงึ จะถือว่าเป็นพฤติกรรมที่แท้จริงของผู้เรยี น 1.1 แบบตรวจสอบรายการ (Checklist) คือ รายการที่กาหนดไว้เกี่ยวกับพฤติกรรม ที่ต้องการให้กระทา หรือวิธีการที่มีจุดประสงค์ว่าจะให้ทาตามนั้น การใช้แบบสารวจเป็นการ กาหนดเป็นน้าหนักคะแนนว่า ได้ หรือ ไม่ได้ ถ้าผ่านหรือได้แสดงว่าผู้ปฏิบัติได้กระทาตาม รายการน้ันถูกต้อง แต่ถ้า ไม่ได้ ก็แสดงว่าทาไม่ถูกต้อง (พิชิต ฤทธิ์จรูญ, 2553; มลิวัลย์ ผวิ คราม,2559)
- 104 - ตวั อย่างแบบตรวจสอบรายการ แบบวดั ความมีวินยั ในตนเอง ชือ่ -สกลุ …………………………………………………………………………………..ชั้น…………………………….…………….. วนั ที…่ ………………………………….……….เวลา…………………………………….. คาชีแ้ จง ให้ใชเ้ ครือ่ งหมาย ในช่องระดบั พฤติกรรมทีเ่ กิดขึน้ ที่ รายการพฤติกรรม ระดับพฤติกรรม ใช่ ไม่ใช่ 1 ข้าพเจ้าส่งการบ้านตรงเวลาทกุ ครั้ง 2 ข้าพเจ้าไม่เคยมาโรงเรียนสาย 3 บางครง้ั ข้าพเจ้าไม่ได้เข้าแถวหน้าเสาธงในตอนเช้า 4 ข้าพเจ้าแตง่ กายด้วยชุดนักเรียนมาโรงเรียนทุกวัน 5 ข้าพเจ้าทิง้ ขยะในถังขยะหรือบริเวณสาหรบั ทงิ้ ทุกครั้ง (ที่มา: พิชิต ฤทธิ์จรญู , 2553) แบบบนั ทึกพฤติกรรมความก้าวร้าว ชื่อนักเรียน ........................................................... วนั ที่ ......................................................... ชื่อผู้สังเกต ...........................................................สถานทีส่ งั เกต............................................ คาชีแ้ จง ให้ใชเ้ ครื่องหมาย ในช่องระดับพฤติกรรมที่เกิดขึน้ รายการพฤติกรรม บอ่ ยครัง้ บางครงั้ ไม่มีเลย 1. แหย่เพ่อื น 2. แย่งของเพื่อน 3. ตะโกนเสียงดัง 4. ทาท่าขึงขงั กบั เพื่อน 5. ขว้างปาส่งิ ของเพื่อน (ที่มา: อนุวัติ คูณแก้ว, 2558)
- 105 - แบบวัดเจตคติตอ่ คณิตศาสตร์ ชือ่ ผู้เรียน.........................................................................ช้ัน..........................ห้อง.................... คาชีแ้ จง ให้ทาเครื่องหมาย ✓ ในช่องที่ตรงกบั ความคิดเห็นหรอื ความรสู้ ึกของท่านที่มีตอ่ นกั เรียนเกีย่ วกับข้อความนั้น ระดบั ความคดิ เหน็ ที่ ขอ้ ความ ค่อนข้าง ค่อนข้าง จริง จริง ไม่จริง ไม่จริง 1 มีความกระตือรอื ร้นในการค้นคว้าความรู้ ทางคณิตศาสตร์ 2 เมือ่ มีขอ้ สงสัยมักจะซักถามปญั หาที่เกี่ยวกับ คณิตศาสตร์ 3 มีสว่ นร่วมในกิจกรรมเกีย่ วกับคณิตศาสตร์ 4 พยายามตรวจสอบความถูกต้องของขอ้ มูลหรอื ความสมเหตสุ มผลกบั แหล่งขอ้ มลู ที่เชอ่ื ถือได้ 5 เมื่อใหท้ าแบบฝกึ หดั ทีม่ คี วามซับซ้อน ผเู้ รียนมี ความมงุ่ มัน่ ที่จะทาแบบฝกึ หัดนนั้ 6 ไม่ท้อถอยในการทากิจกรรมคณิตศาสตร์ เมือ่ พบปญั หาอปุ สรรค 7 ในการทางานกลุ่ม มกั จะเสนอความคดิ เห็น และช่วยเหลือเพื่อนในกลุ่ม 8 เมือ่ ครมู ขี ้อคาถามคอยยกมือตอบอยู่เสมอ 9 หากไม่เขา้ ใจแบบฝกึ หัดจะศกึ ษาค้นคว้า เพิ่มเติมโดยไม่ลอกเพือ่ น 10 สนใจเนื้อหาคณิตศาสตร์อ่ืนเพิม่ เติม นอกเหนอื จากเนื้อหาในหอ้ งเรียน (ทีม่ า: ปรบั จาก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกระทรวงศกึ ษาธิการ, 2555)
- 106 - 1.2 มาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) มีลักษณะคล้ายแบบสารวจรายการ แต่กาหนดระดับคะแนนให้แก่รายการตามความคิดเห็นของผู้สังเกตว่ารายการน้ัน ๆ ผู้เรียน มีพฤติกรรมตามข้อความหรือรายการนั้นอยู่ในระดับใด นิยมใช้แบบวัดแบบลิเคิร์ท (Likert scales) ที่สามารถระบรุ ะดับของความรู้สกึ ได้ เชน่ - เหน็ ด้วยน้อยทีส่ ดุ เหน็ ด้วยน้อย เห็นด้วย เหน็ ด้วยมาก เหน็ ด้วยอย่างยิ่ง - ชอบน้อยที่สดุ ชอบน้อย ไม่แนใ่ จ ชอบมาก ชอบมากทีส่ ุด - ไม่ปฏิบัติเลย ปฏิบัติเพียงเลก็ น้อย ปฏิบัติบางคร้ัง ปฏิบัติบ่อย ๆ ปฏิบตั ิเปน็ ประจา โดยใช้เป็นคะแนน 1 2 3 4 5 หากคาถามเป็นลักษณะลบให้กลับการให้คะแนน แล้วนามา แปลผลให้ถูกต้อง ซึ่งมาตราส่วนประมาณค่ามีหลายรูปแบบ เช่น แบบตัวเลข แบบสัญลักษณ์ เปน็ ต้น (พิชิต ฤทธิจ์ รญู , 2553; อนุวัติ คูณแก้ว, 2558; มลิวัลย์ ผิวคราม,2559) ตวั อย่างแบบมาตราส่วนประมาณค่าแบบตัวเลข แบบวัดความมีจติ สาธารณะในตนเอง คาชี้แจง ให้ท่านทาเครื่องหมาย ✓ ตรงกับความรสู้ ึกของท่าน โดยมีคะแนนดังน้ี 5 หมายถึง เหน็ ดว้ ยอย่างยิ่ง 4 หมายถึง เห็นด้วย 3 หมายถึง ไม่แน่ใจ 2 หมายถึง ไม่เห็นดว้ ย 1 หมายถึง ไม่เหน็ ดว้ ยอย่างยิง่ ที่ ขอ้ ความ ระดบั ความรสู้ ึก 5 43 2 1 1 เมือ่ เห็นครูยกของ ฉนั จะเข้าไปช่วยถือของ 2 เมือ่ เพื่อนไมไ่ ด้นายางลบมาเรียน ฉันจะให้เพื่อนยืมยางลบ 3 เมื่อพบเห็นตบู้ ริจาค ฉันมักจะบริจาคเงินหรอื ของเสมอ 4 เมื่อเหน็ หอ้ งเรียนสกปรก ฉนั มักจะเข้าไปช่วยเก็บกวาด 5 ฉนั ช่วยครูลบกระดานหลังเรียนเสร็จเปน็ ประจา
- 107 - แบบวดั เจตคติวิชาภาษาอังกฤษ คาชี้แจง ให้ท่านทาเครือ่ งหมาย ✓ ตรงกบั ความคิดเหน็ ของท่าน โดยมีคะแนนดังน้ี หมายถึง ชอบมาก หมายถึง ค่อนข้างชอบ หมายถึง เฉย ๆ หมายถึง ไม่ค่อยชอบ หมายถึง ไม่ชอบเลย ที่ ข้อความ ระดบั ความคดิ เหน็ 1 ภาษาอังกฤษเป็นวิชาทีท่ ้าทาย 2 ฉนั ชอบอ่านหนงั สือ เอกสารตา่ ง ๆ เกี่ยวกับภาษาองั กฤษ 3 ภาษาอังกฤษเป็นสิ่งทีน่ า่ สนใจ 4 ฉันชอบดรู ายการโทรทัศน์ที่เปน็ ภาษาอังกฤษ 5 ภาษาอังกฤษทาให้ฉันมีความสขุ 1.3 แบบสังเกตพฤติกรรม เป็นเคร่ืองมือวัดผลชนิดหนึ่งที่ผู้ทาหน้าที่ในการวัดใช้ ประสาทสัมผัสเป็นเคร่ืองมือ ในการเรียนการสอนสิ่งที่ครูผู้สอนจะสังเกตผู้เรียนคือ ผลงาน และพฤติกรรมของผู้เรียน เช่น สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนในขณะที่เรียนว่ามีความสนใจใน บทเรียนเพียงไรมีความขยันหมัน่ เพียรหรอื ไม่ให้ความร่วมมือในการทางานกลุ่มเพียงใด เปน็ ต้น ตัวยา่ งแบบสงั เกตพฤติกรรม แบบสงั เกตพฤติกรรมการคยุ กนั ในห้องเรียนแบบสมุ่ เวลา เวลา 9.00 9.30 10.00 10.30 11.00 11.30 13.00 13.30 14.00 14.30 15.00 ชือ่ ด.ญ.ร้อยเรียง / / / / / / ด.ญ.มาเรียม // / // (ที่มา: ปรบั จาก พิชิต ฤทธิจ์ รญู , 2553)
- 108 - แบบบนั ทึกพฤติกรรมการลกุ ออกจากทีข่ ณะให้ทาแบบฝึกหัด ชือ่ นักเรียน ........................................................... วันที่ ......................................................... นาทีที่ 10 วินาที 20 วินาที 30 วินาที 40 วินาที 50 วินาที 60 วินาที % 1 - X X - - X 50 2 X X X - X X 83 3 - X X - X X 67 4 X X X X X X 100 5 - X - X - - 33 แบบสงั เกตพฤติกรรมในช่วงเวลาทก่ี าหนด ชือ่ นกั เรียน ........................................................... วันที่ ......................................................... ชื่อผู้สังเกต ...........................................................สถานที่สังเกต............................................ เวลาที่สังเกต ....................................................... การบรรยายพฤติกรรม ความคดิ เห็น / ขอ้ เสนอแนะ หลงั จากทีใ่ ห้ทาแบบฝกึ หัด ด.ช.เก่ง ความคิดเห็น ได้ย้ายทีน่ ง่ั ไปนัง่ กับเพือ่ น เมอ่ื ทาเสรจ็ แล้ว ด.ช.เก่งมีความรบั ผิดชอบในการทางาน กไ็ ด้ลุกจากทีน่ ั่งไปคุยและแหย่เพื่อนที่ยงั ไม่เสร็จ ข้อเสนอแนะ ด.ช.เก่งควรทบทวนหรอื หาหนังสืออน่ื มา อ่าน จะได้ไม่ไปรบกวนเพื่อน (ทีม่ า: อนุวัติ คูณแก้ว, 2558) 1.4 แบบสอบถาม (Questionnaire) คือ แบบวัดที่มีคาถามเป็นชุด ๆ ที่รวบรวมไว้ อย่างเป็นระบบ เป็นเคร่ืองมือที่ใช้รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นที่ให้ผู้ตอบเขียนตอบเอง มีหลายประเภท เช่น การเขียนตอบสั้น ๆ ให้ทาเคร่ืองหมายเพื่อตอบ เป็นต้น โดย มี ส่วนประกอบ คือ 1) คาชี้แจงในการตอบแบบสอบถาม โดยระบุจุดมุ่งหมายของการสอบถาม ลักษณะของการสอบถามว่ามีกี่ตอน กี่ข้อ แสดงความรับผิดชอบ (ถ้ามี) เช่น “การตอบ แบบสอบถามคร้ังนี้ถือเป็นความลับ จะไม่เกิดผลเสียหายแต่ตัวท่าน และจะวิเคราะห์โดย
- 109 - ภาพรวม” เป็นต้น และตอนสุดท้ายของคาชี้แจงควรกล่าวขอบคุณในความร่วมมือ 2) ข้อมูล ท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม เช่น อายุ เพศ ระดับการศึกษา อาชีพ เป็นต้น 3) ประเด็น คาถามเกีย่ วกับพฤติกรรมทีจ่ ะวัด อาจจะแบ่งเปน็ ด้าน หรอื คาถามวดั พฤติกรรมย่อย ๆ ก็ได้ ตัวอยา่ งแบบสอบถาม แบบสอบถามสาหรบั นกั เรยี น คาชีแ้ จง : ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลทวั่ ไปของนักเรยี น ชื่อ – สกลุ ……………………………………………………………………………………………ช้ัน………………………………….. ครปู ระจาชั้น…………………………………………………………….วัน/เดือน/ปีเกิด…………………………………………. ทีอ่ ยู่…………………………………………………………………………………………………………………………………………….. หมายเลขโทรศัพท์………………………………………e-mail……………………………….Facebook……………………. ตอนท่ี 2 ข้อมลู เกี่ยวกับความเป็นตวั ตนของนักเรยี น ความสามารถพิเศษของตนเอง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….... จดุ เด่นที่มอี ยู่ในตนเอง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….... จุดอ่อนที่นกั เรียนคิดว่าควรจะพัฒนา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….... กิจกรรมที่ชอบทาเวลาว่าง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….... ท่านมเี หตผุ ลอะไรในการเลือกเรียนวิชาชีพครู ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….... ขอขอบคณุ ที่ใหค้ วามร่วมมือในการตอบแบบสอบถาม
- 110 - 1.5 แบบสัมภาษณ์ คือ แบบวัดที่ประกอบด้วยกลุ่มของคาถามที่ใช้ถามด้วยการ สนทนาอย่างมีจุดมุ่งหมาย ที่ผู้สัมภาษณ์เป็นผู้ถามและผู้ฟังเป็นผู้ตอบคาถามด้วยภาษาพูด นิยมใช้เป็นเคร่ืองมือวัดผลการศึกษาเกี่ยวกับคุณลักษณะด้านความรู้สึกเป็นส่วนใหญ่ เช่น เกี่ยวกับบุคลิกภาพ การปรับตัว เจตคติ ความสนใจ รวมทั้งคุณลักษณะเกี่ยวกับการปฏิบัติใน ด้านวิธีการปฏิบัติ การใช้การสัมภาษณ์เพื่อวัดความสามารถในด้านความรู้ความคิดทาง สติปัญญาก็สามารถใช้ได้ แต่ต้องระมัดระวังในกรณีที่ผู้ถูกสัมภาษณ์มีหลายคน และใช้คาถาม คนละชนิดคนละเร่ืองซึ่งจะทาให้เกิดปัญหาในเร่ืองการเปรียบเทียบคะแนน (พิชิต ฤทธิ์จรูญ, 2553; มลิวลั ย์ผิวคราม,2559) ตวั อยา่ งแบบสมั ภาษณ์ แบบสัมภาษณ์ ประเดน็ การสัมภาษณ์ ……………………………………………………………………………………………………………… ชื่อผู้สอน …………………………………………………………………………………………………………………………………… ชื่อผู้เรยี น ………………………………………………………………………………………………………………………………….. วนั ที…่ ……………………………………………………เวลา…………………….สถานที่…………………………………………. ประเด็นคาถาม/คาตอบ ความร้สู ึก/ข้อคดิ เห็นสว่ นตัว 1. (คาถาม) (ใช้สาหรับบันทึกข้อมูลอื่น ๆ ที่ผู้สอนสังเกต (บันทึกคาตอบ) เพิ่มเติมขณะสัมภาษณ์) 2. (คาถาม) (บันทึกคาตอบ) 1.6 แบบวัดเชิงสถานการณ์ เป็นการจาลองหรือสร้างเหตุการณ์ต่าง ๆ ขึ้น แล้วให้ บคุ คลแสดงความรู้สึกว่าตนเองจะกระทาหรือมีความเห็นอย่างไรต่อสถานการณ์นั้น ซึ่งอาจจะ ใช้วธิ ีการเขียนตอบ หรอื บอกความเห็น หรอื ให้เลือกตวั เลือกที่กาหนดให้ ตัวอยา่ งแบบวดั เชิงสถานการณ์ ถา้ มีคนพิการมาขอทานจากทา่ น ถ้าท่านพอมีเงนิ อยูบ่ ้างท่านจะทาอย่างไร เดินผ่านไปเฉย ๆ เพราะ ............................................................................................. บอกใหไ้ ปข้างหน้าก่อน เพราะ..................................................................................... ให้เป็นบางครงั้ เพราะ................................................................................................. ให้ทุกคร้ัง เพราะ ........................................................................................................ แนะนาให้ไปประกอบอาชีพอืน่ เพราะ ......................................................................... (ทีม่ า: พิชิต ฤทธิจ์ รูญ, 2553)
- 111 - ตวั อย่างแบบวัดเชิงสถานการณ์ สมศักดิเ์ ดินไปทีบ่ ริเวณอาคารหลังโรงเรียนและพบกลุ่มนกั เรียนกาลงั ทะเลาะกัน ถ้านักเรียน เปน็ สมศักดิ์ นกั เรียนจะทาอย่างไร ก. เข้าไปหา้ มกลุ่มนกั เรียนทีก่ าลงั ทะเลาะกนั ข. ไม่สนใจ และเดินกลบั ไปที่ห้องเรียน ค. รีบวิง่ ไปบอกคุณครู 2. ข้ันตอนการสรา้ งเครื่องมือวัดพฤติกรรมดา้ นจิตพิสยั 2.1 ข้ันตอนการสร้างเคร่ืองมือวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย แบบตรวจสอบรายการ แบบมาตราส่วนประมาณค่า แบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ มีขน้ั ตอนการสรา้ ง ดังน้ี 2.1.1 กาหนดคุณลักษณะ หรือเป้าหมาย โดยระบุให้ชัดเจนว่าต้องการตรวจสอบ หรือประเมินอะไร เช่น เจตคติต่อวิชาชีพครู ค่านิยมในวัฒ นธรรมไทย คุณ ลักษณ ะ อันพึงประสงค์ของผเู้ รียน เป็นต้น 2.1.2 นิยามความหมายของส่ิงที่จะวัดใหช้ ัดเจน เพื่อให้ทราบว่าสิง่ ทีจ่ ะวัดคืออะไร ประกอบด้วยคณุ ลักษณะใดบ้าง 2.1.3 เลือกใช้วธิ ีการและเคร่อื งมอื ให้เหมาะสมกบั คณุ ลักษณะที่ตอ้ งการวัด เชน่ แบบตรวจสอบรายการ แบบมาตราส่วนประมาณค่า แบบสงั เกต แบบสัมภาษณ์ เป็นต้น 2.1.4 วิเคราะห์พฤติกรรมสาคัญจากการพฤติกรรมที่ประเมิน โดยเปน็ พฤติกรรม ที่วัดได้และสังเกตได้ในสถานศึกษา แล้วสร้างรายการคาถาม ข้อความที่แสดงพฤติกรรม หรือ คณุ ลักษณะที่ตอ้ งการจะวัดในทกุ ๆ ด้าน และกาหนดเกณฑ์การให้คะแนน (Scoring Rubric) 2.1.5 ตรวจสอบรายการคาถามหรือข้อความว่าชัดเจน ไม่ซ้าซ้อนกับรายการอื่น แล้วจัดเรียงรายการตามลาดบั ของพฤติกรรม 2.1.6 นาเคร่ืองมือที่สร้างขึ้นให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณาความเหมาะสม (ความ เที่ยงตรง) 2.1.7 ทดลองใช้เครื่องมือกับผู้เรียนในประเด็นที่ต้องการจะวัด ซึ่งเป็นโรงเรียนที่มี บริบทใกล้เคียงกัน แล้วนาผลทีไ่ ด้มาวิเคราะหต์ ามเทคนิควิธีของแต่ละชนิดของเครื่องมอื 2.1.8 ปรบั ปรุงคณุ ภาพของเครือ่ งมือวัดพฤติกรรมด้านจติ พิสยั 2.2 ขั้นตอนการสร้างเคร่ืองมือวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย แบบวัดสถานการณ์ มีขนั้ ตอนการสรา้ ง ดงั น้ี
- 112 - 2.2.1 กาหนดเน้ือหาและพฤติกรรมหรอื คณุ ลักษณะที่ตอ้ งการจะวัดให้ชัดเจน 2.2.2 กาหนดสถานการณ์ที่มคี วามยากพอเหมาะกบั ระดับของผเู้ รียน 2.2.3 กาหนดคาถามเพื่อถามในเนื้อหาหรือสถานการณ์นั้นตามพฤติกรรมหรือ คณุ ลักษณะทีต่ อ้ งการจะวดั โดยสถานการณแ์ ละคาถามมีหลักการดังน้ี 1) การกาหนดสถานการณ์ 1.1) ควรเป็นสถานการณท์ ี่เป็นไปได้ที่เกิดข้ึนจริงกบั บคุ คลในขณะนั้น 1.2) ควรมีความเข้มข้นหรอื รนุ แรงระดับปานกลาง ไม่สร้างความเครียด ให้กับผู้เรียนที่จะตอบคาถามจนเกินไป เช่น สถานการณ์การฆาตรกรรม สถานการณ์ ความรนุ แรงในวัยรุ่น เป็นต้น 1.3) สาระสาคัญที่กาหนดในสถานการณ์ต้องเพียงพอที่จะให้ผู้เรียน เลือกตัดสินใจในทางที่เหมาะสม 2) การกาหนดคาถาม 2.1) ไม่ควรถามตรง ๆ ใหเ้ กี่ยวกบั เรื่องที่กาหนดไว้ ไม่ถามนอกเรื่อง 2.2) คาถามอาจจะมี 2 ลกั ษณะ คือ 2.2.1) คาถามให้ประเมินสถานการณ์ แล้วตัดสินว่า ดี -ไม่ดี ทา-ไม่ทา ถกู ต้อง-ไม่ถูกต้อง ควร-ไม่ควร ใช้ได้-ใช้ไม่ได้ 2.2.2) คาถามระบแุ นวทางที่ตนเองจะปฏิบัติ หากตนเองเป็นบุคคล ในสถานการณน์ ั้น หรอื เป็นผู้เกีย่ วข้องกับเหตุการณใ์ นถสานการณ์นนั้ จะปฏิบัติตนอย่างไร 3) เขียนคาถามและสถานการณ์เสรจ็ แล้วให้ทบทวนว่าเหมาะสมหรอื ไม่ 4) นาไปทดลองใชแ้ ละปรับปรุงแก้ไข
- 113 - สรุป เคร่ืองมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้นอกจากในการวัดประเมินด้านพุทธิพิสัยที่เป็น การวัดประเมินความรู้โดยมีเคร่ืองมือ คือ แบบทดสอบ ยังมีเคร่ืองมือที่สามารถวัดพฤติกรรม ผเู้ รียนด้านจติ พิสัยทางด้านคุณธรรมจริยธรรมหรือคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และด้านทักษะ พิสยั ทีเ่ ปน็ การวัดประเมินกระบวนการหรอื ผลผลิต เคร่ืองมือวัดประเมินผลการเรียนรู้ด้านจิตพิสัย เป็นเคร่ืองมือที่ใช้วัดและประเมิน ความรู้สึก ความคิดเห็น เจตคติของผู้เรียน ที่ต้องวัดอาศัยระยะเวลาในการวัดและประเมิน อย่างต่อเนื่อง เคร่อื งมือน้ันประกอบด้วย แบบตรวจสอบรายการ แบบมาตราส่วนประมาณค่า แบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ และแบบวัดเชิงสถานการณ์ โดยรายการคาถามของเคร่ืองมือ อาจให้ผู้เรียนได้ประเมินตนเองว่ามีพฤติกรรมนั้นอย่างไรหรืออยู่ในระดับใด หรือครูผู้สอน เป็นผู้ประเมินควบคู่ไปกับการสังเกตพฤติกรรม และคอยบันทึกพฤติกรรมของผู้เรียน อย่างต่อเนื่องเป็นประจา โดยการสร้างเคร่ืองมือน้ันครูผู้สอนต้องกาหนดคุณลักษณะหรือ เป้าหมาย และนิยามให้ชัดเจน วิเคราะห์พฤติกรรมที่เป็นพฤติกรรมที่สังเกตได้ และกาหนด เกณฑก์ ารให้คะแนนอย่างเหมาะสม
- 114 - แบบฝึกหดั 1. จงอธิบายรูปแบบและข้ันตอนการสร้างเครือ่ งมอื วัดและประเมินต่อไปนี้ 1.1 แบบตรวจสอบรายการ 1.2 มาตราส่วนประมาณค่า 1.3 แบบวัดเชิงสถานการณ์ 1.4 แฟ้มสะสมงาน 2. จงระบุเครือ่ งมือที่เหมาะสมกบั พฤติกรรมหรอื คณุ ลักษณะทีก่ าหนดให้พร้อมให้เหตุผล ดังน้ี 2.1 ความสนใจเรียนในรายวิชาการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ 2.2 ความสามารถในการนาเสนองานหน้าช้ันเรยี น 2.3 พฤติกรรมการปฏิบตั ิงานเป็นทีม (งานกลุ่ม) 3. จงระบุพฤติกรรมที่เหมาะสมกับเคร่ืองมือที่กาหนดให้พร้อมให้เหตุผล (ระบุได้ มากกว่า 1 พฤติกรรม) ดังน้ี 3.1 แบบบันทึกข้อมูลการมาโรงเรียนของผู้เรยี น 3.2 แบบวัดเจตคตขิ องผู้เรยี นต่อการเรยี นรายวิชาการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ 3.3 แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมในช้ันเรยี น 4. จงสร้างแบบสังเกตเพื่อใช้บันทึกข้อมูลของพฤติกรรมการใช้ห้องสมุดของนักศึกษา เป็นเวลา 1 สัปดาห์ พร้อมท้ังบันทึกข้อมูลขณะที่มกี ารสงั เกต 5. จงสร้างแบบสัมภาษณ์เร่ืองที่ท่านสนใจมา 1 ฉบับ และทาการสัมภาษณ์บุคคลที่ ท่านสนใจโดยเลือกบุคคลและเร่ืองที่จะสัมภาษณ์ตามความสนใจของท่าน พร้อมทั้งบันทึก ข้อมลู ขณะทีท่ าการสัมภาษณ์ดว้ ย
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: