Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้ที่ 3

ใบความรู้ที่ 3

Published by petch2631, 2017-09-21 05:54:59

Description: ใบความรู้ที่ 3

Search

Read the Text Version

พิธีกรรมและการปฏบิ ตั ติ นหนา้ ที่พลเมืองและศีลธรรม รหัสวิชา 2000-1501

ใบความรู้ หนว่ ยที่ 3 พธิ ีกรรมและการปฏบิ ตั ิตน ศาสนพธิ เี กดิ ขน้ึ หลงั จากพระพุทธเจ้าประกาศพระศาสนาแล้ว ต่อมาพระองค์ได้ประกาศหลกั สาคญั ของพระพุทธศาสนาท่เี รียกวา่ หวั ใจพระพทุ ธศาสนา ด้วยการแสดง \"โอวาทปาฏโิ มกข์\" ในวันเพ็ญเดอื น 3 สาหรับเป็นหลกั ปฏบิ ัตขิ องชาวพุทธไว้ 3 ประการ คอื ๑. สพั พปาปัสสะ อกรณงั การไม่ทาช่ัวทง้ั ปวง ๒. กสุ ลัสสูปสมั ปทา การทาความดี ๓. สจิตตปริโยทปนงั การทาจติ ให้บรสิ ุทธผ์ิ ่องใส จากหลกั การข้างต้น พระองคจ์ ึงตรัสวิธที าความดีไว้เรียกวา่ บญุ กิรยิ าวัตถุ คอื หลกั การทาบญุ 3 ประการ ดังนี้ ๑. ทาน แปลวา่ การให้ หมายถึง การสละส่งิ ของให้เป็นประโยชน์แก่ผอู้ น่ื ๒. ศลี แปลว่า ปกติ หมายถงึ การรักษากาย วาจา ใหเ้ รยี บรอ้ ย ๓. ภาวนา แปลวา่ อบรม เจรญิ ทาให้มี หมายถึง การอบรมจิตให้สงู ขึ้น หลกั การทาบุญทงั้ 3 น้ี จงึ ทาให้เกิดวัฒนธรรมในการประกอบพธิ กี รรมทางศาสนา จะเหน็ ไดจ้ ากองคป์ ระกอบตอ่ ไปน้ี เรียกว่า ศาสนพธิ ี แบ่งเปน็ 4หมวด คอื ๑. กุศลพิธี หมายถงึ พิธบี าเพญ็ กุศล ๒. บุญพิธี หมายถงึ พิธที าบญุ ๓. ทานพิธี หมายถึง พิธถี วายทาน ๔. ปกิณกพธิ ี หมายถึง พิธีเบด็ เตลด็ คอื ศาสนาพิธตี ามกาลประเพณที ห่ี ลากหลายและถูกตอ้ ง หลกั ธรรมเป็นเหมือนตน้ ไม้ ศาสนพธิ ีเปรยี บเหมอื นเปลอื กกระพ้ขี องตน้ ไม้ ถ้าตน้ ไม้ไม่มเี ปลอื กและกระพี้ คงไม้เจริญงอกงามและเฉาตายในท่สี ุด ฉะนั้น ศาสนพิธจี งึ ช่วยสบืต่ออายพุ ระพุทธศาสนาได้ เพราะเป็นสง่ิ ทชี่ ักจูงให้คนเข้าถึงแก่นธรรมจรงิ ๆความหมายของศาสนพิธี (จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรมขอ้ 1) ศาสนพิธี หมายถึง ระเบียบแบบแผนหรือแบบอย่างท่ีพึงปฏิบัติในศาสนา เมื่อนามาใช้ในพระพุทธศาสนา จงึ หมายถึงระเบยี บแบบแผนหรอื แบบอย่างทพ่ี งึ ปฏิบัติในพระพทุ ธศาสนา ความจริงศาสนพิธีเป็นส่ิงท่ีมีอยู่ในทุกศาสนาซึ่งแตกต่างกันไปตามลักษณะความเชื่อของศาสนาหรือลัทธิน้นั ๆ เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นภายหลังศาสนา โดยศาสนาต่าง ๆ จะเกิดข้ึนมาก่อนแล้วพธิ ีกรรมต่าง ๆ จึงเกิดข้ึน แม้จะไม่ใช่สิ่งท่ีเป็นแก่นสารของศาสนา แต่ท่านผู้รู้ก็เปรียบพิธีกรรมหรือศาสนพิธีว่าเป็นดังเปลือก

ตน้ ไม้ซ่ึงคอยห่อห้มุ แก่นของต้นไม้คือเนื้อแท้ของศาสนาไว้โดยทั้งสองส่วนน้ีจะต้องอาศัยกันและกัน กล่าวคือหากไมม่ ีแก่นแท้ของศาสนา ศาสนพิธีก็อยู่ไดไ้ ม่นาน หรือหากมีเฉพาะแก่นของศาสนาแตไ่ ม่มี ศาสนพธิ ี แก่นแทข้ องศาสนาก็อย่ไู ดไ้ มน่ านเชน่ เดยี วกับต้นไมท้ มี่ ีแตเ่ ปลอื กไม่มแี ก่นหรือมแี ต่แกน่ ไมม่ เี ปลือกฉนั นัน้ ศาสนพิธีของพระพุทธศาสนาก็เช่นกัน เป็นส่ิงท่ีช่วยหล่อเลี้ยงแก่นแท้ของพระพุทธศาสนาไว้เหมือนเปลือกของต้นไม้คอยปกปอ้ งแก่นไมไ้ ว้ แตอ่ ย่างไรก็ดี การทาพิธีต่าง ๆ ของพระพทุ ธศาสนาในปจั จบุ ันได้มีจุดหักเหที่จะกลายเป็นแก่นแท้ของพระพุทธศาสนา โดยไปยึดเอาว่าศาสนพิธีน้ันคือแก่นของพระพุทธศาสนา และยึดถืออย่อู ยา่ งนัน้ อยา่ งแนบแน่น ดังนน้ั จึงควรศกึ ษาทาความเขา้ ใจเก่ียวกับพธิ ีให้ถ่องแท้ตามหลกั การของพระพทุ ธศาสนา เพ่ือจะไดป้ ฏบิ ัติได้อย่างถูกต้องตรงตามจุดมงุ่ หมายต่อไปคุณคา่ ของศาสนพธิ ี ในการประกอบศาสนพิธที ุกครั้ง ควรคานงึ ถงึ คณุ ค่าและประโยชน์ของพิธีน้นั ๆ มากกว่าจะไปยดึ ตดิ อยกู่ ับขนั้ ตอนหรือส่วนประกอบเล็กน้อยทไี่ ม่เก่ยี วข้อง คณุ ค่าและประโยชน์ของศาสนพิธมี ีดงั น้ี ๑. ศาสนพิธีเปน็ เหมอื นเปลือกทีห่ ่อหมุ้ สาระของพระพทุ ธศาสนาเอาไว้ให้ปลอดภยั และนามาใช้ไดเ้ ปน็ ประโยชน์แก่บคุ คล สังคม ประเทศชาติได้อยา่ งยาวนาน ๒. ศาสนพิธีเปน็ เหมอื นเครอ่ื งมือทท่ี าให้คนมารวมกันทาใหเ้ กิดความสมคั รสมานสามัคคีระหวา่ งคนในชมุ ชน สงั คม และในประเทศ ๓. ศาสนพิธเี ปน็ เครอ่ื งมือในการจัดสรรสภาพแวดลอ้ ม ให้คนไดม้ โี อกาสเข้ามาใกล้ชดิ กบัศาสนา และไดเ้ รยี นรู้สาระของพระพทุ ธศาสนา ทั้งทางตรงและทางออ้ ม ๔. ศาสนพธิ เี ปน็ เครอ่ื งหมายทีแ่ สดงออกซ่งึ ความเปน็ ชาติ ที่มีวฒั นธรรม ประเพณี และขนบธรรมเนียมอันดงี าม เพราะวฒั นธรรมประเพณี และขนบธรรมอนั ดงี ามเหลา่ นล้ี ว้ นแลว้ แตอ่ งิ อาศยั อย่กู ับแนวคิดทางศาสนา และศาสนพิธีทั้งสนิ้ (พระมหาวฒุ ิชัย วชริ เมธี, ๒๕๔๗, หน้า ๑๓๒)ประโยชนข์ องศาสนพิธที างพระพทุ ธศาสนาต่อผปู้ ฏิบตั ิ คอื ๑. เปน็ เคร่ืองยดึ เหนยี่ วทางใจแก่พุทธศาสนิกชนให้หม่ันทาความดี ละเว้นความชั่ว บาเพญ็จิตใจให้สุขสงบ ๒. พทุ ธศาสนกิ ชนได้นาไปปฏบิ ัตเิ พื่อเป็นบรรทัดฐานในการดาเนินชีวติ ๓. เปน็ ส่วนของการสร้างศรัทธาตอ่ ศาสนาและยดึ ถือหลกั ธรรม ๔. เมอ่ื ยดึ ถือปฏิบัติเปน็ สรณะแล้ว จะก่อให้เกิดความสุข ความปติ ิ จติ ขาวสะอาดขึน้ เปน็ ตน้พธิ กี รรมทางพุทธศาสนาแยกไวเ้ ปน็ 4 หมวด คือ (จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรมข้อ 2) 1. หมวดกุศลพธิ ี : วา่ ดว้ ยพิธีบาเพ็ญกุศล 2. หมวดบญุ พธิ ี : ว่าด้วยพธิ ีทาบุญ 3. หมวดทานพธิ ี : ว่าด้วยพธิ ีถวายทาน 4. หมวดปกิณณกะ : วา่ ด้วยพิธเี บ็ดเตล็ด

ภาพการทาบุญตกั บาตรของพุทธศาสนิกชน1.กุศลพธิ ี (จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรมข้อ 2-4) ภาพการประกอบพธิ ีเวยี นทางในวนั สาคญั กุศลพิธี คือ พิธกี รรมต่าง ๆ อันเกี่ยวดว้ ยการอบรมความดีงามทางพระพุทธศาสนา เฉพาะตัวบคุ คล หรือ การสร้างความดีแกต่ นทางพระพุทธศาสนาตามพธิ นี ่ันเอง พิธีทานองน้ี มมี ากด้วยกนั แบง่ ไดเ้ ปน็ ๒ อย่าง คือ พิธีทพี่ ุทธบรษิ ทั พงึปฏบิ ตั ใิ นเบอื้ งตน้ อยา่ งสามัญพวกหนงึ่ และพธิ ีกรรมทส่ี งฆพ์ ึงปฏิบัติเพ่ือความดีงามในพระวินัยทงั้ ส่วนตัวผูป้ ฏิบตั ิและหมู่คณะ พวกหน่งึ ต่าง ๆ ทางพระพุทธศาสนา พิธที ีพ่ ทุ ธบริษัทพงึ ปฏิบัตใิ นเบือ้ งต้นอย่างสามัญ ที่สาคัญ มีอยู่ ๓ เรื่อง คือ พิธีแสดงตนเป็นพุทธมามกะ พิธีเวียนเทียนในวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา และพิธีรักษาอุโบสถ พิธีท้ัง ๓ เร่ืองนี้เปน็ พิธีที่พุทธศาสนิกชนทุกคนพึงทราบ และปฏิบัติได้โดยถูกต้องครบกระบวนระเบียบพิธี ตลอดจนสามารถจดั พิธีน้ัน ๆ ให้เด็กหรือเยาวชน หรือผู้ที่จะเข้ามาเป็นพุทธศาสนิกชนไดป้ ฏิบัติไดถ้ ูกต้องครบถ้วนตามกระบวนระเบียบพธิ ีทีก่ าหนดเป็นประเพณไี ว้ด้วย

พิธีกรรมท่ีสงฆ์พึงปฏิบัติเพ่ือความดีงามในพระวินัย ท้ังส่วนตัวผู้ปฏิบัติ และหมู่คณะท่ีสาคัญได้แก่ พิธีเข้าพรรษา พิธีทาวัตรสวดมนต์ พิธีกรรมวันธรรมสวนะพิธีทาอุโบสถสังฆกรรม และพิธีออกพรรษา ซ่ึงแต่ละพิธลี ้วนมีความสาคญั ตอ่ พระสงฆท์ งั้ น้นั ภาพการประกอบพธิ ีแสดงตนเป็ นพุทธมามกะ พิธกี รรมที่สงฆพ์ งึ ปฏบิ ตั ิดงั กล่าวน้ี พุทธบรษิ ทั ที่เปน็ คฤหัสถก์ ็ควรทราบด้วย เพ่ือจะได้ เปน็ การสร้างเสริมศรัทธาในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ว่า พระพุทธเจ้านั้นท่าน ได้วางระเบียบวิธีปฏิบัติไว้สาหรับพระสงฆ์อยา่ งไร มีความละเอียดลออและมีความหมายตอ่ พุทธศาสนิกชนอย่างไร พระสงฆจ์ ะต้องปฏิบัติตามเพื่อความขัดเกลากิเลสอย่างยากย่งิ อย่างไร และจะเปน็ การที่จะช่วยให้ไดม้ ีการประสานการอบรมความดงี ามทางพระพุทธศาสนาเฉพาะ บุคคล ทัง้ ฝ่ายพระสงฆแ์ ละฝ่ายคฤหัสถ์ใหก้ ลมกลืนกันเปน็ การสร้างความมนั่ คงในความดีงาม ของพุทธบริษัทโดยส่วนรวมดว้ ย2.บญุ พธิ ี (จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรมข้อ 2-4) บุญพิธี หมายถึง พิธีทาบุญท่ีเกี่ยวกับประเพณีในครอบครัว ซึ่งเป็นประเพณีที่เกี่ยวกับการดาเนินชีวติ ของคนท่วั ไป มี ๒ ประเภท คือ ๑.๒.๑ พิธที าบุญในงานมงคล ได้แก่ พิธีทาบุญในโอกาสต่าง ๆ เพ่ือความเป็นสิริมงคลแก่ตนเอง ญาติและเพื่อน ๆ เชน่ พิธที าบุญวนั เกดิ พธิ ีแตง่ งาน พธิ ที าบุญขึ้นบา้ นใหม่ เปน็ ต้น ๑.๒.๒ พิธที าบุญในงานอวมงคล ได้แก่ พิธีทาบุญเกี่ยวกบั การตาย เชน่ พิธีทาบุญหน้าศพ พิธที าบญุ อัฐิ เปน็ ต้น(กรมการศาสนา, ๒๕๔๕, หน้า ๒ – ๓)3.ทานพธิ ี (จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรมข้อ 2-4) ทานพธิ ี ได้แก่ พิธถี วายทานแดพ่ ระภิกษสุ งฆ์ เช่น พิธีถวายสังฆทาน พิธีถวายสลากภัตร พิธีทอดกฐิน พิธีทอดผ้าป่า เปน็ ตน้ พธิ ีถวายทานตา่ ง ๆ เรียกว่า ทานพิธี ซงึ่ มีทงั้ ทานพิธสี ามญั ทจี่ าเป็นและนิยมบาเพญ็ กนั อยทู่ ัว่ ไปและรายละเอียดของทานต่าง ๆ เหตผุ ล ประวตั แิ ละวิธกี ารถวาย ซงึ่ จะตอ้ งทราบท้ังฝา่ ยผู้ถวายและพระภิกษุสงฆ์ผรู้ บั ถวาย การถวายทาน คอื การถวายวัตถทุ ่คี วรให้เป็นทาน ในพระพทุ ธศาสนาเรียกวัตถทุ ี่ควรใหเ้ ป็นทานน้วี ่า “ทานวตั ถุ” จาแนกไดเ้ ป็น ๑๐ ประการ ดังน้ี

ท้งั ๑๐ ประการ นี้ ควรถวายเปน็ ทานแดภ่ กิ ษุสามเณรเพ่ือใช้สอยหรอื บชู าพระตามสมควร การถวายทานมี นิยม ๒ อย่าง คอื ๑. ถวายเจาะจง เฉพาะพระภิกษรุ ูปนนั้ รปู นี้เรยี กว่า ปาฏิบคุ ลิกทาน ๒. ถวายไม่เจาะจงเฉพาะพระภกิ ษุรูปใดรูป หน่ึง มอบให้เปน็ ของสงฆ์ จงึเฉล่ียกัน ใช้สอยเอง เรยี กวา่ สงั ฆทาน ปาฏบิ ุคลกิ ทานไมต่ ้องมี การถวาย พธิ กี รรมในการถวาย เพราะเม่ือผ้ถู วายเกิดศรัทธา จะถวายสิ่งใดแดพ่ ระภิกษหุ รอื สามเณรรปู ใด ก็จัดสง่ิ น้ันมอบถวายพระภิกษุหรือสามเณรรปู นั้น เป็นรายบุคคลก็สาเร็จเปน็ ทานแล้ว และผู้รับปาฏิบุคลิกทานจะอนุโมทนาดว้ ยบทสวดบทไหน เรอ่ื งน้นั กเ็ ปน็ สว่ นบคุ คลเช่นกัน แต่สาหรับสังฆทาน เป็นการถวายแด่สงฆ์ เกี่ยวกับพระสงฆ์ สว่ นรวมในวัด จดั เป็นการสงฆ์ไม่ใชก่ ารบุคคล จงึ เปน็ เรื่องเก่ียวเนื่องด้วยพิธกี รรมโดยเฉพาะ มพี ิธีการถวายและการอนโุ มทนาของสงฆซ์ ง่ึ เปน็ ประเพณที างพระพุทธศาสนาสืบต่อกนั มา การถวายทานวตั ถุท้ัง ๑๐ ประการดังกลา่ วแลว้ มคี าถวายแตกตา่ งกนั ออกไปซึง่ แยกไดเ้ ปน็ พวก ๆตามปัจจยั เครอ่ื งอาศยั ๔ อย่างของบรรชติ คอื จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานเภสัช การถวายทานนยิ มถวายเป็น ๒ แบบ คือ (๑) ถวายในกาลทค่ี วรถวายสิ่งนนั้ ๆ เรยี กวา่ กาลทาน (๒) ถวายไมเ่ นอื่ งดว้ ยกาลหรอื นอกกาล เรียกวา่ อกาลทาน ซ่งึ มีระเบียบพธิ ีในการถวาสว่ นใหญ่ก็คล้าย ๆ กันทัง้ สนิ้ (กรมการศาสนา, ๒๕๔๕, หน้า ๔ – ๕)4. ปกณิ กพธิ ี (จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อ 2-4) ปกณิ กพิธี หมายถงึ พธิ เี บด็ เตลด็ ไดแ้ ก่ มารยาทและระเบยี บปฏิบัติในพิธีท้งั ๓ ข้างต้น เช่น วธิ ีแสดงความเคารพพระ วธิ ีประเคนของพระ วธิ อี าราธนาต่าง ๆ วธิ กี รวดน้า เปน็ ต้น ปกิณกพธิ ี คอื พิธตี ่าง ๆ ทไ่ี ม่นับเขา้ ในพธิ ที ง้ั ๓ ข้างต้น สว่ นใหญจ่ ะเป็นมารยาทและวิธีปฏิบตั ิในพิธี ๓ ประการ รวมทัง้ ข้อปฏิบัตบิ างอย่างท่ีพุทธศาสนกิ ชนควรทราบ พิธีเหล่านี้ ไดแ้ ก่ วธิ แี สดงความเคารพพระ วธิ ีประเคนของพระ วธิ ีทาหนังสืออาราธนา และทาใบปวารณาถวายจตุปัจจัย วิธอี าราธนาศีลอาราธนาพระปรติ ร อาราธนาธรรม วธิ ีกรวดน้า วธิ จี บั ด้ายสายสิญจน์ วิธีตั้งโตะ๊ หมบู่ ชู าพิธขี องพระสงฆ์กม็ วี ธิ ีบงั สุกลในพิธที าบุญอายหุ รือพธิ ศี พวิธบี อกศักราชในการแสดงพระธรรมเทศนา

บรรณานกุ รมพสิ ฐิ พงศ์ สีดาว. หน้าทีพ่ ลเมอื งและศลี ธรรม. สานักพมิ พ์ศูนยส์ ง่ เสรมิ อาชวี ะ, 2560


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook