ระดับชั้น ม.2 By Kru’Oum
บทบาทและความสาคัญของสถาบันทางสั งคม สถาบนั ทางสังคม หมายถึง แบบแผนในการคิด การกระทาที่คนใน สังคมยึดถือยอมรบั และประพฤติปฏิบตั ิสืบต่อกันมาภายใต้กฎเกณฑ์ของ สังคมเพอ่ื ตอบสนองความต้องการพน้ื ฐานของสมาชกิ ในสังคม กาหนด สถานภาพและบทบาทของบุคคลตา่ ง ๆ
สถาบนั ทางสังคมท่ีเป็นสถาบนั พน้ื ฐานของสังคมไทย มดี ังน้ี
๑.๑ สถาบันครอบครัว สถาบันครอบครั ว เนื่ องจากเป็น ครอบครวั เป็นรากฐานของสถาบันทางสังคม สถาบันพ้ืนฐานของสั งคม ท่ีมีขนาดเล็ก ที่จะพัฒนาไปสู่สถาบันทางสังคมอ่ืน ๆ ท่ีสุด ก่อต้ังข้ึนจากสมาชิกชายและหญิง ทาหน้าท่ีเป็นบิดาและมารดาที่จะให้กาเนิด ส ม า ชิ ก ใ ห ม่ เ ป็ น พ่ อ แ บ บ แ ม่ แ บ บ ใ น การถ่ายทอดส่ิงต่าง ๆ และให้การศึกษาใน ขน้ั แรกแก่สมาชกิ ใหมต่ ่อไป
๑.๑ สถาบันครอบครัว บทบาทและความสาคัญของสถาบันครอบครวั มดี ังนี้ ๑ ) ค ร อ บ ค รั ว มี บ ท บ า ท ใ น ก า ร ก า ห น ด ส ถ า น ะ ท า ง สั ง ค ม ใ ห้ แ ก่ ส ม า ชิ ก ใ ห ม่ เช่น การหนดเชื้อชาติ ศาสนา ของสมาชิกในครอบครวั ๒) ครอบครวั เป็นต้นกาเนิดของบุคลิกภาพและคณุ ลักษณะของสมาชิก ๓ ) ค ร อ บ ค รั ว เป็ น ส ถ า บั น พ้ื น ฐ า น ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง สั ง ค ม มี บ ท บ า ท เป็ น แหล่ งเรียนรู ้ถ่ายทอดองค์ความรู ้ ฝึกฝนสมาชิกในครอบครัวให้รู้จักระเบียบของสั งคม ด้วยการอบรมสั่ งสอนเป็ นธุ ระจั ดหาสถานท่ี เรียนเพ่ือส ร้างคุณภาพชีวิตให้แก่ สมาชิก ในครอบครวั ให้เติบโตเป็นบุคคลที่มีประสิทธภิ าพและเป็นพลเมอื งท่ีดีของสังคม ๔) ครอบครัวเป็นสถาบันที่สามารถตอบสนองความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ได้ใน ทุกระดับท้ังด้านความต้องการทางด้านรา่ งกาย ความต้องการทางด้านจิตใจ และความต้องการ ทางด้านสังคม
๑.๒ สถาบันการศึกษา สถาบันการศึกษา เป็นสถาบันสาหรับการพัฒนามนุษย์มีจุดมุ่งหมายในการท่ี จะทาให้สมาชิกในสังคมเกิดการเรียนรู้ มีความรู้ความสามารถเป็นบุคคลท่ีประกอบ ไ ป ด้ ว ย คุ ณ ธ ร ร ม ศี ล ธ ร ร ม แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม ส ถ า บั น ก า ร ศึ ก ษ า มี ห ล า ย ร ะ ดั บ เชน่ โรงเรยี น วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัย สถาบนั การศึกษา มจี ดุ มุง่ หมายในการทาให้ สมาชิกในสังคมมคี วามรู้ ความสามารถ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรมในการอยู่รว่ มกบั ผู้อื่น
๑.๒ สถาบนั การศึกษา บทบาทและความสาคัญของสถาบนั การศึกษา มดี ังนี้ ๑) การขัดเกลาทางสังคม เพอ่ื ให้สมาชิกมคี ุณลักษณะตามท่ีสังคมต้องการ ๒) เป็นแหล่งเรียนรู้ ถ่ายทอดความรูค้ วามสามารถ ทักษะ และเทคโนโลยี ให้สมาชิก ในสังคม ให้เปน็ ผู้ท่ีคิดเปน็ ทาเปน็ แก้ปัญหาเป็น ๓) เลือกสรรและกาหนดบทบาทของสมาชกิ ในสังคม ๔) ผสมกลมกลืนทางสังคมและวัฒนธรรม เช่น สอนให้สมาชิกใหม่ได้เรียนรู้ภาษา และวัฒนธรรมของตน หรือปลูกฝังให้ สมาชิกในสั งคมรู้จักอนุ รักษ์ และส่ งเสริม ศิลปวฒั นธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีงาม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี ๒
๑.๓ สถาบนั ศาสนา สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิด การกระทาในเร่ืองเกี่ยวกับจิตใจ ความเชื่อ และพฤติกรรมของมนุษย์ที่มีความเกี่ยวข้องกับความสัมพันธร์ ะหว่างมนุษย์กับ ส่ิงเหนือธรรมชาติเป็นสถาบนั ท่ีครอบคลมุ ในเรอ่ื งต่าง ๆ เชน่ การปฏิบตั ิตนของศาสนิกชน พิธีกรรม ความเชื่อทางไสยศาสตร์ หรือความเชื่อของแต่ละศาสนา สถาบันศาสนา เชน่ วดั สานักสงฆ์ สภาครสิ ตจกั รแห่งประเทศไทย โบสถ์ มสั ยดิ เทวสถาน
๑.๓ สถาบันศาสนา บทบาทและความสาคัญของสถาบนั ศาสนา มดี ังนี้ ๑) เป็นท่ียึดเหน่ียวจติ ใจ ๒) สรา้ งความเป็นปกึ แผ่นให้แก่สังคม ๓) เสรมิ สรา้ งและถ่ายทอดวฒั นธรรมแก่สังคม ๔) เป็นบอ่ เกิดแห่งศิลปวฒั นธรรม และประเพณีท่ีดีงาม ๕) เป็นแบบอยา่ งของความประพฤติที่ดีงามให้แก่สมาชกิ ๖) เป็นพื้นฐานสาคั ญของอานาจรัฐ เช่น ในระบอบการปกครอง บางระบอบหรอื ในสังคมท่ีมผี ูน้ าศาสนาเป็นผูน้ าทางการเมอื ง
๑.๓ สถาบันศาสนา สถาบนั ศาสนาเปน็ สถาบนั ท่ีชว่ ยขดั เกลาจติ ใจ ของศาสนิกชนให้มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม
๑.๔ สถาบันเศรษฐกิจ สถาบนั เศรษฐกิจ คือ กลุ่มของระเบยี บกฎเกณฑ์ หรอื ระบบความสัมพนั ธท์ างสังคม ในกิจกรรมทางเศรษฐกิจซ่ึงหมายถึง การผลิตสินค้า บริการ การอุปโภคและบริโภค การแล กเปล่ี ย นหรือการค้ า ขาย การกร ะจายผ ลประ โยชน์ ให้ แก่ ส มาชิกในสั งค ม สถาบันเศรษฐกิจเป็นสถาบันที่ตอบสนองความต้องการของสมาชิกในด้านปัจจัย ๔ และการบริการในด้านส่ิงอานวยความสะดวกต่าง ๆ ในการดาเนินชีวิตกลุ่มสังคมใน ส ถ า บั น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ เ ช่ น ร้ า น ค้ า โ ร ง ง า น อุ ต ส า ห ก ร ร ม อ ง ค์ ก ร เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ต่ า ง ๆ กระทรวงพาณิชย์
๑.๔ สถาบันเศรษฐกิจ บทบาทและความสาคัญของสถาบนั เศรษฐกิจ มดี ังน้ี ๑) ผลิตสินค้าและบรกิ ารเพอื่ ตอบสนองความต้องการของสมาชกิ ในสังคม ๒) จดั สรรและกระจายสินค้าและบรกิ ารไปสู่สมาชกิ ในสังคมอยา่ งทั่วถึง ๓) พัฒนาและสร้างความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจให้มีประสิทธิภาพ เพอ่ื ความอดุ มสมบูรณ์และความมน่ั คงของสมาชกิ ๔) เป็นองค์ประกอบสาคัญในการสรา้ งรากฐานทางการเมอื ง ๕) เป็นเครื่องมือที่ดีในการลดปรมิ าณการต่อสู้ทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะใน ภาวะท่ีทรพั ยากรและการผลิตของมนุษยอ์ ยูใ่ นวงจากัด ในขณะที่มนุษย์มคี วามต้องการ ทางวตั ถุมากข้นึ
๑.๕ สถาบันการเมอื งการปกครอง สถาบันการเมืองการปกครอง หมายถึง องค์กรท่ีมีบุคคลหรือกลุ่มบุคคลเข้ามา ดาเนินกิจกรรมทางการเมืองร่วมกันโดยมีระเบียบแบบแผน กฎเกณฑ์ กระบวนการ และวิธีการดาเนิ นงานท้ังในส่ วนที่ เป็นแบบแผนและในส่ วนที่ไม่เป็นแบบแผน ให้บรรลุเปา้ หมายขององค์กรน้ัน ๆ ในทางการเมอื งโดยชอบธรรม สถาบนั การเมอื งการปกครองเปน็ สถาบนั ที่ ทาหน้าที่บรหิ ารและพฒั นาประเทศ ให้มคี วามเจรญิ ก้าวหน้าในทกุ ๆ ด้าน
๑.๕ สถาบนั การเมอื งการปกครอง บทบาทและความสาคัญของสถาบนั การเมอื งการปกครอง มดี ังนี้ ๑) เป็นสถาบนั ที่สรา้ งระเบยี บกฎเกณฑ์ ให้แก่สังคม ๒) ให้หลักประกันในเรอ่ื งสิทธแิ ละเสรภี าพแก่สมาชกิ ในสังคม ๓) วนิ ิจฉัยข้อขัดแยง้ ระหวา่ งสมาชิกในสังคม ๔) วางแผนและกาหนดนโยบายในการบรหิ ารประเทศ ๕) ป้องกัน รักษา และให้ความคุ้มครองสมาชิกในสังคมให้มีความปลอดภัย และสงบสุข รวมท้ังป้องกันและรกั ษาความปลอดภัยจากภายนอกสังคมด้วย
๑.๖ สถาบันนันทนาการ สถาบันนันทนาการ หมายถึง แบบแผนการคิดและการกระทาท่ีเกี่ยวกับการ พักผ่อนหย่อนใจให้ความสุขและความบันเทิงแก่ผู้ท่ีเข้ารว่ ม เช่น ศิลปะ กีฬา การละเล่น ดนตรี การเขา้ รว่ มกิจกรรมจะเป็นไปตามความสมคั รใจและความชอบส่วนบุคคล การฟังดนตรเี ปน็ การพกั ผอ่ นหยอ่ นใจ ชว่ ยให้ผูฟ้ งั เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน
๑.๖ สถาบนั นันทนาการ บทบาทและความสาคัญของสถาบนั นันทนาการ มดี ังนี้ ๑) สร้างความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ผ่อนคลายความเครียดจากการเรียน และการทางาน ๒) เปน็ การใชเ้ วลาวา่ งให้เกิดประโยชน์ ในทางสรา้ งสรรค์ต่าง ๆ ๓) เสรมิ สรา้ งสุขภาพรา่ งกายให้แขง็ แรง และมสี ุขภาพจติ ดี ๔) ฝึกทักษะและความชานาญในด้านต่าง ๆ ๕) เสรมิ สรา้ งความสามคั คี ความมรี ะเบยี บวนิ ัยในการอยู่รว่ มกับผู้อนื่
๑.๗ สถาบนั ส่ือสารมวลชน สถาบนั ส่ือสารมวลชนนาเสนอข้อมูล ขา่ วสารให้แก่คนในสังคมได้รบั รู้ สถ า บั น ส่ื อ ส า ร มว ล ช น ห ม า ย ถึ ง แบบแผนการส่ือสารระหวา่ งบุคคลในสังคม ที่มกี ารขยายตัวกวา้ งใหญ่ข้ึน ครอบคลุมท่ัว ทุ ก พ้ื น ท่ี ใ น โ ล ก เพื่ อ ล ด ข้ อ จ า กั ด ข อ ง ระยะทางและเวลาในรูปแบบโทรทัศน์ วิทยุ สื่ อ ส่ิ ง พิ ม พ์ ต่ า ง ๆ แ ล ะ อิ น เท อ ร์ เ น็ ต นอกจากนี้ ยังถ่ายทอดความรู้และความ บันเทิงให้แก่ประชาชนทุกเพศ ทุกวัย ทาให้ สังคมปจั จบุ นั เปน็ สังคมแห่งการเรยี นรู้
๑.๗ สถาบันส่ือสารมวลชน บทบาทและความสาคัญของสถาบนั สื่อสารมวลชน มดี ังน้ี ๑) ให้ความรูแ้ ละความบนั เทิงแก่ประชาชนทกุ เพศ ทกุ วยั ๒) รายงานขา่ วสารและสถานการณ์ต่าง ๆ ให้ประชาชนได้รบั ทราบ ๓) ถ่ายทอดวฒั นธรรมและปลูกฝังค่านิยมต่าง ๆ ๔) เป็นส่ือกลางในการติดต่อระหวา่ งสมาชกิ ของสังคม ๕) สอดส่องดแู ลและตรวจสอบการทางานของบุคคลในสังคม เพอ่ื ให้เกิดความโปรง่ ใส
๒. ความสัมพนั ธ์ของสถาบันทางสังคม สั ง ค ม จ ะ มี ค ว า ม เ จ ริญ รุ ่ง เรือ ง ย่ อ ม ต้ อ ง เ กิ ด จ า ก ก า ร มี ส ม า ชิ ก ใ น สั ง ค ม ท่ี มี คุ ณ ภ า พ ส ม า ชิ ก ท่ี มี คุ ณ ภ า พ ก็ ย่ อ ม ต้ อ ง เ กิ ด จ า ก ส ถ า บั น ท า ง สั ง ค ม ท่ี มี คุ ณ ภ า พ เ ช่ น เ ดี ย ว กั น ซ่ึงสถาบันทางสังคมทุกสถาบันล้วนมีความสัมพันธ์ที่เชื่อมโยงถึงกัน มีหน้าท่ีตอบสนอง ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร มี ส่ ว น ร่ว ม ใ น ก า ร ส่ ง เส ริม ให้ ส ม า ชิ ก ใ น สั ง ค ม เป็ น บุ ค ค ล ท่ี มีคุ ณ ภ า พ และธารงให้สังคมเจรญิ ก้าวหน้า
แบบพฒั นาทักษะในการทาข้อสอบปรนัย เพอื่ ประเมนิ ตัวชว้ี ัด
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๒
Search
Read the Text Version
- 1 - 31
Pages: