การประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยีคิวอารโ์ ค้ด เพื่อสง่ เสริมกจิ กรรมการเรียนรู้ ของนักเรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๒/๑ โรงเรียนบ้านแปน้ พิทยาคม จังหวดั ลาพนู โดย พระไพศาล ภรู ิปญโฺ ญ (ก้อนใจ) รหสั ๕๘๒๒๒๐๒๐๐๔ งานวจิ ยั นเี้ ปน็ สว่ นหนงึ่ ของการศึกษา ตามปรญิ ญาพทุ ธศาสตรบณั ฑิต คณะครศุ าสตร์ สาขาวชิ าสงั คมศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วิทยาลยั สงฆ์ลาพูน ปีการศกึ ษา ๒๕๖2
บทที่ 1 บทนา 1.1 ทมี่ าและความสาคัญของปัญหา เทคโนโลยสี ารสนเทศในปัจจุบันมีพัฒนาการท่ีเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว และเข้ามามี บทบาทตอ่ ชวี ติ ประจาวันของผู้คนมากขน้ึ มีการปรบั ปรงุ เคร่ืองมือเคร่ืองใช้ท่ีเป็นประโยชน์กับงาน สารสนเทศอยตู่ ลอดเวลา อกี ทัง้ ชว่ ยให้การค้นหาข้อมูลทางด้านต่างๆ อย่างง่ายขึ้ นกว้างขวางไร้ ขีดจากดั เทคโนโลยีเป็นเครอ่ื งมือในการดาเนนิ งานสารสนเทศให้เปน็ ไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ นับตั้งแต่ การผลติ การจัดเก็บ การประมวลผล การเรียกใช้การส่ือสารสารสนเทศ การแลกเปล่ียนและใช้ ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกนั ให้เกิดประโยชน์อย่างเตม็ ท่ี เทคโนโลยีสารสนเทศเกิดจากการพัฒนาและ ประยกุ ต์เอาความรู้ทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละการส่อื สารมาใชค้ วบคกู่ ับสารสนเทศเช่น ระบบอินเตอร์เน็ต ที่ใช้ในโทรศพั ทเ์ คลื่อนที่ ในการส่งข้อมลู และสารสนเทศถึงกันและกันได้ เป็นต้น ความก้าวหน้าของ เทคโนโลยกี ารส่อื สารไร้สายมกี ารพัฒนาอย่างรวดเรว็ และได้รับความนิยมในการใชง้ านเพ่ิมมากขึ้นใน ปจั จุบัน และมีแนวโน้มทจี่ ะมอี ตั ราการใชง้ านที่สงู มากยิ่งขน้ึ ต่อไปอีกในอนาคต มีผลกระทบต่อการ ดารงชวี ติ ของคนเรา เพราะเทคโนโลยีการส่ือสารไรส้ ายได้เขา้ มามบี ทบาทสาคัญกับชวี ติ ประจาวันของ เราอย่างมากมาย เชน่ โทรศพั ท์ วิทยุ กล้องดิจติ อล หรือ อปุ กรณเ์ คร่ืองคอมพิวเตอร์ เป็นต้น ทาให้ เราต้องปรับตัวในการท างานไปตามเทคโนโลยีดงั กล่าวด้วย ซึง่ เทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์และ ระบบสอ่ื สารกาลงั ก้าวเขา้ หากันและในที่สุดจะรวมเปน็ หนึ่งเดยี ว ผู้ใชค้ อมพวิ เตอร์ก็จะมีระบบสื่อสาร รว่ มดว้ ย ผู้ใช้ระบบสือ่ สารกจ็ ะมีคอมพวิ เตอรร์ ว่ มด้วยเช่นกนั ระบบการสอนในศตวรรษที่ 21 ต้องออกแบบให้นกั เรียนได้เป็นผู้สร้างความรู้ด้วยตนเอง มากกว่าการรบั การถา่ ยทอดจากครผู ูส้ อน (Constructivism) โดยออกแบบให้นกั เรียนไดค้ ้นหาความรู้ ดว้ ย ตนเอง วิเคราะห์ขอ้ มลู ตรวจสอบข้อมลู และสรุปเป็น องคค์ วามรรู้ ูปแบบการเรียนการสอนแบบ น้เี ช่น การสอน แบบสบื เสาะ (Inquiry Learning) การสอนแบบปัญหา เป็นฐาน (Problem-Based Learning) การสอนแบบ วจิ ยั เปน็ ฐาน (Research-Based Learning) เป็นต้น และหากต้องการให้ นกั เรียนสามารถจดจาความร้เู หล่านน้ั ไดด้ ีขึน้ และเกิดทักษะต่างๆ จากการปฏิบัติครูควร ออกแบบ การสอนให้นักเรียนไดล้ งมือปฏบิ ัติจริง ด้วยการสร้างสรรคช์ น้ิ งาน และเผยแพร่ความรู้และนวัตกรรม ที่ไดส้ สู่ าธารณชน โดยอาศยั เทคโนโลยเี ข้ามาใชใ้ นการเรียนการสอนและการปฏิบัติกิจกรรม รูปแบบ การสอนแบบน้ีเช่น การสอนแบบโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning) เป็นต้น การ ออกแบบตามรปู แบบการสอน เหล่าน้ีจะสง่ ผลให้ผู้เรียนเกิดทักษะต่างๆ ที่สาคัญ เช่น ทักษะการ เรยี นรู้ด้วยตนเอง ทักษะการเรียนรู้และทา งานร่วมกัน ทักษะการสื่อสาร ทักษะการคิดอย่างมี วจิ ารณญาณ ทกั ษะการคิดสร้างสรรคแ์ ละนวตั กรรม เป็นต้น ซึ่งทักษะเหลา่ น้ีล้วนเป็นทักษะที่จาเป็น
ในการดารงชวี ิตในศตวรรษที่ 21 จากขอ้ เสนอขา้ งต้น สะท้อนให้เหน็ วา่ การเรียนรู้เป็นผลจากการลง มือกระทาของผ้เู รยี นเกิดจากภายในตวั นกั เรียนเองครูเปน็ เพียงผู้วางแผนและช่วยเหลือ เพ่ือให้การ กระทาน้ันสาเร็จและนักเรียนเกิดทักษะความรู้ตามท่ีตั้งไว้ดังนั้น ทักษะที่กล่าวมา ข้างต้นเป็น สง่ิ จาเปน็ ท่ีครใู นยคุ ปจั จบุ นั ต้องมีอยา่ งหลีกเลย่ี งไม่ได้โดยเฉพาะทักษะด้าน ICT ซึ่งครูจาเป็นต้องใช้ใน การพฒั นาสอ่ื การเรยี นการสอน การจัดการทรัพยากรและแหล่งเรียนร้แู ละการจัดสภาพแวดล้อมการ เรียนรใู้ หเ้ หมาะกบั ลกั ษณะของผเู้ รียนยุคใหม่ท่ีกระแสเทคโนโลยถี าโถมเข้ามาอย่างไม่หยุดย้งั ๑ เทคโนโลยใี นโทรศัพท์เคลอ่ื นท่ใี นยคุ โลกาภิวฒั นน์ ี้ มีความก้าวล้าทางเทคโนโลยี มีบทบาท มากข้ึนในชวี ิตประจาวนั ของคนในยุคน้ีเป็นอยา่ งมาก และเปน็ อุปกรณ์ทีเ่ ปน็ เสมอื นปัจจัยที่ 5 ในการ ดารงชีวิตของมนษุ ย์อยา่ งเชน่ โทรศพั ทม์ ือถอื เป็นสอ่ื กลางในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารที่ผู้คนส่วนใหญ่ ต้องการบรโิ ภคข้อมูลข่าวสารเพ่ิมมากข้ึน และตอ้ งการเข้าถงึ ขอ้ มูลขา่ วสารเหล่าน้ันได้อย่างทันท่วงที ปจั จบุ นั น้ีมีเทคโนโลยที ่เี รยี กว่า คิวอาร์โค้ด คอื รหัสชนิดหนึ่งซ่ึงสามารถเกบ็ ข้อมลู ได้ มีลักษณะเป็นรูป สี่เหล่ยี มขาวดา นิยมใช้เก็บขอ้ มูลสนิ ค้า เช่น ชื่อสินค้า ราคา สินค้า เบอร์โทรศัพท์ติดต่อ และชื่อ เวบ็ ไซต์ ฯลฯ ซึ่งถือเป็นการผสมผสานอยา่ งลงตัวของเทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนท่ีประเภท สมาร์ท โฟน และส่ือส่ิงพิมพ์ ได้อยา่ งลงตวั และมีความสะดวกต่อการเรยี นรู้ ทข่ี ้อมลู มากมายถูกรวบรวมไว้บน ฐานข้อมูลทางอนิ เตอรเ์ นต็ ไมว่ ่าจะอยู่ในรูปแบบของแผ่นพับ นิตยสาร หรือป้ายประกาศ ซึ่งใน อนาคต คิวอารโ์ คด้ จะชว่ ยให้คนได้รับขอ้ มูลขา่ วสารไดง้ ่ายเพิ่มมากข้ึน๒ การประยุกต์ใช้คิวอาร์โค้ด เปน็ เคร่อื งมือในการสรา้ งนวตั กรรมส่ือการสอน จะเป็นส่วนสาคัญที่ทาให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ รปู แบบใหม่ ทีเ่ นน้ ใหผ้ เู้ รียนได้มีส่วนร่วมด้วย ซ่ึงจากการเรียนรู้แบบเดิมน้ันจะเป็นการเรียนรู้ที่ ครผู ้สู อนจะเป็นผู้ถา่ ยทอดให้ แตใ่ นยคุ ปจั จุบันทเี่ น้นในเรอ่ื งการพัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 อนั เป็นการนาเทคโนโลยเี ขา้ มาเปน็ ส่วนหนึ่งของการจัดการเรียนการสอนด้วย นวัตกรรมการ เรียนรู้ผา่ นควิ อาร์โคด้ จงึ เปน็ ส่วนสาคัญทจี่ ะกระตุ้นความสนใจในการเรียนรขู้ องผเู้ รียนได้เป็นอย่างดี เพราะผู้เรยี นไดม้ สี ว่ นร่วมในการจดั การเรยี นการสอน และเปน็ ผู้นาการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ดังนั้นแล้ว ผวู้ จิ ยั จึงมีความสนใจท่ีจะพัฒนานวตั กรรมส่อื การสอนดว้ ยการประยุกต์ใช้ คิวอาร์ โค้ด เพ่ือส่งเสริมกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาสังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ของนักเรียนช้ัน มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๒/๑ โรงเรียนบ้านแป้นพิทยาคม จงั หวดั ลาพูน และยังเป็นการศึกษาถึงผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี นรู้ของผเู้ รียนด้วย ซึ่งนวัตกรรมส่ือการสอนดว้ ยการประยุกต์ใช้คิวอาร์โค้ด จะช่วยสร้าง ความสนใจและพัฒนาการเรยี นรขู้ องผู้เรยี นไดเ้ ป็นอยา่ งดี ๑ ประทีป พืชทองหลาง และคณะ, “ระบบตรวจสอบการเข้าชนั ้ เรียนและประเมินผลการเรยี นร้ดู ้วย QR Code ในรายวิชา ศึกษาท่ัวไป”, Proceedings Book, “Innovation for Social Engagement Environment and Enterprise: 3E”, 4th CRCI & 2nd ISHPMNB (2017) : 244. ๒ ขวัญจุฑา ค าบรรลอื , วิวัฒน์ มสี วุ รรณ์ และ พชิ ญาภา ยวงสร้อย, “การประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด เพอื่ ส่งเสรมิ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ส าหรับศนู ย์รวบรวมสายพนั ธุก์ ล้วย เฉลิมพระเกยี รติ จังหวดั ก าแพงเพชร”, วารสารศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปี ที่ 19 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มีนาคม 2560) : 186.
1.2 ปัญหาการวจิ ยั 1.1.2 การสร้างและประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยคี วิ อารโ์ ค้ดเพื่อส่งเสริมกิจกรรมการเรียนรู้ เป็น อยา่ งไร 1.1.2 ความพงึ พอใจของผใู้ ช้เทคโนโลยีคิวอาร์โค้ดเพ่ือส่งเสริมกิจกรรมการเรียนรู้ เป็น อย่างไร 1.3 วัตถุประสงคก์ ารวจิ ัย 1.3.1 เพื่อศึกษาวิธีการสร้างและประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยีคิวอาร์โค้ดเพ่ือส่งเสริมกิจกรรมการ เรยี นรู้ของนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๒/๑ โรงเรียนบา้ นแป้นพทิ ยาคม 1.3.2 เพ่ือศกึ ษาระดบั ความพึงพอใจของผู้ใชเ้ ทคโนโลยีควิ อาร์โค้ดเพื่อส่งเสริมกิจกรรมการ เรยี นรู้ 1.4 ขอบเขตการวจิ ัย ๑.๔.๑ ขอบเขตดา้ นเนื้อหา ผ้วู จิ ัยมุ่งศึกษาเน้ือหาครอบคลมุ เก่ยี วกับเน้ือหาการเรยี นรู้สาระวิชาภมู ศิ าสตร์ เพื่อนาไปสู่ การสรา้ งควิ อาร์โค้ด และยังศึกษาเนอ้ื หาเกย่ี วกบั การจัดการเรยี นร้ใู นศตวรรษที่ 21 ๑.๔.๒ ขอบเขตด้านตัวแปร ตัวแปรทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษาประกอบดว้ ยตวั แปรต้นและตวั แปรตาม ซึง่ มรี ายละเอยี ดดงั นี้ ๑) ตวั แปรต้น (Independent Variables) ไดแ้ ก่ นวตั กรรมส่อื การสอนด้วยควิ อารโ์ ค้ด ๒) ตัวแปรตาม (Dependent Variables) ไดแ้ ก่ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ดว้ ยควิ อารโ์ คด้ ๑.๔.๓ ขอบเขตด้านประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คอื นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2/1 โรงเรยี นบา้ นแป้นพิทยาคม อาเภอเมือง จังหวัดลาพนู ท่ีกาลังศึกษาในภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2562 จานวน 31 คน ๑.๔.4 ขอบเขตดา้ นเวลา ระยะเวลาในการทาวจิ ัยต้งั แต่ เดือนธันวาคม 2562 ถึง เดือนกุมภาพันธ์ ๒๕63 ๑.5 นยิ ามศพั ท์เฉพาะทใ่ี ช้ในการวิจยั การประยุกต์ใช้ หมายถงึ การนานวัตกรรมส่ือการสอนด้วยคิวอาร์โค้ด มาใช้ในการจัด กจิ กรรมการเรยี นการสอนของนกั เรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2/1 โรงเรียนบ้านแปน้ พิทยาคม คิวอาร์โค้ด หมายถึง รหัสชนิดหนึ่งท่ีสามารถเก็บข้อมูลความรู้ เน้ือหารายวิชาสาระ ภมู ศิ าสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 2 ทีน่ ามาประยุกตใ์ ช้ในการจัดการเรยี นการสอน กจิ กรรมการเรียนรู้ หมายถึง การจดั การเรียนการสอนดว้ ยการประยกุ ต์ใช้นวัตกรรมสื่อการ สอนดว้ ยคิวอาร์โค้ด เพือ่ ศึกษาเนอ้ื หารายวิชาสาระภมู ิศาสตร์
๑.6 ทบทวนเอกสารและงานวิจยั ท่ีเก่ยี วข้อง การศึกษาครัง้ น้ี ผวู้ จิ ยั มงุ่ ศกึ ษาถึงการประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีควิ อารโ์ คด้ เพ่ือส่งเสริมกิจกรรม การเรียนรู้ของนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๒/๑ โรงเรยี นบา้ นแป้นพทิ ยาคม จงั หวัดลาพูน ซ่ึงผู้วิจัยได้ รวบรวมแนวคิดและทฤษฎตี ่างๆ ทเี่ กี่ยวข้องกบั เรื่องทีจ่ ะทาการศึกษา คือ ๑.6.๑ เอกสารท่เี กย่ี วขอ้ ง ๑) แนวคดิ เก่ียวกับการเรยี นรู้ ๑.๑ ความหมายของการเรยี นรู้ ๑.๒ แนวคิดและทฤษฎีเก่ยี วกบั การเรยี นรู้ ๒) แนวคดิ เกย่ี วกบั การจดั การเรยี นรู้ ๒.๑ ความหมายของการจัดการเรยี นรู้ ๒.๒ แนวคิดเก่ยี วกบั การจดั การเรียนรู้ 3) แนวคิดเกยี่ วกับนวัตกรรมสอ่ื การสอน 4) แนวคิดเกี่ยวกับเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด 5) ข้อมลู พน้ื ฐานโรงเรียนบา้ นแปน้ พทิ ยาคม ๑.6.๒ งานวจิ ัยท่ีเกี่ยวขอ้ ง ๑) งานวิจยั ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การเรียนรู้ 2) งานวิจัยทีเ่ กย่ี วข้องกับการจัดการเรียนรู้ 3) งานวิจัยทเ่ี กีย่ วขอ้ งกบั นวตั กรรมส่อื การสอน ๑.7 วธิ ดี าเนินการวจิ ยั การศกึ ษาวจิ ัยเร่ือง การประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยีควิ อาร์โคด้ เพอ่ื สง่ เสริมกิจกรรมการเรียนรู้ ของนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๒/๑ โรงเรียนบ้านแป้นพิทยาคม จงั หวัดลาพนู เปน็ การศกึ ษาโดยการ ใช้ระเบยี บวิธวี ิจยั ผวู้ จิ ัยได้กาหนดวิธกี ารดาเนนิ การวิจัยตามลาดับ ๕ ขั้นตอน ดังน้ี ๑.7.๑ รปู แบบการวิจยั ๑.7.๒ ประชากร ๑.7.๓ เคร่อื งมอื การวจิ ยั ๑.7.๔ การเก็บรวบรวมขอ้ มูล ๑.7.๕ การวิเคราะห์ข้อมูล ๑.7.๑ รปู แบบการวิจัย รูปแบบการวจิ ยั ครง้ั น้เี ปน็ การวจิ ยั พ้ืนฐาน เพ่อื ศกึ ษาถงึ การประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด เพือ่ สง่ เสริมกจิ กรรมการเรียนรู้ ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒/๑ โรงเรยี นบ้านแปน้ พิทยาคม ๑.7.๒ ประชากร ประชากรท่ีใช้ในการวิจยั คือ นักเรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๒/๑ โรงเรียนบ้านแป้นพิทยาคม อาเภอเมือง จังหวดั ลาพนู ที่กาลังศึกษาในภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2562 จานวน 31 คน
๑.7.๓ เคร่อื งมือการวจิ ยั เคร่อื งมอื ท่ใี ชใ้ นการวิจยั ครั้งน้ี ไดแ้ ก่ ๑. แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาภูมิศาสตร์ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๒ 2. เทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด 2. แบบสอบถามความพึงพอใจ ใช้ประเมินหลังจากจบการเรียนรู้ด้วยสื่อการสอน เทคโนโลยีคิวอาร์โคด้ ดงั กลา่ วแล้ว ขัน้ ตอนการสร้างเครอื่ งมือการวจิ ยั ๑. การสรา้ งแผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาภูมศิ าสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ มีขน้ั ตอนการสร้างดงั นี้ ขน้ั ที่ ๑ ศกึ ษาหลกั สตู รการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ช่วงชั้นที่ 3 และคู่มือครู กล่มุ สาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ขั้นท่ี 2 สร้างแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภมู ิศาสตร์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๒ ขน้ั ท่ี 3 นาแผนการจดั การเรยี นรู้ไปใหอ้ าจารย์ที่ปรึกษาตรวจพิจารณาความถูกต้องของ เนอ้ื หา ขั้นที่ 4 นาแผนการจดั การเรียนรู้ที่ได้รับการปรบั ปรงุ แกไ้ ขแล้วไปใชจ้ รงิ 2. การออกแบบเทคโนโลยีควิ อาร์โค้ด ขน้ั ที่ ๑ ศึกษาขอ้ มูลพนื้ ฐานจากเอกสาร หนงั สอื วารสาร ผลงานวิจัย ซึ่งสืบค้นจากแหล่ง ต่างๆ เพอื่ เป็นแนวทางในการดาเนินการวิจัย และเป็นข้อมูลพ้ืนฐานสาหรับใช้เป็นแนวทางในการ สรา้ งการประยกุ ตเ์ ทคโนโลยีควิ อาร์โคด้ ขน้ั ที่ ๒ ศกึ ษาการประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยคี ิวอารโ์ คด้ เพ่ือใช้ในงานด้านต่างๆ ขน้ั ท่ี ๓ กาหนดขอบขา่ ยเนื้อหารายวิชาภมู ิศาสตรจ์ ากสื่อการเรียนรู้ต่างๆ และนามาจัดทา ฐานขอ้ มลู ในรปู แบบของคิวอารโ์ คด้ ขั้นที่ ๔ นาคิวอาร์โค้ดทส่ี ร้างขนึ้ ไปใชจ้ ริงกับประชากร 3. การสรา้ งแบบประเมินความพงึ พอใจของผ้ใู ช้เทคโนโลยีคิวอารโ์ ค้ด ขัน้ ที่ ๑ กาหนดกรอบเน้ือหาความพึงพอใจ โดยศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องและสอบถาม อาจารยท์ ี่ปรึกษา ข้นั ที่ ๒ เลือกประเด็นท่ีจะวัดความพงึ พอใจและกาหนดวิธีการวัด โดยเลือกประเด็น การวัด มาจากกรอบเน้ือหาทีเ่ หมาะสม ๕ ด้าน จานวน ๑5 ข้อ ซ่ึงมีลักษณะเป็นมาตราส่วนประเมินค่า (Rating Scale) มี ๕ ระดับ โดยมีเกณฑ์การใหค้ ะแนน ดังน้ี ๕ หมายถึง ความพงึ พอใจ อยู่ในระดบั มากท่สี ุด ๔ หมายถงึ ความพึงพอใจ อยใู่ นระดบั มาก ๓ หมายถึง ความพงึ พอใจ อยูใ่ นระดับ ปานกลาง ๒ หมายถึง ความพงึ พอใจ อย่ใู นระดบั น้อย ๑ หมายถงึ ความพึงพอใจ อยู่ในระดับ นอ้ ยทีส่ ุด ขั้นท่ี ๓ จัดทาแบบสอบถามวดั ความพงึ พอใจ แลว้ นาไปใหอ้ าจารย์ที่ปรึกษาพิจารณาความ ถกู ต้อง และนามาปรับปรุง
ขนั้ ท่ี ๔ นาไปใช้จรงิ กับนักเรยี น 1.7.๔ การเก็บรวบรวมข้อมลู ผู้วิจยั ได้ดาเนนิ การเก็บรวบรวมขอ้ มลู ด้วยตนเอง ดังน้ี ๑. ศกึ ษาสาระและมาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม หลกั สตู รการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน 2551 และสารวจเนือ้ หารายวชิ าภูมิศาสตร์ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๒ ๒. ดาเนนิ การสร้างเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด และสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ภูมศิ าสตร์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๒ กบั ประชากรทีไ่ ดก้ าหนดไว้ โดยประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยีควิ อาร์โคด้ 3. ผ้วู จิ ยั ทาการวดั ความพงึ พอใจหลงั จากการประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยีคิวอาร์โค้ดเพื่อส่งเสริม กจิ กรรมการเรยี นรู้ 1.7.5 การวเิ คราะหข์ ้อมลู ผู้วิจัยทาการวิเคราะห์ขอ้ มูล คือ วเิ คราะหเ์ กยี่ วกับวิธีการสร้างและการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ควิ อารโ์ ค้ดเพื่อส่งเสริมกจิ กรรมการเรียนรู้ และการวัดระดับความพึงพอใจของผู้นักเรียนท่ีได้ใช้ เทคโนโลยคี ิวอารโ์ ค้ดเพ่ือสง่ เสริมกจิ กรรมการเรยี นรู้ โดยการหาคา่ ร้อยละ, คา่ เฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน และนาเสนอในรปู แบบตาราง 1.6 กรอบแนวคดิ การวจิ ัย การศึกษาวิจยั นี้ เป็นการวจิ ยั ที่มุ่งศึกษาถึงการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด เพื่อส่งเสริม กจิ กรรมการเรยี นรู้ โดยมีตัวแปรต้น ได้แก่ นวัตกรรมสื่อการสอนด้วยคิวอาร์โค้ด และตัวแปรตาม ได้แก่ การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ด้วยคิวอาร์โคด้ และประเมินความพงึ พอใจของผู้ใช้งาน หลังการจัด กิจกรรมการเรยี นรู้แล้ว ๑.7 ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะไดร้ ับจากการวิจยั 1. ได้สรา้ งและประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยีคิวอาร์โคด้ เพอื่ ส่งเสรมิ กจิ กรรมการเรียนรู้ของนักเรียน ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๒/๑ โรงเรียนบ้านแป้นพิทยาคม 2. ได้ทราบถึงระดบั ความพงึ พอใจของผู้ใช้เทคโนโลยีคิวอาร์โค้ดเพ่ือส่งเสริมกิจกรรมการ เรยี นรู้
Search
Read the Text Version
- 1 - 7
Pages: