นายนวพล แก้วสุวรรณ * ป.ตรี บริหารธุรกิจบณั ฑิต สาขาระบบสารสนเทศ จากมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลตะวนั ออก * ป.โท ครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบณั ฑิต สาขาครุศาสตร์อุตสาหกรรม (เทคโนโลยกี ารศึกษา) จากสถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั * ป.เอก ปรัชญาดุษฏีบณั ฑิต สาขาสารสนเทศศึกษา (กาลงั ศึกษา) มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น
การพฒั นาทกั ษะในการสืบค้นสารสนเทศ เพ่ือใช้ประโยชน์ทางวชิ าการ
ประเดน็ ศึกษา 1. ความหมายของการสืบค้นทางวชิ าการ 2. แหล่งสารสนเทศในการสืบค้นทางวชิ าการ 3. ทกั ษะการสืบค้นสารสนเทศทางวชิ าการ
บทนา การจัดการเรียนการสอนระดับอุดมศกึ ษา จะเป็ นการมุ่งเน้นการสร้างองค์ความรู้ใหม่ หรือพฒั นาองค์ ความรู้รวม (บรู ณาการ) พร้อมทัง้ พัฒนาทกั ษะความชานาญในสาขาวชิ าเฉพาะทางมากขนึ้ เข้าใจใน วธิ ีการ หรือรูปแบบของวธิ ีการเรียนรู้ (Learning Style) เพ่ือให้ได้มาซ่งึ ข้อมูล หรือสารสนเทศท่ีถกู ต้อง เหมาะสม นาไปใช้ประโยชน์ และตรงกับความต้องการของตนเอง ซ่งึ ส่งิ เหล่านีผ้ ู้เรียนจะต้องมีเป้าหมาย มีความกระตอื รือร้น มีความรู้พนื้ ฐานในด้านนัน้ ๆ เน่ืองจากทรัพยากรสารสนเทศในปัจจุบันมีจานวนมาก (การทะลักของสารสนเทศ) จงึ จาเป็ นท่จี ะต้องสร้างทักษะ หรือกลยุทธ์ในการใช้เป็ นเคร่ืองมือ (Tools) เพ่ือให้นักศกึ ษาสามารถเข้าถงึ สารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว สามารถคัดสรร ประเมนิ สารสนเทศ และนา ผลลัพธ์จากการศกึ ษาค้นคว้า มานาเสนอในรูปแบบการเขียนรายงาน หรือรายงานการวจิ ยั โดยผ่านการ รวบรวมจัดลาดับ พจิ ารณาและวางแผนอย่างรอบคอบ มีระบบและมีเหตุผล เพ่ือนาไปใช้ประโยชน์ในทาง วชิ าการต่อไป ดังนัน้ สรุปได้ว่า
บทนา 1. การเขียนงานวชิ าการเป็ นงานเขียนท่มี ีการนาเสนอองค์ความรู้ ความคดิ การ วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ และประสบการณ์อย่างเป็ นระบบซ่งึ จะกระต้นุ ให้ผู้เรียนสามารถตงั้ คาถาม มีความรู้สึกต้องการท่จี ะศกึ ษาและสืบค้นในเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงท่ีเก่ียวข้องกับ วิชาการเพ่มิ เตมิ 2. การพฒั นาทักษะด้านการสืบค้นสารสนเทศ จงึ มีบทบาทสาคัญต่อการผลิตผลงาน วิชาการ พร้อมทงั้ พัฒนาทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ อย่างมวี ิจารณญาณ ในการประเมิน สารสนเทศท่ไี ด้รับ
บทนา (ต่อ) 3. การพฒั นาทกั ษะให้เป็ นผู้ท่สี ามารถสืบค้นสารสนเทศเพ่อื ใช้ประโยชน์ทาง วชิ าการ นอกจากจะต้องอาศัยแหล่งสารสนเทศท่ดี ีแล้ว ส่งิ ท่ผี ู้เรียนจะต้องพฒั นา ตนเองด้วยกค็ ือ การเรียนรู้และฝึ กฝนจนเกิดความชานาญ ช่วยทาให้เกิดแนวความคดิ ความเข้าใจท่ถี กู ต้อง และกว้างขวางย่งิ ขึน้ สามารถวิเคราะห์เปรียบเทยี บข้อเทจ็ จริงท่ี พสิ ูจน์ได้ และเป็ นท่นี ่าเช่ือถือ
ความหมายของการสืบค้นสารสนเทศทางวชิ าการ การสืบค้นทางวชิ าการ หมายถงึ การค้นหาสารสนเทศอย่างเป็ นระบบ จากแหล่งสารสนเทศทงั้ เอกสาร ส่ือส่งิ พมิ พ์ อเิ ลค็ ทรอนิค และ ภาคสนาม ด้วยวิธีการหลากหลาย เพ่อื ให้ได้สารสนเทศท่มี ีหลักฐาน พสิ ูจน์ได้ น่าเช่ือถอื และเป็ นท่ยี อมรับในแวดวงวชิ าการ
แหล่งสารสนเทศในการสืบค้นทางวชิ าการ ในท่นี ีจ้ ะเน้นการสืบค้นสารสนเทศท่ปี รากฏในส่ือส่งิ พมิ พ์ทงั้ ท่เี ป็ น เอกสารและอเิ ล็คทรอนิกท่ปี รากฏในฐานข้อมูลต่าง ๆ ทงั้ ในห้องสมุด สานัก วทิ ยบริการ แหล่งเกบ็ เอกสารอ่นื ๆ และการสืบค้นสารสนเทศใน แหล่งข้อมูลออนไลน์ผ่านอนิ เตอร์เน็ต ซ่งึ ประกอบด้วย
แหล่งสารสนเทศในการสืบค้นทางวชิ าการ (ต่อ) 1. ฐานข้อมูลบรรณานุกรม (Bibliographic Database) เป็ นฐานสารสนเทศทงั้ ในรูปของหนังสือ บทความ วารสาร เทปเสียง เทปวีดทิ ศั น์ และอ่นื ๆ ท่เี ป็ นฐาน สารสนเทศทางบรรณานุกรมท่ปี ระกอบด้วย ช่ือเร่ือง ช่ือผู้แต่ง หวั เร่ือง สานักพมิ พ์ ปี ท่ี พมิ พ์ จานวนหน้า และขนาดรูปเล่ม เป็ นต้น อาจมีการเพ่มิ สาระสังเขปและอาจถกู จัดเก็บแยกจากกันตามเขตสารสนเทศซ่งึ บางครัง้ สามารถใช้เป็ นคาสาคญั ในการค้นได้ หลากหลาย เช่น ช่ือเร่ือง ช่ือผู้แต่ง และหวั เร่ือง เป็ นต้น ตวั อย่างฐานสารสนเทศ ประเภทนี้ ได้แก่ ฐานข้อมูลโอแพก็ ( Web OPAC) ของสถาบนั บริการสารสนเทศ และฐานข้อมูลเชงิ วชิ าการต่าง ๆ
แหล่งสารสนเทศในการสืบค้นทางวชิ าการ (ต่อ) 2. ฐานข้อมูลเอกสารฉบบั เตม็ (Full-text Database) เป็ นฐานข้อมูลท่ี จัดเก็บและให้บริการเนือ้ หาสาระทงั้ ฉบบั ในปัจจุบันสามารถสืบค้นผ่านระบบ อนิ เทอร์เน็ต ผู้ใช้ฐานข้อมูลนีส้ ามารถสืบค้นสารสนเทศได้รวดเร็ว เช่น ฐานข้อมูลหนังสือพมิ พ์ ฐานข้อมูลสารานุกรม ฐานข้อมูลกฎหมาย เป็ นต้น สามารถอ่านและดาวน์โหลดได้
แหล่งสารสนเทศในการสืบค้นทางวชิ าการ (ต่อ) 3. ข้อมูลตวั เลข (Numeric Database) เป็ นฐานข้อมูลท่จี ัดเกบ็ และให้บริการ สารสนเทศท่เี ป็ นตวั เลขแต่เพยี งอย่างเดยี วและมักแสดงในรูปของตาราง การค้นหา สารสนเทศจากฐานข้อมูลประเภทนีม้ ักใช้คาสาคัญท่ีเป็ นข้อความหรือรหัสเป็ นหลัก เช่น ช่ือของตาราง หวั เร่ือง และรหสั ประจาตาราง ตัวอย่างของฐานข้อมูลประเภทนี้ ได้แก่ ฐานข้อมูลเชิงสถติ แิ ละตวั ชวี้ ัดต่างๆ เช่น ข้อมูลจานวนประชากร รายได้ ประชาชาติ ค่าจ้างแรงงาน ราคาผลผลิต และปริมาณการผลติ เป็ นต้น
แหล่งสารสนเทศในการสืบค้นทางวชิ าการ (ต่อ) 4. ข้อมูลภาพ (Image Database) เป็ นฐานข้อมูลท่จี ดั เก็บและให้บริการ สารสนเทศท่เี ป็ นภาพกราฟิ ก ภาพน่ิง และภาพเคล่ือนไหว การค้นหาสารสนเทศจาก ฐานข้อมูลประเภทนีม้ ักใช้หลักการเดยี วกบั ฐานข้อมูลตวั เลข โดยใช้ช่ือของภาพ หวั เร่ือง รหสั ประจาภาพ รวมทงั้ วนั ท่ที ่บี นั ทกึ ภาพด้วย ตวั อย่างของฐานข้อมูล ได้แก่ ฐานข้อมูลภาพศิลปะ ฐานข้อมูลภาพวีดทิ ศั น์ ฐานข้อมูลภาพใน google และ ภาพถ่ายทางอากาศใน google earth เป็ นต้น
แหล่งสารสนเทศในการสืบค้นทางวชิ าการ (ต่อ) 5. ข้อมูลมัลตมิ ีเดยี (Multimedia Database) เป็ นฐานข้อมูลท่มี ีลักษณะ ใกล้เคยี งกับฐานข้อมูลเอกสารฉบับเตม็ คอื จัดเก็บและให้บริการเนือ้ หาสาระ ทงั้ ฉบบั ของเอกสาร แต่เน้นการจดั เก็บและให้บริการเอกสารมัลตมิ เี ดยี ซ่งึ ประกอบด้วย ข้อความ เสียง ภาพกราฟิ ก ภาพน่ิง และภาพเคล่ือนไหว รวมอย่ดู ้วยกนั
แหล่งสารสนเทศในการสืบค้นทางวชิ าการ (ต่อ) 6. การค้นหาสารสนเทศจากฐานข้อมูลประเภทนีใ้ ช้หลักการ เดียวกับฐานข้อมูลตัวเลขและฐานข้อมูลภาพ คือ ใช้คาสาคัญท่เี ป็ น ข้อความและรหสั เป็ นหลักในการค้น 7. ในปัจจบุ ันส่ิงพมิ พ์อิเล็กทรอนิกส์จานวนมากเร่ิมมีเนือ้ หาสาระ ในลักษณะมัลตมิ ีเดียมากขนึ้ (Metadata, Digitize) ตวั อย่างเช่น ฐานข้อมูลสารานุกรม และฐานข้อมูลจานวนมากท่ใี ห้บริการบน เวลิ ด์ไวด์เวบ็
แหล่งสารสนเทศในการสืบค้นทางวชิ าการ (ต่อ) ประเภทของแหล่งสารสนเทศข้างต้นสามารถแบ่งตามเนือ้ หาสาระท่ีมีการเผยแพร่ผ่านระบบ ออนไลน์หรืออนิ เตอร์เน็ต สามารถแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท ได้แก่ 1. ฐานข้อมูลบรรณานุกรม (Bibliographic Databases) หมายถงึ ฐานข้อมูลท่ใี ห้ ข้อมูลทางบรรณานุกรม เช่น ช่ือผู้แต่ง ช่ือเร่ือง หัวเร่ือง อาจมีสาระสังเขปเพ่ือแนะนาผู้ค้นคว้าให้ไป อ่านรายละเอียดจากต้นฉบบั จริง เช่น ฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด (Web OPAC) 2. ฐานข้อมูลเนือ้ หาฉบับเตม็ (Full-Text Databases) หมายถงึ ฐานสารสนเทศท่ีให้ สารสนเทศครบถ้วน เช่นเดียวกับต้นฉบบั เช่น ฐานข้อมูล Science Direct, ACM Digital Library เป็ นต้น
แหล่งสารสนเทศในการสืบค้นทางวชิ าการ (ต่อ) แหล่งสารสนเทศท่มี ีการเผยแพร่จากหน่วยงานท่เี กบ็ รวบรวมเอกสาร ได้แก่ ห้องสมุด สานักวทิ ยบริการ และสถานเก็บเอกสารอ่นื ๆ สามารถแบ่งได้ ดังนี้ 1. ฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์ วารสารอเิ ล็กทรอนิกส์ (e-Journal) คอื ส่ือรูปแบบหน่ึงท่เี ผยแพร่เป็ นฉบับต่อเน่ืองมี กาหนดออกท่แี น่นอนและเสนอสารสนเทศข่าวสารท่ที นั สมัย รายงานความก้าวหน้าทาง วิชาการ กิจกรรมและผลงานในสาขาวิชาต่าง ๆ
แหล่งสารสนเทศในการสืบค้นทางวชิ าการ (ต่อ) 2. ฐานข้อมูลหนังสืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ หนังสืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ (e-Book) เป็ นหนังสือท่ีสร้างขนึ้ ด้วยโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ มีลักษณะ เป็ นเอกสารอเิ ลก็ ทรอนิกส์ โดยปกตมิ ักจะเป็ นแฟ้มสารสนเทศท่ีสามารถอ่านเอกสารผ่านทางหน้า จอคอมพวิ เตอร์ หรืออุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์แบบพกพาอ่ืนๆ ได้ 3. ฐานข้อมูลวทิ ยานิพนธ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์หรืองานวจิ ัยอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ฐานข้อมูลวทิ ยานิพนธ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ (e-Thesis) หรืองานวจิ ัยอเิ ล็กทรอนิกส์ (e-Research) เป็ นฐานข้อมูล ดุษฎีนิพนธ์ วทิ ยานิพนธ์ ภาคนิพนธ์ งานวจิ ัย และบทความวารสาร อาทิ 24 มหาวทิ ยาลัย
ทักษะการสืบค้นสารสนเทศทางวชิ าการ 1. ระดับเตรียมการ 1.1 เตรียมการด้านความต้องการ ผู้สืบค้นต้องรู้ว่าตนเองจะสืบค้นสารสนเทศในเร่ืองใด มี ขอบเขตแค่ไหน สารสนเทศท่ีมีอย่แู ล้วมีอะไรบ้าง เช่น ทราบช่ือผู้แต่งท่เี ขียนเร่ืองต้องการมาก่อนแล้ว 1.2 เตรียมการแหล่งสารสนเทศ รู้จักแหล่งสารสนเทศและสาขาวชิ าท่ีต้องการ ซ่งึ จะต้องศกึ ษา สารสนเทศก่อนว่า ควรจะใช้ฐานข้อมูลใดค้นหา จงึ จะได้สารสนเทศตามท่ีต้องการได้ 1.3 เตรียมการด้านการเรียนรู้วธิ ีการใช้แหล่งสารสนเทศ ฐานข้อมูลหรือเคร่ืองมอื ท่ีใช้ค้นหา เช่น รู้จักวธิ ีค้นหาแบบพืน้ ฐาน หรือการค้นหาแบบขัน้ สูง นอกจากนีย้ งั ต้องรู้จักวธิ ีการจัดการผลลัพธ์ ได้แก่ การบันทกึ การส่ังพมิ พ์ การส่งสารสนเทศทาง E-mail การจดั การรายการบรรณานุกรม เป็ นต้น
ทักษะการสืบค้นสารสนเทศทางวชิ าการ (ต่อ) 1.4 หากจะศกึ ษาเอกสารในห้องสมุด จะต้องเตรียมตัวด้านวธิ ีการใช้ห้องสมุด ว่า จะหาอย่างไร ห้องสมุดมีระบบการวางชัน้ หนังสืออย่างไร 1.5 เตรียมการศึกษากฎ กตกิ า และมารยาทในการใช้แหล่งสารสนเทศ ในปัจจุบัน มีการศึกษาสารสนเทศผ่านอิเล็คทรอนิกมากย่งิ ขนึ้ อาจไม่เข้าใจระเบียบ กฎ กตกิ า และมารยาทในการใช้สารสนเทศ บางครัง้ ทาให้เกดิ การละเมิดกฎและลิขสิทธ์ิในการใช้ สารสนเทศ ซ่งึ ผู้สืบค้นจะต้องเรียนรู้ในเร่ืองนีด้ ้วยเช่นเดยี วกัน
ทักษะการสืบค้นสารสนเทศทางวชิ าการ (ต่อ) 2. การสืบค้นในแหล่งสารสนเทศเอกสาร การสืบค้นสารสนเทศเอกสารท่ไี ม่ใช่ส่ืออเิ ลค็ ทรอนิกออนไลน์หรือในอนิ เตอร์เน็ตก็ มีความสาคัญเช่นเดยี วกัน แม้ในปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยจี ะย่ิงทวมี ากขนึ้ ก็ ตาม แต่การศึกษาค้นคว้าสารสนเทศจากเอกสารในแหล่งข้อมูลท่เี ก็บรวบรวม เช่น ห้องสมุด สานักวิทยบริการ เป็ นต้น บางครัง้ เอกสารต่าง ๆ เหล่านัน้ ยังไม่มีการเผยแพร่ ในรูปแบบส่ือออนไลน์ ผู้จะสร้างสรรค์ผลิตผลงานวิชาการจาเป็ นจะต้องใช้และศกึ ษา เอกสารเหล่านัน้ มาประกอบการอ้างองิ ดังนัน้ วธิ ีการเรียนรู้ระเบยี บในการสืบค้นแหล่ง สารสนเทศเอกสารท่ไี ม่ได้ออนไลน์ มีดงั นี้
ทักษะการสืบค้นสารสนเทศทางวิชาการ (ต่อ) 2.1 กฎระเบียบในห้องสมุดหรือสถานเกบ็ เอกสาร 1. ผู้ใช้ห้องสมุดต้องแต่งกายสุภาพ 2. เก็บกระเป๋ าไว้ในต้เู กบ็ กระเป๋ าและส่ิงของ 3. ไม่นาอาหารและเคร่ืองด่มื หรือของขบเคยี้ วทกุ ชนิด เข้าไปในห้องสมุด 4. เม่ืออ่านหนังสือเสร็จแล้วให้วางไว้ท่จี ุดพกั หนังสือ กรณีท่เี ป็ นหนังสือพิมพ์ ให้ เกบ็ ไว้ท่ที ่แี ขวนหนังสือพิมพ์ ส่วนวารสารให้นาไปเก็บท่ชี ัน้ วางวารสารตามช่อื วารสาร
ทักษะการสืบค้นสารสนเทศทางวชิ าการ (ต่อ) 5. ช่วยกันรักษาหนังสือและวสั ดตุ ่างๆ ห้ามขีดเขียน ทาลาย ทรัพยากรของ ห้องสมุดทกุ ชนิด 6. เม่ือลุกจากท่นี ่ังอ่านหนังสือ เกบ็ เก้าอเี้ ข้าท่ใี ห้เรียบร้อยทุกครัง้ 7. ให้ตรวจหนังสือก่อนออกจากห้องสมุดทุกครัง้ 8. ผู้ใช้บริการต้องปฏบิ ตั ติ ามคาแนะนาของครูบรรณารักษ์หรือเจ้าหน้าท่ี 9. ไม่ส่งเสียงดงั รบกวนผู้ใช้บริการคนอ่นื ให้เกิดความราคาญ
ทกั ษะการสืบค้นสารสนเทศทางวิชาการ (ต่อ) 2.2 ระบบการจัดหมู่หนังสือ หนังสือเป็ นทรัพยากรสารสนเทศท่มี ีปริมาณมากกว่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ่นื จงึ ต้องมีระบบจัดเกบ็ ท่ดี โี ดยยดึ หลักว่า “หนังสือท่มี ีเนือ้ หาแบบเดียวกันจดั เอาไว้ด้วยกัน เนือ้ หาใกล้เคยี งกันเอาไว้ด้วยกนั รวมถงึ หนังสือท่มี ีลักษณะการประพนั ธ์แบบเดยี วกัน จัด กลุ่มไว้ด้วยกัน” ระบบการจัดหมวดหมู่สากลท่นี ิยมใช้ท่วั ไปในห้องสมุดไทยและ ต่างประเทศมี 2 ระบบ คือ ระบบทศนิยมดวิ อี้ และระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน
ทกั ษะการสืบค้นสารสนเทศทางวชิ าการ (ต่อ) 2.1 ระบบทศนิยมดวิ อี้ (Dewey Decimal Classification) การจัดหมวดหมู่หนังสือในระบบทศนิยมดวิ อี้ หรือท่เี รียกย่อๆ ว่า ระบบ D.D.C. หรือ D.C. ผู้คดิ ค้น คอื เมลวิล ดวิ อี้ บรรณารักษ์ ชาวอเมริกัน ใช้กัน มากในห้องสมุดขนาดเล็ก และห้องสมุดขนาดกลาง กาหนดตวั เลขเป็ นสัญลักษณ์ แทนวชิ าแต่ละหมวดซ่งึ มีทงั้ 10 หมวด ตงั้ แต่ 000 – 900
ทักษะการสืบค้นสารสนเทศทางวชิ าการ (ต่อ) 000 ความรู้ท่ัวไป Generalities 100 ปรัชญา Philosophy 200 ศาสนา Religion 300 สังคมศาสตร์ Social Sciences 400 ภาษา Language 500 วทิ ยาศาสตร์ Pure Sciences 600 เทคโนโลยีหรือวทิ ยาศาสตร์ประยุกต์ Technology or Applied Science 700 ศลิ ปะและการบันเทงิ Fine Arts 800 วรรณคดี Literature 900 ประวัตศิ าสตร์ ภมู ิศาสตร์ History
ทักษะการสืบค้นสารสนเทศทางวิชาการ (ต่อ) 2.2 ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน การจัดหมวดหมู่หนังสือในระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress Classification) เรียกย่อๆ ว่า L.C. ดร.เฮอร์เบริ ์ต พุทนัม บรรณารักษ์หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน เป็ นผู้ริเร่ิมคดิ ขนึ้ เป็ นระบบท่ีใช้กันมากตามห้องสมุดขนาดใหญ่เพราะมีการแบ่งความรู้ต่างๆ ออกเป็ นหมวดใหญ่ๆ กว้างกว่าระบบทศนิยมดวิ อี้ ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันต่างกับระบบทศนิยม ดวิ อี้ ตรงท่ีสัญลักษณ์ท่ีใช้กาหนดหวั เร่ือง ซ่งึ ระบบทศนิยมดวิ อีใ้ ช้ตัวเลขและทศนิยม แต่ระบบ หอสมุดรัฐสภาอเมริกันใช้ผสมกัน คือ มีทัง้ ตวั อักษรโรมันตัวพมิ พ์ใหญ่และตวั เลข 1-9999 ระบบ หอสมุดรัฐสภาอเมริกันแบ่งหมวดวชิ าต่างๆ ออกเป็ น 20 หมวดใหญ่ และประกอบด้วยหมวดย่อยใน แต่ละตวั อักษร โดยใช้ตวั อักษรโรมัน A – Z (ยกเว้น I O W X Y เน่ืองจากเป็ นคาพ้องเสียงท่ไี ม่ ชัดเจน, ความหมายม, และเผ่ือไว้สาหรับความรู้ใหม่ในอนาคต) เป็ นสัญลักษณ์แทนหมวดวิชา
ทักษะการสืบค้นสารสนเทศทางวิชาการ (ต่อ) A ความรู้ท่วั ไป M ดนตรี B ปรัชญา จติ วทิ ยาและศาสนา N วิจติ รศลิ ป์ C ศาสตร์ท่เี ก่ยี วข้องกบั ประวัตศิ าสตร์ P ภาษาและวรรณคดี D ประวัตศิ าสตร์ท่วั ไปและโลกเก่า Q วิทยานิพนธ์ E – F ประวัตศิ าสตร์อเมริกา R แพทยศาสตร์ G ภูมศิ าสตร์ มานุษยศาสตร์ การบนั เทงิ S เกษตรศาสตร์ H สังคมศาสตร์ T เทคโนโลยี J รัฐศาสตร์ U วิชาการทหาร K กฎหมาย V นาวกิ ศาสตร์ L การศึกษา Z บรรณานุกรม และบรรณารักษศาสตร์
ทักษะการสืบค้นสารสนเทศทางวิชาการ (ต่อ) 2.3 การค้นหาหนังสือในห้องสมุดและสถานเก็บเอกสาร ห้องสมุด สานักวทิ ยบริการ หรือสถานเก็บเอกสารต่าง ๆ บางแห่งมีขนาดใหญ่ การ จะศกึ ษาเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงจะต้องเข้าใจเร่ืองระบบการจดั หมวดหมู่ดงั ท่ไี ด้ยกกล่าวแล้ว ในแต่ละท่จี ะมีป้ายแสดงเลขหมวดหมู่ให้ชัดเจนท่สี ามารถมองเหน็ ว่า หนังสือหรือ เอกสารท่เี ราต้องการศึกษาอย่ใู นหมวดหมู่ใด และเม่ือรู้หมวดหมู่และมีประสงค์จะ ค้นหาหนังสือและเอกสารในหมวดหมู่นัน้ จะต้องเข้าใจเลขหนังสือ สัญลักษณ์ในการ จัดวางหนังสือ และหลักการในการจัดวางหนังสือบนชัน้ จงึ จะค้นหนาหนังสือนัน้ ได้ อย่างรวดเร็ว
ทกั ษะการสืบค้นสารสนเทศทางวิชาการ (ต่อ) ตวั อย่าง เลขหนังสือ คนแต่งช่ือ ลมุน รัตตากุล 025.56 เลขหมู่หนังสือระบบทศนิยมดวิ อี้ ล อักษรตวั แรกของช่ือผู้แต่ง 135 เลขประจาตวั ผู้แต่ง ก อกั ษรตัวแรกของช่ือหนังสือ
ทกั ษะการสืบค้นสารสนเทศทางวิชาการ (ต่อ) ตวั อย่างการวางหนังสอื ในช้นั สว่ นใหญเ่ รียงเลขจากนอ้ ยไปหามาก
ทกั ษะการสืบค้นสารสนเทศทางวชิ าการ (ต่อ) การค้นหาเอกสารใน ผู้ค้นคว้าจะต้องศกึ ษาเร่ืองเก่ียวกับห้องสมุด สานักวิทยบริการ หรือสถานเกบ็ รวบรวมเอกสาร โดยท่วั ไปแล้วห้องสมุดจัดเก็บหนังสือเป็ นหมวดหมู่ โดย พจิ ารณาจากเนือ้ หาของหนังสือ ระบบการจดั หมวดหมู่หนังสือท่เี ป็ นสากลมีหลาย ระบบแล้วแต่ห้องสมุดแต่ละแห่งจะเลือกใช้ ระบบการจัดหมู่หนังสือท่หี ้องสมุดเลือกใช้กนั อย่างแพร่หลาย คือ ระบบทศนิยมดวิ อี้ และระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน นอกจากนัน้ ยังต้องศึกษารายละเอยี ดต่าง ๆ ด้วย เช่น เลขหมู่หนังสือ สัญลักษณ์ และหนังสือบางประเภทนิยมใช้อกั ษรย่อแทนเลขหมู่ หนังสือ เช่น หนังสือนวนิยาย หนังสือรวมเร่ืองสัน้ และหนังสือสาหรับเดก็ เป็ นต้น
การสืบค้นในแหล่งสารสนเทศออนไลน์ องค์ประกอบท่จี าเป็ นจะต้องมใี นการสืบค้นสารสนเทศ 1. รู้ท่อี ยู่ หรือวธิ ีการค้นหาเวบ็ ไซต์ท่ตี ้องการ (ค้น URL หรือ Address ของผู้ ให้บริการสารสนเทศ) 2. รู้จักวธิ ีการค้นสารสนเทศ 3. รู้จักวธิ ีการอ่านผลการสืบค้น 4. รู้จักวธิ ีการจดั เกบ็ ผลการสืบค้น
การสืบค้นในแหล่งสารสนเทศออนไลน์ (ต่อ) 1. โปรแกรมอาร์คี (Archie) เป็ นโปรแกรมท่ชี ่วยใน การค้นหาแฟ้มสารสนเทศท่เี ราทราบช่ือ แต่ไม่ทราบ ตาแหน่ง ท่อี ยู่ของแฟ้มสารสนเทศ ว่าอยู่ในเคร่ืองบริการ ใดๆ ในอนิ เตอร์เน็ต โดยโปรแกรมอาร์คนี ัน้ จะสร้าง บัตรรายการแฟ้มไว้ในฐานสารสนเทศ ซ่งึ หากเราต้องการ ค้นหาตาแหน่งของแฟ้มสารสนเทศกเ็ ปิ ดโปรแกรมอาร์คนี ี้ ขนึ้ มาแล้วให้พมิ พ์ช่ือแฟ้มสารสนเทศ ท่ตี ้องการลงไป โดยโปรแกรมอาร์คจี ะตรวจค้นฐานสารสนเทศให้ปรากฏ ช่ือแฟ้ม และ รายช่ือเคร่ืองบริการท่เี กบ็ แฟ้มนัน้ ขนึ้ มา ซ่งึ หลงั จากทราบช่ือเคร่ืองบริการแล้วเรากจ็ ะสามารถถ่าย โอนเกบ็ ไว้ในคอมพวิ เตอร์ของเราได้
การสืบค้นในแหล่งสารสนเทศออนไลน์ (ต่อ) 2. โปรแกรมโกเฟอร์ (Gopher) เป็ นโปรแกรม ค้นหาสารสนเทศ ซ่งึ ใช้บริการด้วยระบบเมนูโปรแกรมโก เฟอร์ เป็ นโปรแกรมท่มี รี ายการเลือก เพ่อื ช่วยเหลือผู้ใช้งาน ในการค้นหาสารสนเทศการใช้งาน โปรแกรมนีผ้ ู้ใช้ไม่ จาเป็ นต้องทราบ รายละเอียดของคอมพวิ เตอร์ท่ี เช่ือมโยง อย่กู ับอนิ เตอร์เน็ตใด ๆ เลย เราแค่เพยี งเลือกรายการท่ี ต้องการในรายการเลือก และกดป่ มุ <Enter> ซ่งึ เม่ือมี สารสนเทศแสดงขนึ้ มาแล้ว เรากส็ ามารถอ่านสารสนเทศนัน้ และบนั ทกึ เกบ็ ไว้ในเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ได้
การสืบค้นในแหล่งสารสนเทศออนไลน์ (ต่อ) 3. โปรแกรม Veronica เป็ นโปรแกรม ค้นหาสารสนเทศท่ไี ด้รับการพัฒนามาจาก โปรแกรมโกเฟอร์ โดยการค้นหาสารสนเทศ จะทาได้โดยไม่ต้องผ่านระบบเมนู เพียงแค่ พมิ พ์คาสาคัญหรือให้ระบบได้ทาการค้นหา สารสนเทศ ท่เี ก่ียวข้องกับ Keyword
การสืบค้นในแหล่งสารสนเทศออนไลน์ (ต่อ) 4. โปรแกรมเวส (Wide Area Information Server-WAIS) เป็ นโปรแกรม ท่เี ป็ นเคร่ืองมือในการสืบค้นสารสนเทศ โดยทา การค้นหาจากเนือ้ หาของสารสนเทศ ซ่งึ การใช้ งานต้องระบุช่ือเร่ือง หรือช่ือของคาหลักท่ี เก่ยี วข้องกับเนือ้ หาของสารสนเทศ ซ่งึ โปรแกรมเวสจะช่วยค้นหาไปยงั แหล่ง สารสนเทศท่เี ช่ือมต่ออยู่ภายในอนิ เตอร์เน็ต
การสืบค้นในแหล่งสารสนเทศออนไลน์ (ต่อ) 5. โปรแกรม Search Engines เป็ นโปรแกรม ค้นหาสารสนเทศในอนิ เตอร์เน็ตท่ไี ด้รับความนิยมมากใน ปัจจุบัน โดยให้พมิ พ์คา หรือข้อความท่เี ป็ น Keyword จากนัน้ โปรแกรม Search Engines จะแสดงรายช่ือ ของแหล่งสารสนเทศต่างๆ ท่เี ก่ยี วข้องขนึ้ มาให้เราได้เลือก คลกิ ท่รี ายช่ือของแหล่งสารสนเทศนัน้ เพ่อื เลือกสารสนเทศ ท่ตี ้องการได้ ซ่งึ การจดั การแหล่งสารสนเทศเหล่านัน้ โปรแกรม Search Engines จะจัดไว้เป็ นเมนู โดย เร่ิมจากสารสนเทศในหมวดใหญ่ๆ ไปจนถงึ สารสนเทศใน หมวดย่อยๆ
การสืบค้นในแหล่งสารสนเทศออนไลน์ (ต่อ) เวบ็ ไซต์ค้นหาสารสนเทศ (Search Engines) แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ 1. Search Engines เป็ นเวบ็ ไซต์ค้นหาสารสนเทศท่ีใช้โปรแกรมอัตโนมัติ (Robot) ใน การค้นหาและรวบรวมสารสนเทศ ของเวบ็ ไซต์ต่าง ๆ เวบ็ ไซต์ประเภทนีจ้ ะเหมาะสาหรับการค้นหา สารสนเทศแบบจาเพาะเจาะจง ตวั อย่างการค้นหาสารสนเทศ โดยใช้เวบ็ ประเภทโดยใช้เวบ็ ไซต์ซ่ึง ทาได้โดยคลกิ เมาส์เลือกช่ือของหมวดหมู่เวบ็ ท่นี ่าสนใจ จากนัน้ ช่ือเวบ็ ท่ตี ้องการกจ็ ะปรากฏขนึ้ 2. Search Directories เป็ นเวบ็ ไซต์ท่ที าการค้นหาสารสนเทศ โดยมีการจัดหมวดหมู่ของ สารสนเทศท่ีเหมาะสมแต่กม็ ีข้อจากัด คือ ปริมาณสารสนเทศอาจจะไม่ครอบคลุมทกุ เวบ็ ไซต์ เวบ็ ไซต์สารสนเทศประเภทนีเ้ หมาะสมกับการค้นหาสารสนเทศท่เี ป็ นหมวดใหญ่ ๆ
การค้นคืนแหล่งสารสนเทศมัลตมิ ีเดีย 1. การสืบค้นรูปภาพในอนิ เทอร์เน็ต 1.1 การสืบค้นรูปภาพจากคาค้น 1.2 การสืบค้นรูปภาพจากรูปภาพ 2. การสืบค้นเสียงในอนิ เทอร์เน็ต (Voice mail) 2.1 การสืบค้นเสียงจากคาค้น 2.2 การสืบค้นเสียงจากเสียง 3. การค้นคืนวิดโี อในอนิ เทอร์เน็ต
การค้นคืนแหล่งสารสนเทศมัลตมิ เี ดยี การสืบค้นสารสนเทศทางวชิ าการจงึ มีความสาคัญเป็ นอย่างมาก ผู้สืบค้น จะต้องเตรียมตวั เตรียมประเดน็ และเตรียมแหล่งสารสนเทศท่จี ะสามารถให้ ความรู้ได้อย่างถ่องแท้ หากมีความจาเป็ นจะต้องใช้เวปไซต์ดงั กล่าวข้างต้นนี้ ก็ ต้องใช้เพ่อื การค้นหาหวั ข้อ สถานท่ี หรือแหล่งสารสนเทศท่ตี ้องการเนือ้ หา สาระ ซ่งึ ไม่ใช่นาสาระท่ไี ด้จากเนือ้ หาท่ปี รากฏในเวปไซต์ Google นีม้ าเป็ น สารสนเทศหลัก
การค้นคืนแหล่งสารสนเทศมัลตมิ เี ดีย \"ตวั อย่างการใช้ Google เป็ น เคร่ืองมือค้นหา “เวบ็ ไซต์” ของหน่วยงานท่ีเป็ น ต้นแหล่งสารสนเทศท่ีต้องการนามาใช้งาน แทน การค้นหา “เร่ือง หรือประเดน็ ท่สี นใจ” เช่น การค้นหาสารสนเทศ “มะเร็งกระดกู ” ควรใช้ Google ค้นว่า “สถาบันมะเร็งแห่งชาต”ิ มี เวบ็ ไซต์หรือไม่ คืออะไร จากนัน้ จงึ เข้าสู่เวบ็ ไซต์ ดังกล่าว เพ่ือค้นหาสารสนเทศจากต้นแหล่ง หรือ ใช้เทคนิคค้นหาสารสนเทศแบบระบุ Domain ท่ี ต้องการ\"
สรุป ปัจจุบนั สารสนเทศได้เพ่มิ ปริมาณมากและมคี วามหลากหลาย มีการเจริญเตบิ โตพร้อมกับโลกสังคมออนไลน์ และเข้า มามีบทบาทอย่างมากในการดาเนินชีวติ ของมนุษย์ทงั้ ทางตรง และทางอ้อม สามารถช่วยในการประเมนิ หรือตัดสินใจใน การเลือกใช้สนิ ค้า หรือบริการต่างๆ เป็ นข้อมูลในการคดั สรรความรู้ท่ตี ้องการศึกษาเพ่มิ เตมิ โดยเฉพาะในวงการวิชาการ หรือการศกึ ษา สารสนเทศได้เข้ามาเป็ นส่วนหน่ึงในการเพ่มิ พนู ความรู้ของบคุ คล องค์การ หน่วยงาน (องค์การแห่งการ เรียนรู้) ดังนัน้ การท่มี นุษย์จะดงึ สารสนเทศ ส่ือ หรือความรู้ ท่ลี อยอย่บู นอากาศ ทงั้ ท่จี ับต้องได้ และจับต้องไม่ได้นัน้ จาเป็ น อย่างย่งิ ท่จี ะต้องมีทกั ษะ ความรู้ เพ่อื ท่จี ะรู้ถงึ ความต้องการของตนเองในขัน้ แรก รู้ถงึ การประเมนิ สารสนเทศ รู้ถงึ แหล่งและ การเข้าถงึ ในการศกึ ษาค้นคว้า และรู้ถงึ การนาไปใช้ประโยชน์ / เผยแพร่ (กระบวนการพฒั นาทกั ษะการรู้สารสนเทศ + ทกั ษะ ในศตวรรษท่ี 21 ทกั ษะด้านสารสนเทศและเทคโนโลยี : Information Literacy) เป็ นการนาความรู้/สารสนเทศ ท่มี ี ความทนั สมยั คุ้มค่า ตรงกับความต้องการ ครบถ้วน ถกู ต้อง เหมาะสม ยดื หยุ่น ไม่ลาเอียง เพ่อื สามารถนาไปต่อยอด ประกอบการตัดสินใจ และใช้ให้เกดิ ประโยชน์สงู สุด ดังคากล่าวท่วี ่า “Information is Power” คือ ผู้ใดได้รับ สารสนเทศก่อนผู้นัน้ ย่อมเป็ นผู้มีอานาจ ฉะนัน้ ผู้ใดมีทกั ษะ กลยุทธ์ในการสืบค้น เม่อื สืบค้นสารสนเทศได้แล้ว และรู้จกั ประเมนิ สารสนเทศได้ ผู้นัน้ ย่อมได้รับสารสนเทศท่มี คี ุณค่า และนาไปใช้ประโยชน์สูงสุด (รุ่งฤดี อภวิ ัฒนศร, 2550)
ศึกษาเพมิ่ เติมด้วยตนเองได้ท่ี : ส่งิ นีเ้ รียกว่า ? ช่ือเตม็ คอื ? เป็ นแหล่งสารสนเทศหรือไม่ ?
ศึกษาเพมิ่ เตมิ ด้วยตนเองได้ท่ี : https://drive.google.com/drive/folders/0B8IprK855KlPY0JUZ 3E2b3U3TXc?usp=sharing
ขอขอบพระคุณ
Search
Read the Text Version
- 1 - 45
Pages: