Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 10 ระบบชาญฉลาด

บทที่ 10 ระบบชาญฉลาด

Published by nawapon.k, 2020-09-22 01:33:25

Description: อ.ดร.นวพล แก้วสุวรรณ
สาขาการจัดการสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Keywords: ระบบชาญฉลาด

Search

Read the Text Version

ระบบบชทาญทฉี ล1า0ด (Intelligence System) ดร.นวพล แก้วสุวรรณ สาขาการจัดการสารสนเทศ คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์

10.1 สาขาต่างๆ ของปญญาประดิษฐ์ 10.6 เทคนิคและเครืองมือ 10.2 การประยุกต์ใช้ปญญาประดิษฐ์ในด้านต่างๆ ในการพัฒนาระบบผู้เชียวชาญ 10.3 ระบบผู้เชียวชาญ 10.7 การประยุกต์ใช้ระบบผู้เชียวชาญ 10.4 ส่วนประกอบของระบบผู้เชียวชาญ 10.8 ระบบเสมือนจริง 10.5 ผู้มีส่วนร่วมในการพัฒนา และใช้งานระบบผู้เชียวชาญ 10.9 ระบบผู้เชียวชาญ แ ล ะ ร ะ บ บ ส นั บ ส นุ น ก า ร ตั ด สิ น ใ จ



ความหมาย ระบบชาญฉลาด (Intelligent Systems) เปนคําทีใชอ้ ธบิ ายถึงการประยุกต์ใชง้ านเกียวขอ้ งกับผลิตภัณฑ์ อันชาญฉลาดในเชงิ การค้าซงึ มอี ยูห่ ลากหลายทีถกู ประดษิ ฐข์ นึ มา ตามแนวคิดของปญญาประดษิ ฐ์ ปญญาประดษิ ฐ(์ Artificial Intelligence : AI) เปนศาสตรแ์ ขนงหนงึ ของวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ ทีศึกษาเกียวกับกระบวนการ เลียนแบบพฤติกรรมนษุ ย์ โดยเฉพาะการนาํ มาใชก้ ับโปรแกรมบนเครอื งจกั ร ทีไมม่ ชี วี ติ ใหส้ ามารถคิดเองไดเ้ หมอื นมนษุ ย์ สามารถเรยี นรจู้ ากประสาทสมั ผสั รบั รแู้ ละจดจาํ จากสงิ แวดล้อมรอบตัวรวมถึงการเคลือนไหวและปรบั ตัวได้

สาขาต่างๆ ของปญญาประดิษฐ์ 1. ระบบผเู้ ชยี วชาญ (Expert Systems) คือ ระบบคอมพวิ เตอรท์ ีถกู สรา้ งขนึ มาเพอื เลียนแบบการทํางานของมนษุ ย์ โดยผเู้ ชยี วชาญทีเราปรกึ ษาแทนทีจะเปนมนษุ ยแ์ ต่เปนคอมพวิ เตอรแ์ ทน ตัวระบบจะมกี ารจดั เก็บความรคู้ วามเชยี วชาญในสาขาเฉพาะดา้ นทีผใู้ ช้ สามารถถามถึงปญหาและใหร้ ะบบตัดสนิ ใจแทนเรา

สาขาต่างๆ ของปญญาประดิษฐ์ (ต่อ) 2. หนุ่ ยนต์(Robotics) คือ เครอื งจกั รกล หรอื อุปกรณค์ อมพวิ เตอรท์ ีไดร้ บั การพฒั นาขนึ มา ใหส้ ามารถปฏิบตั ิงานแทนมนษุ ยไ์ ด้ เชน่ หนุ่ ยนต์พน่ สรี ถ การนาํ หนุ่ ยนต์มาเชอื มโลหะ เพอื ประกอบตัวถังรถยนต์ สาํ หรบั งานทีเหมาะสมกับการนาํ หนุ่ ยนต์มาใช้ โดยเฉพาะงานทีมสี ภาพแวดล้อมเสยี งต่อความไมป่ ลอดภัของมนษุ ย์ เชน่ การก้วู ตั ถรุ ะเบดิ การทํางานในโรงงาน นอกจากนยี งั มหี นุ่ ยนต์ทีมลี ักษณะเหมอื นมนษุ ย์ ทีสามารถมองเหน็ กระพรบิ ตา แสดงกิรยิ าท่าทาง การพูด แมก้ ระทังลมหายใจ แนวโนม้ ในอนาคตจะมกี ารพฒั นา หนุ่ ยนต์ใหม้ สี ามารถมากขนึ และนาํ ไปประยุกต์ใชง้ านดา้ นธนาคาร บา้ นพกั และ ตามพนื ทีเสยี งภัยอยา่ งสถานนี วิ เคลียร์

สาขาต่างๆ ของปญญาประดิษฐ์ (ต่อ) 3. ระบบวชิ นั (Vision Systems) ระบบวชิ นั หรอื ในบางครงั เรยี กวา่ แมชชนี (Machine Vision) เพอื นาํ มาปรบั ปรงุ ความสามารถของหนุ่ ยนต์ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากขนึ โดยระบบวชิ นั จะมสี ว่ นประกอบหลักอยู่ 2 สว่ นดว้ ยกัน คือ กล้อง และชุดประมวลผลภาพหากนาํ หนุ่ ยนต์ทีมรี ะบบแมชชนี วชิ นั มาใช้ ก็จะทําใหห้ นุ่ ยนต์มรี ะบบการมองเหน็ และรบั รไู้ ดเ้ หมอื นกับมนษุ ย์ นอกจากนี ยงั สามารถนาํ มาประยุกต์ใชง้ านแทนมนษุ ยไ์ ดอ้ ีก มากมาย เชน่ ในหลายอุตสาหกรรมไดน้ าํ หนุ่ ยนต์แมชชนี วชิ นั มาใช้ เพอื ตรวจสอบชนิ งานแบบอัตโนมตั ถือเปนการนาํ แมชชนี วชิ นั มาประยุกต์ ใชเ้ พอื ตรวจสอบคณุ ภาพของผลิตภัณฑ์ ซงึ มคี วามแมน่ ยาํ มากกวา่ สายตา มนษุ ยม์ าก เนอื งจากมนษุ ยม์ ขี อ้ จาํ กัดในการตรวจชนิ งานทีมจี าํ นวนมาก เปนเวลานาน ๆ และไมล่ ะเอียดเท่ากับหน่ ยุ นต์

สาขาต่างๆ ของปญญาประดิษฐ์ (ต่อ) 4. การประมวลผลภาษาธรรมชาติ(Natural-Language Processing) เปนระบบทีใหค้ อมพวิ เตอรเ์ ขา้ ใจภาษาธรรมชาติของมนษุ ย์ ดว้ ยการรบั อินพุตทีปอนเขา้ ไปดว้ ยภาษาธรรมชาติ จากนนั ระบบวเิ คราะหโ์ ครงสรา้ งและความหมายทางภาษา ซงึ กระบวนการวเิ คราะหน์ จี ะทํางานรว่ มกับฐานความรู้ และต่อมาก็จะประเมนิ ค่าและหาคําตอบและสง่ เอาท์พุต ออกมาเปนเสยี งหรอื ภาษามนษุ ยอ์ อกมา

สาขาต่างๆ ของปญญาประดิษฐ์ (ต่อ) 5.ระบบการเรยี นร(ู้ Learning Systems) ระบบการเรยี นรถู้ ือเปนสว่ นหนงึ ของวชิ า AI ทีผสมผสานระหวา่ ง ตัวซอฟต์แวรแ์ ละฮารด์ แวรโ์ ดยอนญุ าติใหค้ อมพวิ เตอรม์ กี ารโต้ตอบ และเปลียนแปลงอยา่ งไรต่อผลปอนกลับตามแต่ละสถานการณ์ ตัวอยา่ งเชน่ เกมบางเกมสามารถเรยี นรไู้ ดด้ ว้ ยตัวเอง ถ้าคอมพวิ เตอรไ์ มใ่ ชเ่ ปนผชู้ นะ เชน่ เกมหมากรกุ ซงึ การเคลือนที ของตัวหมากรกุ ในแต่ละครงั ภายใต้เงือนไขเดยี วกัน จะมใิ ชเ่ ปน การเคลือนทีในลักษณะเดยี วกันเสมอไป แต่จะเปนการเรยี นรทู้ ี ดดั แปลงและดกั ทางค่ตู ่อสเู้ พอื รอชยั ชนะทีอยูข่ า้ งหนา้

สาขาต่างๆ ของปญญาประดิษฐ์ (ต่อ) 6 .โครงขา่ ยประสาทเทียม (Neural Networks) โครงขา่ ยประสาทเทียม หรอื บางครงั เรยี กวา่ ขา่ ยงานประสาท เทียม (Neural Nets) คือ ระบบคอมพวิ เตอรท์ ีสามารถกระทําหรอื จาํ ลอง หนา้ ทีการทํางานของเซลล์ประสาทในสมองมนษุ ยโ์ ดยโครงขา่ ยประสาท เทียมจะใชก้ ารประมวลผลแบบขนาน ( Parallel Processors) ซงึ เปน สถาปตยกรรมทีตังอยูบ่ นพนื ฐานของสมองมนษุ ย์ ทีภายในจะมเี ซลล์ ประสาททีซบั ซอ้ นอยูจ่ าํ นวนมาก และคล้ายกับโครงสรา้ งเครอื ขา่ ยแบบเมช ( Mesh-Like Structure)

สาขาต่างๆ ของปญญาประดิษฐ์ (ต่อ) 6 .โครงขา่ ยประสาทเทียม (Neural Networks) (ต่อ) ความสามารถเฉพาะทางของโครงขา่ ยประสาทเทียม ประกอบดว้ ย การดงึ ขา่ วสารหรอื สารสนเทศไดค้ รบถ้วน แมว้ า่ จะมโี หนดประสาทบางสว่ นเสยี หาย การเปลียนแปลงและจดั เก็บขอ้ มูลสามารถดาํ เนนิ การไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ทํานองเดยี วกันกับการแสดงผลลัพธข์ องสารสนเทศใหม่ ๆ ความสามารถในการสบื ค้นความสมั พนั ธแ์ ละแนวโนม้ ของขอ้ มูลในฐานขอ้ มูลขนาดใหญ่ การแก้ไขปญหาทีซบั ซอ้ นได้ ในขณะทีระบบสารสนเทศทัวไปทําไมไ่ ด้

ก า ร ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ป ญ ญ า ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ ใ น ด้ า น ต่ า ง ๆ เจเนติกอัลกอรทิ ึม (Genetic Algorithm) เจเนติกอัลกอรทิ ึม ในบางครงั อาจเรยี กวา่ เจเนติดโปรแกรม (Genetic Program) เปนวธิ กี ารแก้ไขปญหาทีใหญแ่ ละซบั ซอ้ น เกินกวา่ ทีมนษุ ยจ์ ะกระทําได้ โดยเจเนติกอัลกอรทิ ึมจะใช้ กลไกการเลียนแบบการคัดเลือกพนั ธุกรรมทางธรรมชาติ ซงึ ปกติพนั ธุกรรมของสงิ มชี วี ติ ทกุ ชนดิ บนโลก จะพฒั นาการ ดว้ ยการคัดสรรแต่สงิ ทีดที ีสดุ ในสายพนั ธเ์ พอื สบื ทอดไปยงั รนุ่ ถัดไป ดงั นนั การแก้ไขปญหาของเจเนติกจงึ ใชก้ ารปฏิบตั ิแบบ ซาํ แล้วซาํ เล่าหรอื เปลียนตัวแบบจาํ ลองและคอยดวู วิ ฒั นาการ จนกระทังผลทีดที ีสดุ ออกมา

ก า ร ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ป ญ ญ า ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ ใ น ด้ า น ต่ า(ตง่ อๆ) เจเนติกอัลกอรทิ ึม (Genetic Algorithm) (ต่อ) ซงึ วธิ กี ารดงั กล่าวจะตังอยูบ่ นพนื ฐานทฤษฏีของววิ ฒั นาการทีเกียวขอ้ ง 1 .ความแตกต่างแปรผนั จากพนั ธุกรรม( Variation) 2 .การคัดเลือกตามธรรมชาติ( Natural Selection) โดยเจเนติกอัลกอรทิ ึมมปี ระโยชขเ์ ปนพเิ ศษสาํ หรบั เหตกุ ารณ์ ทางออกอยูน่ บั พนั และเปนไปไดว้ า่ จะต้องหาทางออกทีเหมาะสมทีสดุ เพอื นาํ ไปสกู่ ระบวนการใหม่ ๆ ทีแตกต่างไปจากลักษณะดงั เดมิ

ก า ร ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ป ญ ญ า ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ ใ น ด้ า น ต่ า(ตง่อๆ) ตัวแทนชาญฉลาด (Intelligent Agent) ดว้ ยระบบแนวคิดทีชาญฉลาดนที ีทําใหค้ อมพวิ เตอรม์ คี วามสามารถสงู และทํางานแทนมนษุ ยไ์ ดจ้ งึ เกิดตัวแทนชาญฉลาดขนึ มา (IntelligentAgent) ขนึ มา หรอื เรยี กวา่ Intelligent Robot หรอื มกั เรยี กสนั ๆ วา่ Bot ซงึ บอทจะประกอบไปดว้ ยโปรแกรมและฐานความรทู้ ีถกู นาํ มาใชป้ ฏิบตั ิงานเฉพาะกิจแทนคนแบบ อัตโนมตั ิและรวมไปถึงการนาํ บอทมาใชเ้ ปนตัวแทนของแฮกเกอรเ์ พอื เจาะเขา้ ไปตามเวบ็ ไซต์ต่าง ๆ ดงั นนั ในบางเวบ็ ไซต์จงึ มมี าตรการปองกันขนึ มา ดว้ ยการใหผ้ ใู้ ชพ้ สิ จู นต์ ัวตนวา่ เปนมนษุ ยจ์ รงิ ๆไมใ่ ช่ เปนตัวแทนบอทเขา้ มาจงึ เปนทีมาของ CAPTCHA (Completely Automated public Turing test totell Computer and Humans Apart )

ระบบผู้เชียวชาญ (EXPERT SYSTEMS) ระบบผเู้ ชยี วชาญนนั จะนาํ คอมพวิ เตอรม์ าใชใ้ นการตัดสนิ ใจแทนมนษุ ยโ์ ดยจะมกี ารถ่ายทอดความรคู้ วาม ชาํ นาญการต่างๆ และจดั เก็บไวเ้ ปนฐานความรู้ จากนนั ก็นาํ มาใชแ้ ก้ปญหา หรอื ใหค้ ําแนะนาํ ในเรอื งต่างๆ เสมอื นกับผใู้ ชไ้ ดส้ อบถามจากผเู้ ชยี วชาญโดยตรงการถ่ายโอนความรู้ ความชาํ นาญการจากบุคคลทีมผี ู้ เชยี วชาญ เพอื นาํ ไปเก็บไวใ้ นคอมพวิ เตอรจ์ ะเกียวขอ้ งกับผใู้ ชต้ ามกิจกรรมทัง 4 ประการดงั ต่อไปนี 1.การไดม้ าของความรู้ 2. การแสดงบทความรู้ 3. การอนมุ านความรู้ 4. การถ่ายโอนความรู้

ส่วนประกอบของระบบผู้เชียวชาญ ระบบผเู้ ชยี วชาญประกอบดว้ ยสว่ นประกอบทีสาํ คัญดงั ต่อไปนี ฐานความร(ู้ Knowledge Base) มสี ว่ นประกอบพนื ฐานอยู่ 2 ประการ 1 ขอ้ เท็จจรงิ (Facts) เชน่ ปญหาในเหตกุ ารณต์ ่างๆ 2 รปู แบบของกฏ (Rules Base) เกียวกับเงือนไขและ หนทางแก้ปญหา เชน่ IF…THEN…..ELSE โดยการมุง่ ใชค้ วามรใู้ นการแก้ปญหาตามขอบเขตเฉพาะเจาะจง

ส่วนประกอบของระบบผู้เชียวชาญ (ต่อ) ระบบผเู้ ชยี วชาญประกอบดว้ ยสว่ นประกอบทีสาํ คัญดงั ต่อไปนี (ต่อ) กลไกการอนมุ าน ( Inference Engine) ทําหนา้ ทีเสมอื นของระบบผเู้ ชยี วชาญ จุดประสงค์ คือ ความสามารถในการนาํ ความรู้ มาเตรยี มเปนคําตอบ ทํานาย สรปุ ใจความในรปู แบบของเหตผุ ล โดยกลไกการอนมุ านจะมกี ารจดั เตรยี มไดอะล็อก เพอื เปดโอกาสใหผ้ ใู้ ชส้ ามารถตอบโต้ หรอื ซกั ถามเพอื ค้นหาคําตอบ กลไกการอนมุ านยงั สามารถอนมุ ุมานปญหาได้ 2 ลักษณะ คือ 1. อนมุ านแบบเดนิ หนา้ (Forward Chaining Inference) เปนวธิ กี ารอนมุ านจากความจรงิ เพอื หาคําตอบทีไดซ้ งึ จะตอบคําถามจากการตังคําถาม จากนนั ก็จะตรวจสอบไปตามกฎเกณฑ์ 2. การอนมุ านแบบยอ้ นหลัง (Backward Chaining Inference) เรมิ จากเปาหมาย หรอื สมมุติฐานทีตังมาก่อนจากนนั ก็จะวนิ จิ ฉัยตามขอ้ เท็จจรงิ

ส่วนประกอบของระบบผู้เชียวชาญ (ต่อ) ระบบผเู้ ชยี วชาญประกอบดว้ ยสว่ นประกอบทีสาํ คัญดงั ต่อไปนี (ต่อ) การอธบิ าย ( Explanation) สว่ นสาํ คัญอีกสว่ นหนงึ ของระบบผเู้ ชยี วชาญ คือ สว่ นคําอธบิ ายทีผใู้ ช้ หรอื ผตู้ ัดสนิ ใจไดเ้ ขา้ ใจวา่ คําตอบหรอื ขอ้ สรปุ ทีจากระบบนนั มเี หตผุ ลมาจากสาเหตอุ ะไร โดยระบบจะนาํ องค์ความรจู้ ากฐานความรทู้ ีมอี ยูม่ าชว่ ยชแี นะ และอธบิ ายรายละเอียดตามขอ้ สรปุ เพอื ใหผ้ ใู้ ชไ้ ดเ้ กิดความเขา้ ใจไดด้ ยี งิ ขนึ

ส่วนประกอบของระบบผู้เชียวชาญ (ต่อ) ระบบผเู้ ชยี วชาญประกอบดว้ ยสว่ นประกอบทีสาํ คัญดงั ต่อไปนี (ต่อ) การไดม้ าของความร(ู้ Knowledge Acquisition) งานทียุง่ ยากสาํ หรบั การพฒั นาระบบผเู้ ชยี วชาญ คือ กระบวนการสรา้ งและอัพเดตฐานความรทู้ ีไดม้ าจากผเู้ ชยี วชาญ ทีมงานจะต้องดงึ ความรจู้ ากผเู้ ชยี วชาญมาแปลงเปนกฏ หรอื สมมุติฐานต่างๆ ใหอ้ ยูใ่ นรปู แบบทีเขา้ กันไดก้ ับโครงสรา้ งในฐานความรทู้ ีบรรจุอยูใ่ นระบบผเู้ ชยี วชาญ

ผู้มีส่วนร่วมในการพัฒนาและใช้งานระบบผู้เชียวชาญ ผเู้ ชยี วชาญเฉพาะทาง (The Domain Expert) ผเู้ ชยี วชาญเปนบุคคลหรอื กล่มุ คนทีมที ักษะความรคู้ วามเชยี วชาญในเรอื งราวหรอื สาขานนั ๆ ประกอบดว้ ย สามารถจาํ แนกปญหาขอ้ เท็จจรงิ ต่างๆได้ พฒั นากรอบการทํางานเพอื นาํ มาแก้ปญหาได้ สามารถนาํ ทฤษฏีและสตู รการคํานวนที มคี วามรเู้ กียวกับหลักเกณฑ์ต่างๆ เกียวขอ้ งมาประยุกต์ใชก้ ับเหตกุ ารณต์ ่างๆได้ และหลัการทัวไปได้ เรยี นรจู้ ากประสบการณจ์ รงิ สามารถแก้ปญหาไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และมปี ระสทิ ธภิ าพ สามารถอธบิ ายเหตกุ ารณแ์ ละทางออกของปญหา รวู้ า่ อะไรมคี วามสาํ คัญ หรอื ไมม่ คี วามสาํ คัญ ต่อการแก้ปญหา

ผู้มีส่วนร่วมในการพัฒนาและใช้งานระบบผู้เชียวช(าตญ่อ) วศิ วกรความรแู้ ละผใู้ ชท้ ีมคี วามรู้ ( The Knowledge Engineer and Knowledge Users) วศิ วกรรมความรู้ คือ บุคคลทีไดร้ บั ความฝกฝนและมปี ระสบการณเ์ กียวกับ งานดา้ นออกแบบ การพฒั นา การนาํ ไปใชแ้ ละการซอ่ มบาํ รงุ รกั ษาระบบผเู้ ชยี วชาญ สว่ นผใู้ ชท้ ีมคี วามรู้ คือ บุคคล หรอื กล่มคนทีใชป้ ระโยชนจ์ ากระบบผเู้ ชยี วชาญ

เทคนิคและเครืองมือในการพัฒนาระบบผู้เชียวชาญ ในเชงิ ทฤษฏีระบบผเู้ ชยี วชาญสามารถถกู พฒั นาจากภาษา โปรแกรมไดห้ ลายภาษาในยุคแรกๆการพฒั นาระบบผเู้ ชยี วชาญไดม้ กี าร ใชภ้ าษาระดบั สงเชน่ ภาษา Pascal FORTAIN และ COBOL เซลล์หรอื เปลือกระบบผเู้ ชยี วชาญ (Expert System shell) คือ ซอฟต์แวรส์ าํ เรจ็ รปู เปนเครอื งมอื ทีนาํ มาใชเ้ พอื การออกแบบพฒั นานาํ ไปใช้ และบาํ รงุ รกั ษาระบบผเู้ ชยี วชาญ

ก า ร ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ร ะ บ บ ผู้ เ ชีย ว ช า ญ การตรวจวนิ จิ ฉัยทางการแพทย์ งานดา้ นการแพทยม์ กั เปนปญหาในขอบเขตเฉพาะและไมม่ โี ครงสรา้ ง ดงั นนั จงึ ไมน่ า่ แปลกใจเลยวา่ ระบบผเู้ ชยี วชาญทีถกู นาํ มาใชง้ านในชว่ งแรกๆ จงึ ถกู ออกแบบ มาเพอื ชว่ ยเหลือแพทยใ์ นการวนิ จิ ฉัยอาการและแนะนาํ วธิ เี ยยี วยารกั ษาโรคเปนสว่ นใหญ่ การอนมุ ตั ิสนิ เชอื และเงินกู้ สถาบนั การเงินบางแหง่ ไดม้ กี ารนาํ ระบบผเู้ ชยี วชาญทีชอื วา่ Loan Probe มาใชง้ านเพอื วเิ คราะห์ ความเสยี งเกียวกับการอนมุ ตั ิสนิ เชอื และโอกาสการเกิดหนสี ญู จากการก้เู งินของลกู ค้า

การประยุกต์ใช้ระบบผู้เชียวชาญ (ต่อ) การตรวจจบั กลโกง ตลาดหลักทรพั ยใ์ นอเมรกิ ามกี ารนาํ ระบบผเู้ ชยี วชาญมาใช้ ซงึ นกั วเิ คราะหส์ ามารถเขา้ ถึงฐาน ขอ้ มูลประวตั ิขนาดใหญข่ องตลาดหนุ้ เพอื วเิ คราะหถ์ ึงบุคคลทีเปน อินไซเดอร์ (Insider trading) ทีมกี ารซอื ขายหลักทรพั ยโ์ ดยอาศัยความไดเ้ ปรยี บจากการล่วงรขู้ อ้ มูลภายใน งานซอ่ มและการบาํ รงุ รกั ษาอุปกรณ์ บรษิ ัท IET-Intelligent Electronics ไดใ้ ชร้ ะบบผเู้ ชยี วชาญในการวนิ จิ ฉัยปญหา ดา้ นงานบาํ รงุ รกั ษาทีเกียวกับอุปกรณใ์ นยานอวกาศ ทําใหค้ ้นพบขอ้ บกพรอ่ งต่างๆ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็

การประยุกต์ใช้ระบบผู้เชียวชาญ (ต่อ) การตรวจธาตโุ ลหะต่างๆ ทางบรษิ ัท General Electric จะไดพ้ ฒั นาระบบผเู้ ชยี วชาญทีชว่ ยใหบ้ ุคคลทีไมม่ คี วาม เชยี วชาญดา้ นโลหะสามารถพสิ จู นธ์ าตโุ ลหะและอัลลอยต่างๆภายนอกหอ้ งแล็บได้ การตลาด Cover Story เปนระบบผเู้ ชยี วชาญทีดดู สารสนเทศทางการตลาดของ ขอ้ มูลเพอื นาํ มาเขยี นรายงานทางการตลาดแบบอัตโนมตั ิ

ระบบเสมือนจริง ระบบเสมอื นจรงิ เปนระบบทีผใู้ ชส้ ามารถเขา้ สโู่ ลกเสมอื นจรงิ บน สภาพแวดล้อมทีประดษิ ฐข์ นึ สามารถถกู สรา้ งขนึ อยา่ งสมบูรณโ์ ดยคอมพวิ เตอร์ ผใู้ ชม้ คี วามรสู้ กึ วา่ ไดเ้ ขา้ รว่ มในสภาพแวดล้อมนนั จรงิ ๆผา่ นอุปกรณ์ VR ทีประกอบดว้ ย 2 สว่ นคือ Immersion และ Interaction

ร ะ บ บ ผู้ เ ชี ย ว ช า ญ แ ล ะ ร ะ บ บ ส นั บ ส นุ น ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ผเู้ ชยี วชาญมกั นาํ ระบบ DSS มาใชเ้ พอื ตัดสนิ ใจแบบไมม่ โี ครงสรา้ ง ระบบ DSS สว่ นใหญล่ ้วน สอบถามสารสนเทศมกี ารใชเ้ ครอื งมอื ตัวแบบจาํ ลองในการสรา้ งรายงานและปฏิบตั ิตามกฎทีได้ วเิ คราะหอ์ อกมา เครอื งมอื และเทคนคิ ของระบบผเู้ ชยี วชาญสามารถนาํ เขา้ ไปเสรมิ สรา้ งการ ทํางานใหก้ ับระบบสนบั สนนุ การตัดสนิ ใจได้

ร ะ บ บ ผู้ เ ชี ย ว ช า ญ แ ล ะ ร ะ บ บ ส นั บ ส นุ น ก า ร ตั ด สิ น( ตใ่ อจ)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook