Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore DigitalLiteracy

DigitalLiteracy

Description: DigitalLiteracy

Search

Read the Text Version

Digital literacy คืออะไร ทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทลั หรือ Digital literacy หมายถึง ทักษะใน การนาเครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีอยู่ในปัจจุบัน อาทิ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ แทปเลต โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และสื่อออนไลน์ มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในการสื่อสาร การปฏิบัติงาน และการทางานร่วมกัน หรือใช้เพื่อพัฒนากระบวนการ ทางาน หรือระบบงานในองค์กรให้มีความทันสมยั และมีประสิทธิภาพ ทักษะดงั กล่าวครอบคลุมความสามารถ 4 มิติ •การใช้ (Use) •เข้าใจ (Understand) •การสร้าง (create) •เข้าถึง (Access) เทคโนโลยีดิจิทัล ได้อย่างมีประสิทธิภาพ



ในปัจจุบันโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว จากยุค Analog ไปสู่ยคุ Digital และยุค Robotic จึงทาให้เทคโนโลยีดิจิทัลมี อิทธิพลต่อการดารงชีวิตและการทางาน ข้าราชการซึ่งเป็นแกน หลกั ของการพัฒนาประเทศ จึงต้องปรับตัวให้สอดคล้องกับบริบท ของการเปลี่ยนแปลง เพื่อป้องกันไม่ให้เกิด culture shock เนื่อง จากการเปลี่ยนผ่านเทคโนโลยี และเพื่อป้องกันความเสี่ยงท่ีอาจ เกิดจากการใช้เทคโนโลยีท่ีไม่เหมาะสม เช่น การสูญเสียการเป็น ส่วนตัว ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน การโจรกรรมข้อมูล การโจมตีทางไซเบอร์ เปน็ ต้น Digital literacy หรือทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยี ดิจทิ ัล เป็นทักษะด้านดิจิทัลพื้นฐานท่ีจะเปน็ ตัวช่วยสาคัญ สาหรบั ข้าราชการในการปฏิบัติงาน การสื่อสาร และการทางานร่วมกัน กับผู้อื่นในลักษณะ “ทาน้อย ได้มาก” หรือ “Work less but get more impact” และช่วยส่วนราชการสร้างคุณค่า (Value Co- creation) และความคุ้มค่าในการดาเนินงาน (Economy of Scale) เพื่อการก้าวไปสู่การเป็นประเทศไทย 4.0 อีกท้ังยังเป็นเครื่องมือ ช่วยให้ข้าราชการ สามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองเพื่อให้ได้รับ โอกาสการทางานท่ีดีและเติบโตก้าวหน้าในอาชีพราชการ (Learn and Growth) ด้วย

เป้าหมายของการพัฒนาทกั ษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทลั เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาข้าราชการและบุคลากรภาครฐั ให้สามารถนาเครื่องมือ อปุ กรณ์ และเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีอย่ใู นปัจจุบันมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสดุ ซึง่ จะนาไปสู่ การบริหารจัดการภาครัฐ การใหบ้ ริการภาครัฐ ความคลอ่ งตัวในการปฏบิ ัตริ าชการ ความค้มุ คา่ ในการใช้ทรัพยากร การสรา้ งงานที่มีมูลคา่ สูง สะดวก รวดเรว็ ประชาชนสามารถเขา้ ถงึ บริการได้ง่าย ตรงตอ่ ความตอ้ งการของประชาชน

แนวทางการดาเนินการสาหรบั ส่วนราชการ

การสร้างการรับรู้และกระตุ้นให้ข้าราชการ บุคลากรในสังกัดเกิดความสนใจและ รับทราบถึงประโยชน์ รวมถึงความจาเป็นของการพัฒนาทักษะความเข้าใจและใช้ เทคโนโลยีดิจทิ ลั (Digital Literacy) เพื่อให้ทราบถึงระดับการพัฒนาการของแต่ละบุคคล รวมถึงการนาทักษะดังกล่าวไป ประยกุ ต์ใช้ในการปฏบิ ตั งิ าน พรอ้ มทง้ั ให้ข้อมลู ยอ้ นกลับแก่ขา้ ราชการและบุคลากรในสังกดั ด้วย กาหนดเปน็ นโยบายของส่วนราชการ เพื่อนาไปใช้เป็นข้อมูลประกอบการปรับปรุง และวางแนวทางการพัฒนาทักษะของ บุคลากรของส่วนราชการในลาดับต่อไป สร้างบรรยากาศการทางานแบบ Digital ให้เกิดขึ้นในองค์กรโดยมีการดาเนินการ ดงั ต่อไปน้ี ในการพัฒนาทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy) ให้แก่ ข้าราชการและบุคลากรในสังกัด รวมถึงนาทักษะท่ีได้จากการพัฒนามาประยุกต์ใช้ใน การ ปฏิบัติงาน และการให้บริการประชาชน ทั้งนี้เพื่อสร้างคุณค่าร่วมกัน ระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม

พฒั นาขา้ ราชการและบุคลากรในสงั กัดใหม้ ีทกั ษะความเขา้ ใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล โดยมี การดาเนินการดังต่อไปนี้ ต้ังคณะทางานหรือผู้รับผิดชอบหลกั ในการสร้างบรรยากาศการทางานแบบ Digital โดยมี รองหัวหน้าส่วนราชการขึ้นไปเปน็ หวั หน้าคณะทางาน หน้าที่ของคณะทางานหรือผู้รบั ผิดชอบหลกั • สร้างการมีส่วนร่วม โดยเปิดโอกาสให้บุคลากรมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น การปรับเปลี่ยนองค์กร การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการปฏิบัติงาน และการสร้างเครือข่าย การใชง้ านเทคโนโลยีดจิ ิทัลในการปฏิบตั งิ าน • สร้างแรงจูงใจให้ข้าราชการและบุคลากรภาครัฐอยากพัฒนาทักษะความเข้าใจและใช้ เทคโนโลยีดิจิทัลของตนเอง ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การให้รางวัลในลักษณะใบ ประกาศนียบัตรผู้เปน็ แบบอย่างของการพัฒนาทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล หรือการจัดกจิ กรรมในสว่ นราชการต่าง ๆ • ให้ความรู้เก่ยี วกับเทคนคิ และวิธีการสร้างสรรค์หรือออกแบบแนวทางการนาเทคโนโลยี ดิจทิ ัลมาใชใ้ ห้เกิดประโยชน์สูงสดุ ในการปฏิบตั ิงาน • กาหนดเป็นข้อบังคับ ให้ข้าราชการและบุคลากรในสังกัดทุกคนต้องพัฒนาทักษะความ เข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอย่างจริงจัง โดยอาจเชื่อมโยงกับการบริหารทรัพยากร บุคคลของส่วนราชการ เช่น การประเมินผลการปฏิบัติงาน และการเลื่อนตาแหน่ง เป็น ต้น • ส่งเสริมให้เกิดการทางานแบบ Digital ตามท่ีได้กาหนดไว้ เพื่อให้เกิดการนาเทคโนโลยี ดิจทิ ัลทม่ี ีอยใู่ นปัจจุบันมาใชใ้ นการปฏิบัติงานอย่างแท้จริง

พัฒนาข้าราชการและบุคลากรในสงั กดั ให้มีทกั ษะความเข้าใจและใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทลั โดยมีการ ดาเนินการดงั ต่อไปนี้ ส่วนราชการวางแผนการพัฒนาทกั ษะความเข้าใจและใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทลั ของข้าราชการและ บุคลากรในสงั กดั โดยอาจจาแนกบุคคลออกเป็นกลุ่มตามความสามารถและความสนใจในการ พฒั นา และกาหนดแนวทางในการพัฒนาให้สอดคลอ้ งกับศกั ยภาพของบุคคล ส่งเสริมและสนับสนุนให้ข้าราชการพฒั นาทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดจิ ิทัลด้วยตนเอง โดยอาจนาวธิ กี ารพฒั นาทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทลั (6 Step) มาใช้เป็นแนว ทางการพัฒนา ติดตามผลการพัฒนาทกั ษะความเข้าใจและใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทลั ข้าราชการและบุคลากรในสังกัด เพือ่ ให้ทราบถงึ ระดบั การพฒั นาการของแต่ละบคุ คล รวมถงึ การนาทักษะดงั กล่าวไป ประยุกต์ใชใ้ นการปฏิบัติงาน พรอ้ มทง้ั ให้ข้อมูลย้อนกลบั แกข่ ้าราชการและบุคลากรในสงั กัด ด้วย รายงานผลการนาทักษะความเข้าใจและใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทัลของข้าราชการและบคุ ลากรภาครฐั มายังสานกั งาน ก.พ. เพือ่ นาไปใช้เป็นข้อมูลประกอบการปรบั ปรุง และวางแนวทางการพฒั นาทักษะของบุคลากร ของส่วนราชการในลาดับต่อไป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook