Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

Published by P'noway, 2021-07-17 03:47:09

Description: มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

Search

Read the Text Version

มาตรฐานการเรยี นรŒแู ละตวั ช้วี ัดฯ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 91 สาระท่ี ๕ ภูมศิ าสตร์ มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้ำใจปฏิสัมพันธ์ระหว่ำงมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมทำงกำยภำพที่ก่อให้เกิดกำรสร้ำงสรรค์ วิถีกำรด�ำเนินชีวิต มีจิตส�ำนึกและมีส่วนร่วมในกำรจัดกำรทรัพยำกร และส่ิงแวดล้อม เพอ่ื กำรพฒั นำที่ยงั่ ยนื ตวั ช้ีวัดชนั้ ป ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ๑. บอกสง่ิ แวดลอ้ ม ๑. อธบิ ำย ๑. เปรียบเทยี บ ๑. วเิ ครำะห์ ๑. วิเครำะห์ ๑. วิเครำะห์ ท่ีเกดิ ตำม ควำมส�ำคญั ของ กำรเปลย่ี นแปลง สิง่ แวดลอ้ ม สิ่งแวดลอ้ ม ปฏิสมั พนั ธ์ ธรรมชำติ สง่ิ แวดล้อม ส่ิงแวดล้อมของ ทำงกำยภำพ ทำงกำยภำพ ระหวำ่ ง ท่ีสง่ ผลตอ่ ทำงธรรมชำติ ชมุ ชนในอดีต ที่ส่งผลต่อ ทีม่ อี ทิ ธพิ ล ส่งิ แวดล้อม ควำมเปน็ อยู่ และท่มี นษุ ย์ กับปจั จุบัน กำรด�ำเนนิ ชีวิต ต่อลักษณะ ทำงกำยภำพกบั ของมนุษย์ สรำ้ งขน้ึ ๒. อธิบำยกำรใช้ ของคนในจงั หวัด กำรตงั้ ถ่นิ ฐำน ลกั ษณะกิจกรรม ๒. สังเกตและ ๒. จำ� แนกและ ประโยชนจ์ ำก ๒. อธบิ ำย และกำรย้ำยถนิ่ ทำงเศรษฐกจิ เปรียบเทยี บ ใช้ทรัพยำกร สิง่ แวดล้อม กำรเปลยี่ นแปลง ของประชำกร และสงั คม กำรเปลี่ยนแปลง ธรรมชำติ และทรพั ยำกร สงิ่ แวดล้อม ในภูมภิ ำค ในประเทศไทย ของสง่ิ แวดล้อม ทใ่ี ชแ้ ลว้ ธรรมชำติ ในจงั หวัดและ ของตน ๒. วเิ ครำะห์ เพ่ือกำรปฏิบตั ิตน ไมห่ มดไป ในกำรสนอง ผลทเี่ กิดจำก ๒. วิเครำะหอ์ ทิ ธิพล กำรเปลย่ี นแปลง อย่ำงเหมำะสม ทใี่ ช้แล้วหมดไป ควำมต้องกำร กำรเปล่ยี นแปลง ของสงิ่ แวดล้อม ทำงกำยภำพ ๓. มีส่วนร่วมในกำร และสร้ำง พ้นื ฐำนของ ๓. น�ำเสนอ ทำงธรรมชำติ ของประเทศไทย ดแู ลสิ่งแวดลอ้ ม ทดแทนข้ึนใหม่ มนษุ ย์และกำร แนวทำง ที่กอ่ ใหเ้ กดิ วถิ ี ในอดีตกับ ท่ีบำ้ นและ ได้อย่ำงค้มุ ค่ำ ประกอบอำชีพ กำรจัดกำร กำรด�ำเนินชวี ติ ปัจจบุ นั หอ้ งเรียน ๓. อธบิ ำย ๓. อธบิ ำยสำเหตุท่ี ส่งิ แวดลอ้ ม ในภูมิภำคของตน และผลท่เี กดิ ควำมสมั พันธ์ ท�ำให้เกิดมลพษิ ในจังหวัด ๓. น�ำเสนอตัวอย่ำง ข้นึ จำกกำร ระหวำ่ งฤดกู ำลกับ โดยมนุษย์ ท่ีสะทอ้ นใหเ้ ห็น เปล่ยี นแปลง กำรด�ำเนินชีวติ ๔. อธิบำย ผลจำกกำรรกั ษำ ๓. นำ� เสนอตัวอยำ่ ง ของมนษุ ย์ ควำมแตกตำ่ ง และท�ำลำย ทส่ี ะท้อนใหเ้ หน็ ๔. มีส่วนรว่ ม ของลกั ษณะ สง่ิ แวดลอ้ ม ผลจำกกำรรกั ษำ ในกำรจัดกำร เมอื งและชนบท และเสนอแนวทำง และทำ� ลำย สิ่งแวดลอ้ ม ๕. อธบิ ำย ในกำรจดั กำร ทรพั ยำกร ในโรงเรียน ควำมสมั พันธ์ สงิ่ แวดลอ้ ม และส่งิ แวดลอ้ ม ระหวำ่ งลักษณะ ในภมู ภิ ำค และเสนอแนวทำง ทำงกำยภำพกบั ของตน ในกำรจัดกำร กำรดำ� เนินชวี ติ ท่ยี ัง่ ยนื ของคนในชมุ ชน ในประเทศไทย ๖. มีส่วนรว่ ม ในกำรจดั กำร สิ่งแวดลอ้ ม ในชมุ ชน

92 มาตรฐานการเรียนรแŒู ละตวั ชวี้ ัดฯ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) สาระท่ี ๕ ภมู ิศาสตร์ มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้ำใจปฏิสัมพันธ์ระหว่ำงมนุษย์กับส่ิงแวดล้อมทำงกำยภำพที่ก่อให้เกิดกำรสร้ำงสรรค์ วิถีกำรด�ำเนินชีวิต มีจิตส�ำนึกและมีส่วนร่วมในกำรจัดกำรทรัพยำกร และส่ิงแวดล้อม เพ่อื กำรพฒั นำท่ยี งั่ ยืน (ต่อ) ตวั ชว้ี ดั ชัน้ ป ตัวช้วี ดั ชว่ งชน้ั ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔-๖ ๑. ส�ำรวจและระบุท�ำเลทต่ี ั้ง ๑. สำ� รวจและระบทุ �ำเลทตี่ ง้ั ๑. สำ� รวจและระบุท�ำเลทตี่ ัง้ ๑. วิเครำะหป์ ฏสิ มั พนั ธร์ ะหวำ่ ง ของกจิ กรรมทำงเศรษฐกจิ ของกิจกรรมทำงเศรษฐกิจ ของกจิ กรรมทำงเศรษฐกจิ สง่ิ แวดล้อมทำงกำยภำพ และสงั คมในทวีปเอเชยี และสงั คมในทวีปยโุ รป และสงั คม กับกิจกรรมของมนุษย์ ทวปี ออสเตรเลีย และ และทวปี แอฟรกิ ำ ในทวีปอเมริกำเหนอื ในกำรสร้ำงสรรค์วิถีกำร โอเชียเนยี ๒. วเิ ครำะหป์ ัจจยั ทำง และทวีปอเมริกำใต ้ ด�ำเนินชวี ิตของท้องถิน่ ๒. วเิ ครำะหป์ ัจจยั ทำงกำยภำพ กำยภำพและปัจจัยทำง ๒. วิเครำะห์ปจั จัยทำงกำยภำพ ท้งั ในประเทศไทย และปจั จัยทำงสงั คม ที่สง่ ผล สังคมทสี่ ่งผลต่อทำ� เลท่ตี ง้ั และปจั จยั ทำงสังคมทส่ี ง่ ผล และภูมภิ ำคตำ่ งๆ ของโลก ต่อท�ำเลท่ีตัง้ ของกจิ กรรม ของกิจกรรมทำงเศรษฐกิจ ต่อทำ� เลทีต่ งั้ ของกจิ กรรม และเหน็ ควำมสำ� คญั ทำงเศรษฐกจิ และสงั คม และสงั คมในทวีปยโุ รป ทำงเศรษฐกจิ และสังคม ของสง่ิ แวดล้อมทีม่ ผี ลต่อ ในทวปี เอเชีย ทวีปออสเตรเลีย และทวีปแอฟริกำ ในทวปี อเมริกำเหนือ กำรดำ� รงชวี ติ ของมนษุ ย์ และโอเชยี เนีย ๓. สืบคน้ อภิปรำยประเด็น และทวีปอเมริกำใต ้ ๒. วเิ ครำะหส์ ถำนกำรณ ์ ๓. สบื ค้น อภปิ รำยประเด็น ปญั หำจำกปฏิสมั พันธ์ ๓. สืบค้น อภปิ รำยประเดน็ สำเหต ุ และผลกระทบ ปัญหำจำกปฏสิ ัมพันธ์ ระหวำ่ งสงิ่ แวดลอ้ ม ปญั หำจำกปฏิสมั พันธ์ ของกำรเปล่ยี นแปลง ระหว่ำงสงิ่ แวดล้อม ทำงกำยภำพกับมนษุ ย์ ระหว่ำงสงิ่ แวดลอ้ ม ด้ำนทรพั ยำกรธรรมชำติและ ทำงกำยภำพกบั มนษุ ย์ ทเ่ี กิดข้นึ ในทวปี ยโุ รป ทำงกำยภำพกับมนษุ ย์ ส่งิ แวดลอ้ มของประเทศไทย ท่ีเกิดข้นึ ในทวีปเอเชยี และทวปี แอฟรกิ ำ ทเ่ี กิดข้ึนในทวีปอเมรกิ ำเหนอื และภูมิภำคต่ำง ๆ ของโลก ทวีปออสเตรเลยี และ ๔. วเิ ครำะหแ์ นวทำงกำรจดั กำร และทวีปอเมรกิ ำใต้ ๓. ระบมุ ำตรกำรป้องกันและ โอเชยี เนยี ภัยพิบตั ิและกำรจัดกำร ๔. วิเครำะหแ์ นวทำงกำรจัดกำร แก้ไขปญั หำกฎหมำยและ ๔. วเิ ครำะหแ์ นวทำงกำรจัดกำร ทรัพยำกรและสิ่งแวดล้อม ภยั พบิ ตั แิ ละกำรจัดกำร นโยบำยดำ้ นทรพั ยำกร ภัยพบิ ัติและกำรจัดกำร ในทวีปยุโรป และทวปี แอฟริกำ ทรัพยำกรและสิง่ แวดล้อม ธรรมชำตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม ทรพั ยำกรและส่งิ แวดล้อม ท่ีย่งั ยืน ในทวปี อเมรกิ ำเหนือ บทบำทขององคก์ ำร ในทวปี เอเชีย ทวีปออสเตรเลีย และทวีปอเมรกิ ำใต ้ ท่เี กย่ี วข้อง และกำรประสำน และโอเชียเนยี ที่ยั่งยืน ทย่ี ่งั ยืน ควำมร่วมมอื ท้ังในประเทศ ๕. ระบคุ วำมร่วมมอื ระหวำ่ ง และระหวำ่ งประเทศ ประเทศท่ีมผี ลต่อ ๔. วเิ ครำะหแ์ นวทำงและ กำรจัดกำรทรัพยำกร มีสว่ นร่วมในกำรจดั กำร และส่งิ แวดลอ้ ม ทรัพยำกรธรรมชำต ิ และส่ิงแวดลอ้ ม เพือ่ กำรพัฒนำที่ยง่ั ยนื

ภาคผนวก

94 มาตรฐานการเรียนรŒแู ละตวั ช้วี ัดฯ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) คณิตศาสตรเพม่ิ เตมิ คณติ ศาสตรเ พม่ิ เติมจดั ทาํ ข้นึ สาํ หรบั ผูเรยี นในระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียนวิทยาศาสตร ที่จําเปนตองเรียนเนื้อหาในสาระจํานวนและพีชคณิต การวัดและเรขาคณิต สถิติและความนาจะเปน รวมทั้ง สาระแคลคูลัส ใหมีความลุมลึกขึ้น ซึ่งเปนพ้ืนฐานสําคัญสําหรับการศึกษาตอในระดับอุดมศึกษาในดาน วิทยาศาสตร คณิตศาสตรเพ่ิมเติมนี้ไดจัดทําขึ้นใหมีเนื้อหาสาระที่ทัดเทียมกับนานาชาติ เนนการคิดวิเคราะห การคิดอยางมีวิจารณญาณ การแกปญหา การคิดสรางสรรค การใชเทคโนโลยี การส่ือสารและการรวมมือ รวมท้ังเชือ่ มโยงความรูสกู ารนําไปใชในชีวิตจรงิ เรียนรูอะไรในคณติ ศาสตรเ พมิ่ เตมิ ในคณติ ศาสตรเ พิ่มเติม ผูเรียนจะไดเรยี นรสู าระสําคญั ดังนี้ ✧ จํานวนและพีชคณิต เรียนรูเก่ียวกับ เซต ตรรกศาสตร จํานวนจริงและพหุนาม จํานวนเชิงซอน ฟง กช นั ฟง กช นั เอกซโ พเนนเชยี ลและฟง กช นั ลอการทิ มึ ฟง กช นั ตรโี กณมติ ิ ลาํ ดบั และอนกุ รม เมทรกิ ซ และการนาํ ความรูเก่ียวกบั จํานวนและพีชคณิตไปใชในสถานการณตาง ๆ ✧ การวดั และเรขาคณิต เรียนรูเกี่ยวกับ เรขาคณิตวิเคราะห เวกเตอรใ นสามมิติ และการนําความรู เกยี่ วกับการวัดและเรขาคณิตไปใชใ นสถานการณต าง ๆ ✧ สถิติและความนาจะเปน เรียนรูเกี่ยวกับ หลักการนับเบ้ืองตน ความนาจะเปน การแจกแจง ความนาจะเปนเบ้ืองตน และนําความรูเก่ียวกับสถิติและความนาจะเปนในการอธิบายเหตุการณตาง ๆ และ ชวยในการตดั สนิ ใจ ✧ แคลคลู ัส เรยี นรูเกี่ยวกับ ลิมติ และความตอ เนื่องของฟงกช ัน อนุพนั ธข องฟงกช ันพีชคณิต ปริพนั ธ ของฟง กชนั พชี คณิต และการนําความรเู กย่ี วกับแคลคลู ัสไปใชในสถานการณตา ง ๆ สาระคณติ ศาสตรเพมิ่ เตมิ เปาหมายของการพัฒนาผูเรียนในคณิตศาสตรเพิ่มเติม มี ๒ ลักษณะ คือ เช่ือมโยงกับมาตรฐาน การเรยี นรใู นคณิตศาสตรพนื้ ฐาน เพือ่ ใหเกดิ การตอ ยอดองคความรูแ ละเรยี นรูสาระน้ันอยางลึกซึ้ง ไดแก สาระ จาํ นวนและพชี คณติ และสาระสถติ แิ ละความนา จะเปน และไมไ ดเ ชอ่ื มโยงกบั มาตรฐานการเรยี นรใู นคณติ ศาสตร พ้นื ฐาน ไดแก สาระการวัดและเรขาคณิต และสาระแคลคูลัส

มาตรฐานการเรยี นรแŒู ละตัวชีว้ ัดฯ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 95 สาระจํานวนและพีชคณติ ๑. เขาใจความหลากหลายของการแสดงจาํ นวน ระบบจาํ นวน การดาํ เนนิ การของจาํ นวน ผลทเ่ี กดิ ขนึ้ จากการดาํ เนนิ การ สมบตั ขิ องการดาํ เนนิ การ และนาํ ไปใช ๒. เขาใจและวิเคราะหแ บบรูป ความสมั พันธ ฟง กชนั ลาํ ดบั และอนุกรม และนาํ ไปใช ๓. ใชนิพจน สมการ อสมการ และเมทริกซ อธิบายความสัมพันธ หรือชวยแกปญหาที่กําหนดให สาระการวดั และเรขาคณติ ๑. เขาใจเรขาคณติ วิเคราะห และนาํ ไปใช ๒. เขา ใจเวกเตอร การดาํ เนนิ การของเวกเตอร และนาํ ไปใช สาระสถิติและความนา จะเปน ๑. เขา ใจหลกั การนบั เบือ้ งตน ความนา จะเปน และนําไปใช สาระแคลคลู สั ๑. เขา ใจลมิ ิตและความตอเนอ่ื งของฟงกช ัน อนุพันธข องฟงกช นั และปริพนั ธของฟงกช ัน และนาํ ไปใช คุณภาพผูเรยี น ผเู รยี นระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย เมื่อเรยี นครบทุกผลการเรียนรู มคี ณุ ภาพดงั นี้ ✧ เขา ใจและใชความรเู กย่ี วกับเซต ในการส่อื สารและส่อื ความหมายทางคณิตศาสตร ✧ เขาใจและใชความรูเกี่ยวกับตรรกศาสตรเบื้องตน ในการส่ือสาร ส่ือความหมาย และอางเหตผุ ล ✧ เขา ใจและใชสมบตั ิของจาํ นวนจรงิ และพหุนาม ✧ เขาใจและใชความรูเกี่ยวกับฟงกชัน ฟงกชันเอกซโพเนนเชียล ฟงกชันลอการิทึม และฟง กชันตรโี กณมิติ ✧ เขาใจและใชความรเู ก่ียวกบั เรขาคณติ วิเคราะห ✧ เขา ใจและใชค วามรเู กี่ยวกบั เมทรกิ ซ ✧ เขา ใจและใชส มบัติของจํานวนเชิงซอ น ✧ นาํ ความรูเกีย่ วกบั เวกเตอรใ นสามมติ ิไปใช ✧ เขาใจและใชหลักการนับเบ้ืองตน การเรียงสับเปลี่ยน และการจัดหมูในการแกปญหา และนําความรเู กยี่ วกับความนา จะเปน ไปใช ✧ นาํ ความรเู กีย่ วกับลําดับและอนกุ รมไปใช ✧ หาความนาจะเปนของเหตุการณท่ีเกิดจากตัวแปรสุมท่ีมีการแจกแจงเอกรูป การแจกแจงทวินาม และการแจกแจงปกติ และนาํ ไปใช ✧ นําความรเู ก่ียวกับแคลคูลสั เบื้องตนไปใช

96 มาตรฐานการเรยี นรูŒและตัวช้วี ัดฯ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) สาระจํานวนและพชี คณติ ๑. เขา ใจความหลากหลายของการแสดงจาํ นวน ระบบจาํ นวน การดาํ เนนิ การของจาํ นวน ผลทเี่ กดิ ขน้ึ จาก การดาํ เนินการ สมบตั ขิ องการดําเนินการ และนาํ ไปใช ผลการเรยี นรู มัธยมศกึ ษาปที่ ๔ ๑. เขา ใจและใชค วามรเู กี่ยวกบั เซต ในการสื่อสารและสอื่ ความหมายทางคณติ ศาสตร ๒. เขาใจและใชความรูเก่ยี วกับตรรกศาสตรเบื้องตน ในการสื่อสาร ส่อื ความหมาย และอางเหตุผล ๓. เขา ใจจํานวนจรงิ และใชสมบตั ิของจาํ นวนจรงิ ในการแกป ญ หา ผลการเรยี นรู มัธยมศกึ ษาปที่ ๕ ๑. เขาใจจาํ นวนเชงิ ซอนและใชส มบตั ขิ องจํานวนเชงิ ซอ นในการแกป ญ หา ๒. หารากท่ี n ของจาํ นวนเชงิ ซอน เม่อื n เปน จํานวนนบั ที่มากกวา ๑ ผลการเรียนรู มัธยมศกึ ษาปที่ ๖ - ๒. เขาใจและวิเคราะหแบบรูป ความสัมพนั ธ ฟง กช ัน ลําดับและอนุกรม และนําไปใช ผลการเรียนรู มธั ยมศึกษาปท ี่ ๔ ๑. หาผลลัพธของการบวก การลบ การคูณ การหารฟง กชนั หาฟงกชนั ประกอบและฟง กช ันผกผนั ๒. ใชสมบตั ขิ องฟง กช ันในการแกป ญ หา ๓. เขาใจลักษณะกราฟของฟงกชันเอกซโพเนนเชียลและฟงกชันลอการิทึม และนําไปใชในการ แกปญ หา ผลการเรียนรู มธั ยมศึกษาปท่ี ๕ ๑. เขาใจฟงกชนั ตรีโกณมิตแิ ละลักษณะกราฟของฟงกชนั ตรโี กณมิตแิ ละนาํ ไปใชใ นการแกป ญ หา ผลการเรียนรู มัธยมศึกษาปท่ี ๖ ๑. ระบไุ ดว า ลาํ ดับที่กําหนดใหเปน ลําดับลเู ขาหรอื ลอู อก ๒. หาผลบวก n พจนแ รกของอนกุ รมเลขคณิตและอนกุ รมเรขาคณิต ๓. หาผลบวกอนุกรมอนันต ๔. เขาใจและนาํ ความรูเ กย่ี วกับลําดับและอนุกรมไปใช

มาตรฐานการเรยี นรูŒและตวั ชวี้ ดั ฯ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 97 สาระจาํ นวนและพชี คณติ ๓. ใชน ิพจน สมการ อสมการ และเมทรกิ ซ อธบิ ายความสมั พนั ธ หรือชวยแกปญ หาท่กี ําหนดให ผลการเรียนรู มธั ยมศกึ ษาปที่ ๔ ๑. แกสมการและอสมการพหุนามตวั แปรเดียว ดีกรีไมเกินสแ่ี ละนําไปใชในการแกปญ หา ๒. แกสมการและอสมการเศษสวนของพหนุ ามตัวแปรเดยี วและนําไปใชในการแกปญ หา ๓. แกสมการและอสมการคา สมั บรู ณของพหุนามตวั แปรเดยี ว และนาํ ไปใชใ นการแกป ญหา ๔. แกสมการเอกซโพเนนเชยี ลและสมการลอการิทมึ และนําไปใชในการแกป ญหา ผลการเรยี นรู มัธยมศกึ ษาปท ่ี ๕ ๑. แกสมการตรโี กณมิติ และนาํ ไปใชใ นการแกปญหา ๒. ใชก ฎของโคไซนและกฎของไซนใ นการแกปญหา ๓. เขาใจความหมาย หาผลลัพธข องการบวกเมทริกซ การคณู เมทริกซกับจํานวนจริง การคณู ระหวา ง เมทริกซ และหาเมทรกิ ซส ลับเปล่ยี น หาดีเทอรมิแนนตข องเมทรกิ ซ n x n เมอ่ื n เปน จาํ นวนนับ ทไ่ี มเกินสาม ๔. หาเมทรกิ ซผกผนั ของเมทรกิ ซ ๒ x ๒ ๕. แกระบบสมการเชิงเสนโดยใชเ มทรกิ ซผกผันและการดาํ เนนิ การตามแถว ๖. แกสมการพหุนามตัวแปรเดียวดีกรีไมเกินส่ีที่มีสัมประสิทธ์ิเปนจํานวนเต็ม และนําไปใชในการ แกปญ หา ผลการเรยี นรู มธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๖ -

98 มาตรฐานการเรียนรแŒู ละตวั ชวี้ ดั ฯ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) สาระการวดั และเรขาคณิต ๑. เขา ใจเรขาคณติ วเิ คราะห และนาํ ไปใช ผลการเรยี นรู มธั ยมศึกษาปที่ ๔ ๑. เขาใจและใชค วามรูเกยี่ วกบั เรขาคณิต วเิ คราะหในการแกป ญ หา ผลการเรียนรู มัธยมศกึ ษาปท ่ี ๕ - ผลการเรยี นรู มธั ยมศึกษาปท ่ี ๖ - ๒. เขาใจเวกเตอร การดาํ เนินการของเวกเตอร และนําไปใช ผลการเรยี นรู มธั ยมศกึ ษาปที่ ๔ - ผลการเรยี นรู มัธยมศึกษาปท ี่ ๕ ๑. หาผลลัพธของการบวก การลบเวกเตอร การคูณเวกเตอรดวยสเกลาร หาผลคูณเชิงสเกลารและ ผลคณู เชิงเวกเตอร ๒. นาํ ความรูเกยี่ วกับเวกเตอรใ นสามมิติไปใชในการแกปญ หา ผลการเรียนรู มัธยมศึกษาปท ี่ ๖ - สาระสถติ ิและความนาจะเปน ๑. เขาใจหลักการนับเบือ้ งตน ความนาจะเปน และนาํ ไปใช ผลการเรียนรู มธั ยมศึกษาปที่ ๔ - ผลการเรียนรู มัธยมศกึ ษาปที่ ๕ ๑. เขา ใจและใชห ลกั การบวกและการคณู การเรียงสับเปล่ยี น และการจดั หมู ในการแกปญหา ๒. หาความนา จะเปน และนําความรเู กย่ี วกับความนา จะเปน ไปใช ผลการเรียนรู มัธยมศกึ ษาปท่ี ๖ ๑. หาความนาจะเปนของเหตุการณที่เกิดจากตัวแปรสุมท่ีมีการแจกแจงเอกรูป การแจกแจงทวินาม และการแจกแจงปกติ และนําไปใชในการแกปญ หา

มาตรฐานการเรยี นรแŒู ละตวั ชวี้ ดั ฯ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 99 สาระแคลคูลสั ๑. เขาใจลมิ ติ และความตอ เนื่องของฟง กชัน อนุพนั ธของฟง กช นั และปรพิ นั ธของฟง กช นั และนําไปใช ผลการเรียนรู มธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๔ - ผลการเรียนรู มธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๕ - ผลการเรยี นรู มธั ยมศึกษาปท่ี ๖ ๑. ตรวจสอบความตอ เนือ่ งของฟงกชันทก่ี ําหนดให ๒. หาอนุพนั ธข องฟง กชนั พีชคณิตทกี่ าํ หนดให และนําไปใชแ กปญ หา ๓. หาปรพิ ันธไมจ าํ กัดเขตและจาํ กดั เขตของฟง กชนั พีชคณติ ที่กําหนดให และนําไปใชแกป ญ หา

100 มาตรฐานการเรียนรŒูและตัวช้วี ัดฯ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) วิทยาศาสตรเ พิม่ เตมิ วทิ ยาศาสตรเ พม่ิ เตมิ จดั ทาํ ขน้ึ สาํ หรบั ผเู รยี นในระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลายแผนการเรยี นวทิ ยาศาสตร ทจี่ าํ เปน ตอ งเรยี นเนอ้ื หาในสาระชวี วทิ ยา เคมี ฟส กิ ส และโลก ดาราศาสตร และอวกาศ ซง่ึ เปน พนื้ ฐานสาํ คญั และ เพยี งพอสาํ หรบั การศกึ ษาตอ ในระดบั อดุ มศกึ ษาในดา นวทิ ยาศาสตร เพอ่ื ประกอบวชิ าชพี ในสาขาทใี่ ชว ทิ ยาศาสตร เปนฐาน เชน แพทย ทันตแพทย สตั วแพทย เทคโนโลยชี ีวภาพ เทคนคิ การแพทย วศิ วกรรม สถาปต ยกรรม ฯลฯ โดยมีผลการเรียนรูท่ีครอบคลุมดา นเนอ้ื หา ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร และทกั ษะแหง ศตวรรษที่ ๒๑ รวมทง้ั จติ วทิ ยาศาสตรท ี่ผูเรียนจําเปนตองมี วิทยาศาสตรเพิ่มเติมน้ี ไดมีการปรับปรุงเพ่ือใหมีเนื้อหาทท่ี ดั เทยี ม กับนานาชาติ เนนกระบวนการคิดวิเคราะหและการแกปญหา รวมท้ังเชื่อมโยงความรูสูการนําไปใชในชีวิตจริง สรปุ ไดด งั น้ี ๑. ลดความซ้ําซอนของเนื้อหาระหวางตัวชี้วัดในรายวิชาพื้นฐานและผลการเรียนรูรายวิชาเพ่ิมเติม เพอ่ื ใหผูเรียนไดม เี วลาสาํ หรบั การเรยี นรู และทาํ ปฏบิ ตั กิ ารทางวิทยาศาสตรเพิม่ ข้นึ ๒. ลดความซํ้าซอ นของเนอ้ื หาระหวา งสาระชวี วทิ ยา เคมี ฟสิกส และโลก ดาราศาสตร และอวกาศ โดยมีการพิจารณาเนื้อหาทมี่ ีความซ้าํ ซอ นกนั แลว จดั ใหเ รยี นที่สาระใดสาระหนึง่ เชน - เรื่องสารชีวโมเลกุล เดิมเรียนท้ังในสาระชีววิทยา และเคมี ไดพิจารณาแลวจัดใหเรียนในสาระ ชวี วิทยา - เร่ืองปโตรเลียม เดิมเรียนท้ังในสาระเคมี และโลก ดาราศาสตร และอวกาศ ไดพิจารณาแลว จัดใหเรียนในสาระโลก ดาราศาสตร และอวกาศ - เรอ่ื งกฎของบอยล กฎของชารล ไอโซโทปกมั มนั ตรงั สี ไดพ จิ ารณาแลว จดั ใหเ รยี นในสาระเคมี และ เร่อื งพลงั งานนิวเคลยี ร จดั ใหเรยี นในสาระฟส ิกส เนอ่ื งจากเดมิ เนอ้ื หาเหลา น้ที บั ซอ นกนั ในสาระเคมีและฟสิกส - เร่ืองการทดลองของทอมสัน และการทดลองของมลิ ลิแกน เดมิ เรยี นทั้งในสาระเคมี และฟสกิ ส ไดพ ิจารณาแลว จัดใหเ รียนในสาระเคมี ๓. ลดความซํา้ ซอ นกนั ระหวางระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน และระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย เชน - เรอื่ งระบบนเิ วศและสงิ่ แวดลอ มในสาระชวี วทิ ยา ไดป รบั ใหส าระการเรยี นรู เนอื้ หา และกจิ กรรม มีความแตกตา งกันตามความเหมาะสมของระดับผเู รียน - เรอ่ื งเทคโนโลยีอวกาศ การเกดิ ลม การเปลีย่ นแปลงอณุ หภูมขิ องโลก พายแุ ละมรสมุ ไดม ีการ ปรบั ใหส าระการเรยี นรู เนอ้ื หา และกจิ กรรม เรยี นตอ เนอื่ งกนั จากระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน ไปสรู ะดบั มธั ยมศกึ ษา ตอนปลาย เพื่อไมใ หทับซอ นกัน ๔. ลดทอนเนอื้ หาทย่ี าก เพอื่ ใหเ หมาะสมกบั กลมุ ของผเู รยี นในระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ๕. มกี ารเพมิ่ เนอื้ หาดา นตา ง ๆ ทม่ี คี วามทนั สมยั สอดคลอ งตอ การดาํ รงชวี ติ ในปจ จบุ นั และอนาคตมากขน้ึ เชน เรื่องเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ ที่มีตอมนุษยและสิ่งแวดลอมในสาระชีววิทยา เร่ืองทักษะและความปลอดภัย ในปฏิบัติการเคมี นวัตกรรมและการแกปญหาท่ีเนนการบูรณาการในสาระเคมี เรื่องเทคโนโลยีดานพลังงาน และสงิ่ แวดลอ ม การสอ่ื สารดว ยสญั ญาณดจิ ทิ ลั ทเี่ หมาะสมกบั สงั คมและเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั ในปจ จบุ นั รวมทง้ั เนอื้ หา เก่ียวกับการคนควาวิจยั ดานฟส ิกสอ นภุ าค เพอื่ ความสอดคลองกับความกา วหนาของวิชาฟส ิกสใ นปจจบุ ัน

มาตรฐานการเรียนรูŒและตัวช้วี ัดฯ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 101 วิทยาศาสตรเพิ่มเติมนี้ ถึงแมวาสถานศึกษาสามารถจัดใหผูเรียนไดเรียนตามความเหมาะสมและ ตามจุดเนนของสถานศึกษา แตในแนวทางปฏิบัติสถานศึกษาควรจัดใหผูเรียนไดเ รยี นทกุ สาระเพอ่ื ใหม ี ความรเู พยี งพอในการนาํ ไปใชเ พอ่ื การศกึ ษาตอ โดยเฉพาะอยา งยง่ิ เนอื้ หาของสาระโลก ดาราศาสตร และอวกาศ ท่ีสถานศึกษามักมองขามความสําคัญของการเรียนสาระนี้ ซ่ึงเปนการบูรณาการความรูทางดานวิทยาศาสตร ทงั้ ฟส กิ ส เคมี และชวี วทิ ยา รวมทง้ั ศาสตรอ นื่ ๆ ทเี่ กย่ี วขอ ง เพอ่ื มาชว ยในการอธบิ ายและเขา ใจปรากฏการณต า ง ๆ ในธรรมชาติ ทัง้ การเปลยี่ นแปลงบนผวิ โลก การเปลีย่ นแปลงภายในโลก และการเปลี่ยนแปลงทางลมฟา อากาศ ซึ่งกระบวนการเปล่ียนแปลงทั้งหมดดังกลาวลวนสงผลซ่ึงกันและกัน รวมท้ังส่ิงมีชีวิตดวย และที่สําคัญคือ ความรใู นสาระนสี้ ามารถนาํ ไปใชใ นการศกึ ษาตอ เพอื่ ประกอบอาชพี ในหลาย ๆ ดา น เชน อาชพี ทเ่ี กย่ี วกบั วสั ดศุ าสตร การเดินเรือ การบิน การเกษตร การศึกษาประวัติศาสตร วิศวกร อุตสาหกรรมนํ้ามัน เหมือง นักธรณีวิทยา นักอุตุนิยมวิทยา นักดาราศาสตร นักบินอวกาศ ดังนั้นพ้ืนฐานความรูสาระโลก ดาราศาสตร และอวกาศ จะชวยเปดโอกาสทางดานอาชีพท่ีหลากหลายใหกับผูเรียน เพราะในอนาคตขางหนา นอกจากมนุษยจะตอง มคี วามเขา ใจเกย่ี วกบั โลกทต่ี วั เองอาศยั อยแู ลว ยงั ตอ งพฒั นาตนเองเพื่อศึกษาขอมูลตาง ๆ ท่ีอยูนอกโลกเพ่ือนํา ขอมูลเหลานัน้ กลบั มาพฒั นาคุณภาพชีวิตใหดขี ้นึ เรียนรูอ ะไรในวทิ ยาศาสตรเ พ่มิ เตมิ วิทยาศาสตรเ พมิ่ เติม ผูเ รยี นจะไดเรยี นรสู าระสาํ คญั ดงั น้ี ✧ ชวี วิทยา เรียนรเู กีย่ วกบั การศกึ ษาชีววิทยา สารท่เี ปนองคป ระกอบของสิง่ มีชวี ติ เซลลข องสง่ิ มชี วี ติ พันธกุ รรมและการถา ยทอด ววิ ฒั นาการ ความหลากหลายทางชวี ภาพ โครงสรา งและการทํางานของสวนตา ง ๆ ในพืชดอก ระบบและการทํางานในอวัยวะตาง ๆ ของสตั วและมนุษย และสิ่งมีชีวติ และส่ิงแวดลอม ✧ เคมี เรยี นรเู กยี่ วกบั ปรมิ าณสาร องคป ระกอบและสมบตั ขิ องสาร การเปลยี่ นแปลงของสาร ทกั ษะ และการแกป ญ หาทางเคมี ✧ ฟสกิ ส เรียนรเู กีย่ วกับ ธรรมชาตแิ ละการคน พบทางฟส กิ ส แรงและการเคล่อื นที่ และพลังงาน ✧ โลก ดาราศาสตร และอวกาศ เรียนรูเก่ียวกับ โลกและกระบวนการเปล่ียนแปลงทางธรณวี ทิ ยา ขอ มลู ทางธรณวี ทิ ยาและการนาํ ไปใชป ระโยชน การถา ยโอนพลงั งานความรอ นของโลก การเปลี่ยนแปลงลักษณะ ลมฟา อากาศกบั การดํารงชีวติ ของมนุษย โลกในเอกภพ และดาราศาสตรกบั มนษุ ย

102 มาตรฐานการเรยี นรูŒและตวั ชว้ี ัดฯ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) สาสราะรวะิทวทิยยาาศศาาสสตตรรเ เพพิม่ ม่ิ เตเติมิม สาระชีววิทยา ๑. เขา ใจธรรมชาตขิ องสง่ิ มชี วี ติ การศกึ ษาชวี วทิ ยาและวธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร สารทเี่ ปน องคป ระกอบ ของสงิ่ มชี วี ติ ปฏกิ ริ ยิ าเคมใี นเซลลข องสง่ิ มชี วี ติ กลอ งจลุ ทรรศน โครงสรา งและหนาที่ของเซลล การลําเลียงสาร เขา และออกจากเซลล การแบงเซลล และการหายใจระดับเซลล ๒. เขาใจการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การถายทอดยีนบนโครโมโซม สมบัติและหนาท่ีของ สารพันธุกรรม การเกิดมิวเทชัน เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ หลักฐานขอมูลและแนวคิดเก่ียวกับวิวัฒนาการ ของสงิ่ มชี วี ติ ภาวะสมดลุ ของฮารด -ี ไวนเ บริ ก การเกดิ สปช สี ใ หม ความหลากหลายทางชวี ภาพ กาํ เนดิ ของสงิ่ มชี วี ิต ความหลากหลายของส่งิ มีชวี ติ และอนุกรมวิธาน รวมทงั้ นําความรไู ปใชประโยชน ๓. เขา ใจสว นประกอบของพชื การแลกเปลย่ี นแกส และคายนาํ้ ของพชื การลาํ เลยี งของพชื การสงั เคราะห ดว ยแสง การสบื พนั ธขุ องพชื ดอกและการเจรญิ เตบิ โต และการตอบสนองของพชื รวมทง้ั นาํ ความรไู ปใชป ระโยชน ๔. เขา ใจการยอ ยอาหารของสตั วแ ละมนษุ ย รวมทง้ั การหายใจและการแลกเปลย่ี นแกส การลาํ เลยี งสาร และการหมนุ เวยี นเลอื ด ภมู คิ มุ กนั ของรา งกาย การขบั ถา ย การรบั รแู ละการตอบสนอง การเคลอื่ นท่ี การสบื พันธุ และการเจรญิ เติบโต ฮอรโ มนกับการรักษาดลุ ยภาพ และพฤติกรรมของสัตว รวมทัง้ นําความรไู ปใชประโยชน ๕. เขา ใจแนวคดิ เกย่ี วกบั ระบบนเิ วศ กระบวนการถา ยทอดพลงั งานและการหมนุ เวยี นสารในระบบนเิ วศ ความหลากหลายของไบโอม การเปล่ียนแปลงแทนท่ีของส่ิงมีชีวิตในระบบนิเวศ ประชากรและรูปแบบการเพ่ิม ของประชากร ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ ม ปญ หา และผลกระทบทเ่ี กดิ จากการใชป ระโยชน และแนวทาง การแกไขปญ หา สาระเคมี ๑. เขา ใจโครงสรา งอะตอม การจดั เรยี งธาตใุ นตารางธาตุ สมบตั ขิ องธาตุ พนั ธะเคมแี ละสมบตั ขิ องสารแกส และสมบตั ขิ องแกส ประเภทและสมบตั ขิ องสารประกอบอนิ ทรยี  และพอลเิ มอร รวมทงั้ การนาํ ความรไู ปใชป ระโยชน ๒. เขา ใจการเขยี นและการดลุ สมการเคมี ปรมิ าณสมั พนั ธใ นปฏกิ ริ ยิ าเคมี อตั ราการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี สมดลุ ในปฏิกริ ิยาเคมี สมบัตแิ ละปฏิกริ ิยาของกรด-เบส ปฏิกริ ิยารดี อกซและเซลลเคมไี ฟฟา รวมท้ังการนาํ ความรไู ปใช ประโยชน ๓. เขาใจหลักการทําปฏิบัติการเคมี การวัดปริมาณสาร หนวยวัดและการเปล่ียนหนวย การคํานวณ ปริมาณของสาร ความเขมขนของสารละลาย รวมท้ังการบูรณาการความรแู ละทกั ษะในการอธบิ ายปรากฏการณ ในชวี ติ ประจาํ วนั และการแกป ญ หาทางเคมี

มาตรฐานการเรียนรŒูและตวั ชีว้ ัดฯ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 103 สาระฟสิกส ๑. เขา ใจธรรมชาตทิ างฟส กิ ส ปรมิ าณและกระบวนการวดั การเคลอื่ นทแี่ นวตรง แรงและกฎการเคลอ่ื นท่ี ของนวิ ตนั กฎความโนม ถว งสากล แรงเสยี ดทาน สมดลุ กลของวตั ถุ งานและกฎการอนรุ กั ษพ ลงั งานกล โมเมนตมั และกฎการอนรุ กั ษโ มเมนตมั การเคลือ่ นทีแ่ นวโคง รวมทงั้ นําความรูไปใชประโยชน ๒. เขาใจการเคลื่อนทแ่ี บบฮารมอนิกสอยา งงาย ธรรมชาติของคลืน่ เสยี งและการไดยิน ปรากฏการณ ทเี่ กยี่ วขอ งกบั เสยี ง แสงและการเหน็ ปรากฏการณที่เกย่ี วขอ งกับแสง รวมท้ังนําความรูไปใชป ระโยชน ๓. เขาใจแรงไฟฟาและกฎของคูลอมบ สนามไฟฟา ศักยไฟฟา ความจุไฟฟา กระแสไฟฟา และกฎ ของโอหม วงจรไฟฟากระแสตรง พลังงานไฟฟาและกําลังไฟฟา การเปลย่ี นพลงั งานทดแทนเปน พลงั งานไฟฟา สนามแมเ หลก็ แรงแมเ หลก็ ทกี่ ระทาํ กบั ประจไุ ฟฟา และกระแสไฟฟา การเหนยี่ วนาํ แมเหล็กไฟฟา และกฎของ ฟาราเดย ไฟฟากระแสสลับ คลื่นแมเหล็กไฟฟา และการส่อื สาร รวมท้ังนาํ ความรไู ปใชป ระโยชน ๔. เขาใจความสัมพันธของความรอนกับการเปล่ียนอุณหภูมิและสถานะของสสาร สภาพยืดหยุน ของวัสดุ และมอดุลัสของยัง ความดันในของไหล แรงพยุง และหลักของอารคิมีดีส ความตึงผิวและแรงหนืด ของของเหลว ของไหลอดุ มคติ และสมการแบรน ลู ลี กฎของแกส ทฤษฎจี ลนข องแกส อดุ มคตแิ ละพลงั งานในระบบ ทฤษฎอี ะตอมของโบร ปรากฏการณโ ฟโตอเิ ลก็ ทรกิ ทวภิ าวะของคลน่ื และอนภุ าค กมั มนั ตภาพรงั สี แรงนวิ เคลยี ร ปฏกิ ริ ยิ านวิ เคลียร พลงั งานนวิ เคลยี ร ฟสกิ สอ นภุ าค รวมทั้งนําความรไู ปใชประโยชน สาระโลก ดาราศาสตร และอวกาศ ๑. เขาใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก ธรณีพิบัติภัยและผลตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม รวมทง้ั การศกึ ษาลําดับช้ันหนิ ทรพั ยากรธรณี แผนท่ี และการนําไปใชป ระโยชน ๒. เขาใจสมดุลพลังงานของโลก การหมุนเวียนของอากาศบนโลก การหมุนเวียนของนาํ้ ในมหาสมุทร การเกิดเมฆ การเปลย่ี นแปลงภูมอิ ากาศโลกและผลตอ สิง่ มชี วี ิตและส่งิ แวดลอม รวมทง้ั การพยากรณอากาศ ๓. เขา ใจองคป ระกอบ ลกั ษณะ กระบวนการเกิด และววิ ัฒนาการของเอกภพ กาแลก็ ซี ดาวฤกษ และ ระบบสุริยะ ความสัมพันธของดาราศาสตรกับมนุษยจากการศึกษาตําแหนงดาวบนทรงกลมฟาและปฏิสัมพันธ ภายในระบบสรุ ิยะ รวมทั้งการประยุกตใชเ ทคโนโลยีอวกาศในการดาํ รงชวี ิต

104 มาตรฐานการเรียนรŒแู ละตวั ช้ีวดั ฯ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) คุณภาพผูเ รยี น ผเู รยี นที่เรียนครบทุกผลการเรียนรู มคี ุณภาพดงั นี้ ✧ เขาใจวิธีการทางวิทยาศาสตรในการคนหาคําตอบเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต สารที่เปนองคประกอบของ สิ่งมีชีวิต และปฏิกิริยาเคมีภายในเซลล การใชกลองจุลทรรศน โครงสรางและหนาท่ีของเซลล การลําเลียงสาร เขาและออกจากเซลล การแบงเซลล และการหายใจระดบั เซลล ✧ เขาใจหลักการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของส่ิงมีชีวิต การถายทอดยีนบนออโตโซมและ โครโมโซมเพศ โครงสรา งและองคป ระกอบทางเคมขี องดเี อน็ เอ การจาํ ลองดเี อน็ เอ กระบวนการสงั เคราะหโ ปรตนี การเกิดมิวเทชันในสิ่งมีชีวิต หลักการและการประยุกตใชเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ หลักฐานและขอมูลท่ีใชในการ ศกึ ษาววิ ฒั นาการของสง่ิ มชี วี ติ แนวคดิ เกยี่ วกบั ววิ ฒั นาการของสงิ่ มชี วี ติ เงอื่ นไขของภาวะสมดลุ ของฮารด -ี ไวนเ บริ ก กระบวนการเกิดสปชีสใหมของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ กําเนิดของสิ่งมีชีวิต ลักษณะสําคัญ ของสง่ิ มชี วี ติ กลุมแบคทีเรยี โพรทสิ ต พชื ฟงไจ และสัตว การจําแนกสิ่งมชี วี ิตออกเปนหมวดหมูและวิธีการเขยี น ชอ่ื วทิ ยาศาสตร ✧ เขาใจโครงสรางและสวนประกอบของพืชทั้งราก ลําตน และใบ การแลกเปลี่ยนแกส การคายนํ้า การลําเลียงน้ําและธาตุอาหาร การลําเลียงอาหาร การสังเคราะหดวยแสงของพืช กระบวนการสรางเซลล สืบพันธุและการปฏิสนธิของพืชดอก การเกิดผลและเมล็ด บทบาทของสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช และการประยกุ ตใช และการตอบสนองของพืช ✧ เขาใจกลไกการรักษาดุลยภาพของส่ิงมีชีวิต โครงสราง หนาที่ และกระบวนการตา ง ๆ ของสตั ว และมนษุ ย ไดแ ก การยอ ยอาหาร การแลกเปลย่ี นแกส การเคลอ่ื นท่ี การกาํ จดั ของเสยี ออกจากรา งกายของสงิ่ มชี วี ติ ระบบหมนุ เวยี นเลอื ด ระบบภมู คิ มุ กนั ในรา งกายของมนษุ ย การทาํ งานของระบบประสาทและอวัยวะรบั ความรสู กึ ระบบสบื พันธุ การปฏิสนธิ การเจริญเติบโต ฮอรโ มน และพฤตกิ รรมของสัตว ✧ เขาใจกระบวนการถายทอดพลังงานและการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศ ความหลากหลายของ ไบโอม การเปลยี่ นแปลงแทนทแี่ บบตา ง ๆ ในระบบนเิ วศ การเปลย่ี นแปลงจาํ นวนประชากรมนษุ ยใ นระดบั ทอ งถนิ่ ระดบั ประเทศ และระดับโลก แนวทางการปอ งกันและแกไขปญหาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ ม ✧ เขาใจการศึกษาโครงสรางอะตอมของนักวิทยาศาสตร การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม สมบัติ บางประการของธาตุและการจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ พันธะเคมี สมบัติของสารที่มีความสัมพันธกับพันธะเคมี กฎตาง ๆ ของแกส และสมบัติของแกส ประเภทและสมบัติของสารประกอบอินทรีย และประเภทและสมบัติ ของพอลิเมอร ✧ เขาใจการเขียนและการดุลสมการเคมี การคํานวณปริมาณสารตาง ๆ ท่ีเก่ียวของกับปฏิกิริยาเคมี อตั ราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมแี ละปจจัยทม่ี ีผลตออัตราการเกดิ ปฏิกิริยาเคมี สมดลุ ในปฏกิ ิรยิ าเคมีและปจจยั ท่ีมผี ล ตอสมดุลเคมี ทฤษฎีกรด-เบส สมบัติและปฏิกิริยาของกรด-เบส สารละลายบัฟเฟอร ปฏิกิริยารีดอกซ และ เซลลเคมไี ฟฟา

มาตรฐานการเรยี นรแŒู ละตวั ช้วี ดั ฯ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 105 ✧ เขาใจขอปฏิบัติเบ้ืองตนเก่ียวกับความปลอดภัยในการทําปฏิบัติการเคมี การเลือกใชอุปกรณหรือ เคร่ืองมือในการทําปฏิบัติการ หนวยวดั และการเปลี่ยนหนวยวัดดวยการใชแฟกเตอรเปลี่ยนหนวย การคํานวณ เกยี่ วกบั มวลอะตอม มวลโมเลกลุ และมวลสตู ร ความสมั พนั ธข องโมล จาํ นวนอนภุ าค มวล และปรมิ าตรของแกส ท่ี STP การคํานวณสูตรอยางงายและสูตรโมเลกุลของสาร ความเขมขนของสารละลาย การเตรียมสารละลาย และการบรู ณาการความรแู ละทักษะในการอธิบายปรากฏการณใ นชวี ิตประจําวันและการแกปญหาทางเคมี ✧ เขา ใจธรรมชาตขิ องฟส กิ ส กระบวนการวดั ความสมั พนั ธร ะหวา งปรมิ าณทเ่ี กย่ี วขอ งกับการเคลื่อนที่ การเคลื่อนท่ีในแนวตรง แรงลัพธ กฎการเคลื่อนที่ แรงเสียดทาน กฎความโนมถวงสากล สนามโนมถวง งาน กฎการอนุรกั ษพ ลังงานกล สมดลุ กลของวตั ถุ เครอื่ งกลอยางงา ย โมเมนตมั และการดล กฎการอนรุ ักษโ มเมนตัม การชน และการเคลอ่ื นทใ่ี นแนวโคง ✧ เขา ใจการเคลอื่ นทแี่ บบคลนื่ ปรากฏการณค ลน่ื การสะทอ น การหกั เห การเลยี้ วเบนและการแทรกสอด หลักการของฮอยเกนส การเคล่ือนที่ของคลื่นเสียง ปรากฏการณที่เก่ียวของกับเสียง ความเขมเสียงและ ระดับเสยี ง การไดยนิ ภาพที่เกิดจากกระจกเงาและเลนส ปรากฏการณท เ่ี กีย่ วของกบั แสงและการมองเห็นแสงสี ✧ เขาใจสนามไฟฟา แรงไฟฟา กฎของคลู อมบ ศักยไฟฟา ตัวเกบ็ ประจุ ตวั ตานทานและกฎของโอหม พลงั งานไฟฟา การเปลย่ี นพลงั งานทดแทนเปน พลงั งานไฟฟา เทคโนโลยดี า นพลงั งาน สนามแมเ หลก็ ความสมั พนั ธ ระหวา งสนามแมเ หล็กกับกระแสไฟฟา การเหนีย่ วนาํ แมเ หล็กไฟฟา ไฟฟา กระแสสลบั คล่นื แมเ หลก็ ไฟฟา และ ประโยชนของคลืน่ แมเหลก็ ไฟฟา ✧ เขาใจผลของความรอนตอสสาร สภาพยืดหยุน ความดันในของไหล แรงพยุง ของไหลอุดมคติ ทฤษฎจี ลนของแกส แนวคิดควอนตัมของพลงั งาน ทฤษฎีอะตอมของโบร ปรากฏการณโฟโตอเิ ลก็ ทริก ทวิภาวะ ของคลื่นและอนุภาค การสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี กัมมันตภาพ ปฏิกิริยานิวเคลียร พลังงานนิวเคลียร ความสัมพนั ธระหวางมวลและพลังงาน แรงภายในนิวเคลียส และการคนควาวจิ ยั ดานฟสิกสอนุภาค ✧ เขาใจการแบงชั้นและสมบัติของโครงสรางโลก สาเหตุ และรูปแบบการเคล่ือนท่ีของแผนธรณี ท่ีสัมพันธกับการเกิดลักษณะธรณีสัณฐานและธรณีโครงสรางแบบตาง ๆ หลักฐานทางธรณีวิทยาที่พบใน ปจจบุ นั และการลาํ ดับเหตกุ ารณทางธรณีวิทยาในอดีต สาเหตุ กระบวนการเกดิ แผน ดนิ ไหว ภเู ขาไฟระเบดิ สนึ ามิ ผลกระทบ แนวทางการเฝา ระวงั และการปฏบิ ตั ติ นใหป ลอดภยั สมบัตแิ ละการจําแนกชนดิ ของแร กระบวนการเกิด และการจําแนกชนิดหิน กระบวนการเกิดและการสํารวจแหลงปโตรเลียมและถานหิน การแปลความหมาย จากแผนทีภ่ ูมิประเทศและแผนที่ธรณวี ิทยา และการนําขอมูลทางธรณวี ิทยาไปใชป ระโยชน ✧ เขา ใจปจจยั สําคญั ท่มี ผี ลตอการรบั และปลดปลอยพลงั งานจากดวงอาทติ ย กระบวนการทที่ าํ ใหเ กดิ สมดลุ พลงั งานของโลก ผลของแรงเนอื่ งจากความแตกตา งของความกดอากาศ แรงคอริออลิส แรงสูศูนยกลางและ แรงเสยี ดทานทมี่ ตี อ การหมุนเวียนของอากาศ การหมุนเวยี นของอากาศตามเขตละตจิ ดู และผลทมี่ ตี อ ภมู อิ ากาศ ปจ จยั ทที่ าํ ใหเ กดิ การแบง ชน้ั นาํ้ และการหมนุ เวยี นของนา้ํ ในมหาสมุทร รูปแบบการหมนุ เวยี นของนํา้ ในมหาสมทุ ร และผลของการหมนุ เวยี นของนา้ํ ในมหาสมทุ รทม่ี ตี อ ลกั ษณะลมฟา อากาศ สง่ิ มชี วี ติ และสง่ิ แวดลอ ม ความสมั พนั ธ ระหวางเสถียรภาพอากาศและการเกิดเมฆ การเกิดแนวปะทะอากาศแบบตาง ๆ และลักษณะลมฟาอากาศ ที่เก่ียวของ ปจจัยตาง ๆ ที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก รวมทง้ั การแปลความหมายสญั ลกั ษณ ลมฟา อากาศ และการพยากรณล กั ษณะลมฟา อากาศเบอ้ื งตน จากแผนที่อากาศและขอ มูลสารสนเทศ

106 มาตรฐานการเรยี นรูŒและตัวช้ีวัดฯ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ✧ เขา ใจการกาํ เนดิ และการเปลย่ี นแปลงพลงั งาน สสาร ขนาดอณุ หภมู ขิ องเอกภพ หลกั ฐานทส่ี นบั สนนุ ทฤษฎีบิกแบง ประเภทของกาแล็กซี โครงสรางและองคประกอบของกาแล็กซีทางชางเผือก กระบวนการเกิด ดาวฤกษ และการสรางพลังงานของดาวฤกษ ปจจัยที่สงผลตอความสองสวางของดาวฤกษ และความสัมพันธ ระหวา งความสอ งสวา งกบั โชตมิ าตรของดาวฤกษ ความสมั พนั ธร ะหวา งสี อณุ หภมู ผิ วิ และสเปกตรมั ของดาวฤกษ วิธีการหาระยะทางของดาวฤกษดวยหลักการแพรัลแลกซ วิวัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงสมบัติบางประการ ของดาวฤกษ กระบวนการเกดิ ระบบสรุ ยิ ะ การแบง เขตบรวิ ารของดวงอาทติ ย ลกั ษณะของดาวเคราะหท เี่ ออ้ื ตอ การดํารงชีวิต การโคจรของดาวเคราะหรอบดวงอาทิตยดวยกฎเคพเลอร และกฎความโนมถวงของนิวตัน โครงสรา งของดวงอาทติ ย การเกดิ ลมสรุ ิยะ พายสุ รุ ิยะและผลทีม่ ีตอ โลก การระบพุ กิ ดั ของดาวในระบบขอบฟา และระบบศูนยส ูตร เสน ทางการขน้ึ การตกของดวงอาทิตยและดาวฤกษ เวลาสรุ ิยคติ และการเปรยี บเทยี บเวลา ของแตล ะเขตเวลาบนโลก การสํารวจอวกาศและการประยุกตใ ชเทคโนโลยีอวกาศ ✧ ระบปุ ญ หา ตง้ั คาํ ถามทจ่ี ะสาํ รวจตรวจสอบ โดยมกี ารกาํ หนดความสมั พนั ธร ะหวา ง ตวั แปรตา ง ๆ สบื คน ขอ มูลจากหลายแหลง ตัง้ สมมตฐิ านทเ่ี ปนไปไดหลายแนวทาง ตดั สนิ ใจเลือกตรวจสอบสมมติฐานทเ่ี ปน ไปได ✧ ต้ังคําถามหรือกําหนดปญหาท่ีอยูบนพ้ืนฐานของความรูและความเขาใจทางวทิ ยาศาสตร ทแี่ สดง ใหเห็นถึงการใชความคิดระดับสูงที่สามารถสํารวจตรวจสอบหรือศึกษาคนควาไดอยางครอบคลุมและเช่ือถือได สรา งสมมตฐิ านทมี่ ที ฤษฎรี องรบั หรอื คาดการณส งิ่ ทจ่ี ะพบ เพอื่ นาํ ไปสกู ารสาํ รวจตรวจสอบ ออกแบบวธิ กี ารสาํ รวจ ตรวจสอบตามสมมตฐิ านท่กี ําหนดไวไ ดอ ยา งเหมาะสม มหี ลกั ฐานเชงิ ประจักษ เลอื กวัสดุ อุปกรณ รวมทัง้ วิธีการ ในการสํารวจตรวจสอบอยางถูกตองทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ และบันทึกผลการสํารวจตรวจสอบอยาง เปน ระบบ ✧ วเิ คราะห แปลความหมายขอ มลู และประเมนิ ความสอดคลอ งของขอ สรปุ เพอื่ ตรวจสอบกบั สมมตฐิ าน ที่ต้ังไว ใหขอเสนอแนะเพ่ือปรับปรุงวิธีการสํารวจตรวจสอบ จัดกระทําขอมูลและนําเสนอขอมูลดวยเทคนิควิธี ท่ีเหมาะสม สื่อสารแนวคดิ ความรู จากผลการสํารวจตรวจสอบ โดยการพดู เขยี น จัดแสดงหรอื ใชเ ทคโนโลยี สารสนเทศ เพ่อื ใหผ ูอ ื่นเขาใจ โดยมหี ลักฐานอา งองิ หรือมีทฤษฎรี องรับ ✧ แสดงถึงความสนใจ มุงมั่น รับผิดชอบ รอบคอบ และซื่อสัตย ในการสืบเสาะหาความรู โดยใช เครื่องมือ และวิธีการที่ใหไดผลถูกตอง เชื่อถือได มีเหตุผลและยอมรับไดวาความรูทางวิทยาศาสตรอาจมี การเปล่ยี นแปลงได ✧ แสดงถงึ ความพอใจและเหน็ คณุ คา ในการคน พบความรู พบคาํ ตอบ หรอื แกป ญ หาได ทํางานรวมกบั ผูอื่นอยางสรางสรรค แสดงความคิดเห็นโดยมีขอมูลอางอิงและเหตุผลประกอบเกี่ยวกับผลของการพัฒนา และการใชวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีอยางมีคุณธรรมตอสังคมและสิ่งแวดลอม และยอมรับฟงความคิดเห็น ของผูอ น่ื ✧ เขาใจความสัมพันธของความรูวิทยาศาสตรท่ีมีผลตอการพัฒนาเทคโนโลยีประเภทตาง ๆ และ การพัฒนาเทคโนโลยีที่สงผลใหมีการคิดคนความรูทางวิทยาศาสตรที่กาวหนา ผลของเทคโนโลยีตอชีวิต สังคม และส่ิงแวดลอ ม

มาตรฐานการเรียนรŒแู ละตัวช้วี ดั ฯ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 107 ✧ ตระหนกั ถงึ ความสาํ คญั และเหน็ คณุ คา ของความรวู ทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยที ใี่ ชใ นชวี ติ ประจาํ วนั ใชค วามรแู ละกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีในการดํารงชวี ติ และการประกอบอาชพี แสดงความ ช่ืนชม ภมู ใิ จ ยกยอง อางองิ ผลงาน ช้ินงานทีเ่ ปนผลมาจากภูมปิ ญญาทอ งถ่ินและการพัฒนาเทคโนโลยีทีท่ นั สมยั ศึกษาหาความรูเพม่ิ เติม ทาํ โครงงานหรือสรา งชน้ิ งานตามความสนใจ ✧ แสดงความซาบซง้ึ หว งใย มพี ฤตกิ รรมเกย่ี วกบั การใชแ ละรกั ษาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอม อยางรูคุณคา เสนอตัวเองรวมมือปฏิบัติกับชุมชนในการปองกัน ดูแลทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ของทอ งถน่ิ

108 มาตรฐานการเรียนรแŒู ละตวั ช้ีวดั ฯ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) สาระชีววิทยา ๑. เขาใจธรรมชาติของส่ิงมีชีวิต การศึกษาชีววิทยาและวิธีการทางวิทยาศาสตร สารที่เปนองคประกอบ ของสิ่งมีชีวิต ปฏิกิริยาเคมีในเซลลของส่ิงมีชีวิต กลองจุลทรรศน โครงสรางและหนาท่ีของเซลล การลําเลียงสารเขาและออกจากเซลล การแบงเซลล และการหายใจระดับเซลล ผลการเรียนรู มัธยมศกึ ษาปที่ ๔ ๑. อธิบาย และสรปุ สมบตั ทิ ่ีสําคัญของส่ิงมชี ีวิต และความสมั พนั ธของการจดั ระบบในสง่ิ มีชวี ิตที่ทาํ ให ส่งิ มชี ีวติ ดํารงชวี ติ อยไู ด ๒. อภิปราย และบอกความสําคัญของการระบุปญหา ความสัมพันธระหวางปญหา สมมติฐาน และ วธิ กี ารตรวจสอบสมมติฐาน รวมท้งั ออกแบบการทดลองเพ่อื ตรวจสอบสมมติฐาน ๓. สบื คน ขอ มลู อธบิ ายเกยี่ วกบั สมบตั ขิ องนา้ํ และบอกความสาํ คญั ของนา้ํ ทมี่ ตี อ สง่ิ มชี วี ติ และยกตวั อยา ง ธาตุชนิดตาง ๆ ทีม่ คี วามสาํ คัญตอรา งกายสง่ิ มชี ีวติ ๔. สืบคนขอ มลู อธิบายโครงสรางของคารโ บไฮเดรต ระบุกลมุ ของคารโ บไฮเดรต รวมทงั้ ความสาํ คัญ ของคารโ บไฮเดรตทมี่ ตี อส่งิ มีชวี ติ ๕. สืบคน ขอมลู อธบิ ายโครงสรา งของโปรตีน และความสําคญั ของโปรตนี ทีม่ ีตอ ส่ิงมชี ีวิต ๖. สบื คนขอ มูล อธบิ ายโครงสรา งของลพิ ิด และความสําคญั ของลิพดิ ที่มีตอส่ิงมชี วี ติ ๗. อธบิ ายโครงสรา งของกรดนวิ คลอิ กิ และระบชุ นดิ ของกรดนวิ คลอิ กิ และความสาํ คญั ของกรดนวิ คลอิ กิ ที่มตี อสิง่ มชี วี ติ ๘. สืบคนขอ มลู และอธิบายปฏิกริ ยิ าเคมีที่เกดิ ข้ึนในสง่ิ มชี ีวิต ๙. อธบิ ายการทาํ งานของเอนไซมใ นการเรง ปฏกิ ริ ยิ าเคมใี นสงิ่ มชี วี ติ และระบปุ จ จยั ทม่ี ผี ลตอ การทาํ งาน ของเอนไซม ๑๐. บอกวิธีการ และเตรียมตัวอยางสิ่งมีชีวิตเพ่ือศึกษาภายใตกลองจุลทรรศนใชแสง วัดขนาด โดยประมาณ และวาดภาพทปี่ รากฏภายใตก ลอ ง บอกวธิ กี ารใช และการดแู ลรกั ษากลอ งจลุ ทรรศน ใชแสงที่ถูกตอ ง ๑๑. อธิบายโครงสรา งและหนาทข่ี องสว นทหี่ อ หมุ เซลลข องเซลลพชื และเซลลสตั ว ๑๒. สบื คน ขอมลู อธิบาย และระบุชนิดและหนา ท่ีของออรแกเนลล ๑๓. อธบิ ายโครงสรางและหนา ท่ขี องนิวเคลยี ส ๑๔. อธบิ าย และเปรยี บเทยี บการแพร ออสโมซสิ การแพรแบบฟาซลิ ิเทต และแอกทฟี ทรานสปอรต ๑๕. สบื คน ขอ มลู อธบิ าย และเขยี นแผนภาพการลาํ เลยี งสารโมเลกลุ ใหญอ อกจากเซลลด ว ยกระบวนการ เอกโซไซโทซสิ และการลาํ เลยี งสารโมเลกุลใหญเขา สูเซลลด วยกระบวนการเอนโดไซโทซสิ ๑๖. สังเกตการแบงนิวเคลียสแบบไมโทซิสและแบบไมโอซิส จากตัวอยางภายใตกลองจุลทรรศน พรอมทง้ั อธิบายและเปรียบเทยี บการแบง นิวเคลียสแบบไมโทซสิ และแบบไมโอซิส ๑๗. อธบิ าย เปรยี บเทยี บ และสรปุ ขน้ั ตอนการหายใจระดบั เซลลใ นภาวะทม่ี อี อกซเิ จนเพยี งพอและภาวะ ทม่ี อี อกซเิ จนไมเพียงพอ ผลการเรียนรู มัธยมศกึ ษาปที่ ๕ - ผลการเรยี นรู มธั ยมศึกษาปที่ ๖ -

มาตรฐานการเรยี นรแŒู ละตัวช้วี ดั ฯ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 109 สาระชีววิทยา ๒. เขาใจการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การถายทอดยีนบนโครโมโซม สมบัติและหนาท่ีของ สารพนั ธกุ รรม การเกดิ มวิ เทชนั เทคโนโลยที างดเี อน็ เอ หลกั ฐาน ขอ มลู และแนวคดิ เกยี่ วกบั ววิ ฒั นาการ ของส่ิงมีชีวิต ภาวะสมดุลของฮารดี-ไวนเบิรก การเกิดสปชีสใหม ความหลากหลายทางชีวภาพ กาํ เนดิ ของสง่ิ มชี วี ติ ความหลากหลายของสง่ิ มชี วี ติ และอนกุ รมวธิ าน รวมทง้ั นาํ ความรไู ปใชป ระโยชน ผลการเรยี นรู มธั ยมศึกษาปที่ ๔ ๑. สบื คน ขอมูล อธบิ าย และสรปุ ผลการทดลองของเมนเดล ๒. อธิบาย และสรุปกฎแหงการแยกและกฎแหงการรวมกลุมอยางอิสระ และนํากฎของเมนเดลน้ี ไปอธิบายการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและใชในการคํานวณโอกาสในการเกิดฟโนไทป และจโี นไทปแ บบตาง ๆ ของรุน F1 และ F2 ๓. สืบคนขอมูล วิเคราะห อธิบาย และสรุปเก่ียวกับการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมท่ีเปน สว นขยายของพันธุศาสตรเ มนเดล ๔. สบื คน ขอ มลู วเิ คราะห และเปรยี บเทยี บลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมทม่ี กี ารแปรผนั ไมต อ เนอ่ื งและลกั ษณะ ทางพนั ธกุ รรมทม่ี ีการแปรผันตอเนอ่ื ง ๕. อธิบายการถายทอดยีนบนโครโมโซม และยกตัวอยางลักษณะทางพันธุกรรมท่ีถูกควบคุมดวย ยีนบนออโตโซมและยีนบนโครโมโซมเพศ ๖. สืบคนขอมูล อธิบายสมบัติและหนาท่ีของสารพันธุกรรม โครงสรางและองคประกอบทางเคมี ของ DNA และสรปุ การจําลอง DNA ๗. อธบิ าย และระบขุ น้ั ตอนในกระบวนการสงั เคราะหโ ปรตนี และหนา ทขี่ อง DNA และ RNA แตล ะชนดิ ในกระบวนการสงั เคราะหโ ปรตนี ๘. สรุปความสัมพันธระหวางสารพันธุกรรมแอลลีล โปรตีน ลักษณะทางพันธุกรรม และเชื่อมโยงกับ ความรเู รอื่ งพนั ธุศาสตรเ มนเดล ๙. สืบคนขอมูล และอธิบายการเกิดมิวเทชันระดับยีนและระดับโครโมโซม สาเหตุการเกิดมิวเทชัน รวมทงั้ ยกตัวอยางโรคและกลุม อาการท่เี ปน ผลของการเกิดมิวเทชัน ๑๐. อธิบายหลักการสรางส่งิ มชี ีวิตดดั แปรพันธุกรรมโดยใชดีเอ็นเอรคี อมบแิ นนท ๑๑. สืบคนขอมูล ยกตัวอยาง และอภิปรายการนําเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอไปประยุกตใช ท้ังในดาน สิ่งแวดลอม นิติวิทยาศาสตร การแพทย การเกษตร และอุตสาหกรรม และขอควรคํานึงถึง ดา นชีวจริยธรรม ๑๒. สืบคนขอมูล และอธิบายเก่ียวกับหลักฐานที่สนับสนุนและขอมูลที่ใชอธิบายการเกิดวิวัฒนาการ ของส่งิ มชี ีวิต ๑๓. อธิบาย และเปรียบเทียบแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตของฌอง ลามารก และทฤษฎี เกีย่ วกบั ววิ ฒั นาการของส่งิ มีชวี ติ ของชาลส ดารวนิ ๑๔. ระบุสาระสําคัญ และอธิบายเงื่อนไขของภาวะสมดุลของฮารดี-ไวนเบิรก ปจจัยท่ีทําใหเกิดการ เปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีลในประชากร พรอมท้ังคํานวณหาความถ่ีของแอลลีลและจีโนไทป ของประชากร โดยใชหลกั ของฮารด ี-ไวนเ บิรก ๑๕. สบื คน ขอมูล อภปิ ราย และอธิบายกระบวนการเกดิ สปช สี ใหมของสิ่งมีชวี ติ

110 มาตรฐานการเรียนรูŒและตัวชี้วัดฯ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) สาระชีววทิ ยา ๒. เขาใจการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การถายทอดยีนบนโครโมโซม สมบัติและหนาที่ของ สารพนั ธกุ รรม การเกดิ มวิ เทชนั เทคโนโลยที างดเี อน็ เอ หลกั ฐาน ขอ มลู และแนวคดิ เกย่ี วกบั ววิ ฒั นาการ ของสิ่งมีชีวิต ภาวะสมดุลของฮารดี-ไวนเบิรก การเกิดสปชีสใหม ความหลากหลายทางชีวภาพ กาํ เนดิ ของสง่ิ มชี วี ติ ความหลากหลายของสง่ิ มชี วี ติ และอนกุ รมวธิ าน รวมทง้ั นาํ ความรไู ปใชป ระโยชน (ตอ) ผลการเรียนรู มัธยมศกึ ษาปที่ ๕ - ผลการเรยี นรู มธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๖ ๑. อภปิ รายความสาํ คญั ของความหลากหลายทางชวี ภาพ และความเชอื่ มโยงระหวา งความหลากหลาย ทางพนั ธกุ รรม ความหลากหลายของสปช สี  และความหลากหลายของระบบนเิ วศ ๒. อธิบายการเกิดเซลลเ ริ่มแรกของสง่ิ มชี วี ติ และววิ ัฒนาการของสิง่ มชี วี ติ เซลลเดียว ๓. อธิบายลักษณะสําคัญและยกตัวอยางส่ิงมีชีวิตกลุมแบคทีเรีย สิ่งมีชีวิตกลุมโพรทิสต สิ่งมีชีวิต กลุมพชื ส่งิ มชี ีวิตกลมุ ฟง ไจ และส่ิงมชี วี ิตกลุม สัตว ๔. อธบิ าย และยกตวั อยางการจําแนกสงิ่ มชี ีวิตจากหมวดหมใู หญจ นถึงหมวดหมยู อ ย และวิธีการเขียน ชื่อวทิ ยาศาสตรใ นลาํ ดับขั้นสปชีส ๕. สรางไดโคโทมัสคียในการระบุสิ่งมีชวี ติ หรอื ตัวอยา งทีก่ ําหนดออกเปนหมวดหมู

มาตรฐานการเรียนรแูŒ ละตวั ชีว้ ัดฯ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 111 สาระชวี วิทยา ๓. เขา ใจสว นประกอบของพชื การแลกเปลยี่ นแกส และคายนาํ้ ของพชื การลาํ เลยี งของพชื การสงั เคราะห ดวยแสง การสืบพันธุของพืชดอกและการเจริญเติบโต และการตอบสนองของพืช รวมท้ังนําความรู ไปใชป ระโยชน ผลการเรยี นรู มธั ยมศึกษาปท ่ี ๔ - ผลการเรียนรู มธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๕ ๑. อธบิ ายเก่ยี วกบั ชนดิ และลกั ษณะของเนือ้ เย่อื พืช และเขียนแผนผงั เพ่อื สรปุ ชนิดของเนือ้ เยอื่ พชื ๒. สังเกต อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสรางภายในของรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและรากพืชใบเลี้ยงคูจาก การตดั ตามขวาง ๓. สังเกต อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสรางภายในของลําตนพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและลําตนพืชใบเล้ียงคูจาก การตดั ตามขวาง ๔. สังเกต และอธบิ ายโครงสรางภายในของใบพชื จากการตดั ตามขวาง ๕. สืบคนขอมลู สังเกต และอธบิ ายการแลกเปลี่ยนแกส และการคายนํ้าของพชื ๖. สืบคน ขอ มลู และอธิบายกลไกการลําเลยี งนํ้าและธาตอุ าหารของพชื ๗. สืบคนขอมูล อธิบายความสําคัญของธาตุอาหาร และยกตัวอยางธาตุอาหารท่ีสําคัญที่มีผลตอ การเจรญิ เตบิ โตของพืช ๘. อธบิ ายกลไกการลาํ เลยี งอาหารในพืช ๙. สบื คน ขอ มลู และสรปุ การศกึ ษาทไี่ ดจ ากการทดลองของนกั วทิ ยาศาสตรใ นอดตี เกยี่ วกบั กระบวนการ สงั เคราะหดว ยแสง ๑๐. อธิบายขน้ั ตอนทีเ่ กดิ ขน้ึ ในกระบวนการสงั เคราะหดว ยแสงของพชื C3 ๑๑. เปรียบเทยี บกลไกการตรึงคารบ อนไดออกไซดใ นพชื C3 พืช C4 และ พืช CAM ๑๒. สืบคนขอมูล อภิปราย และสรุปปจจัยความเขมของแสง ความเขมขนของคารบอนไดออกไซด และอณุ หภูมิ ที่มีผลตอการสงั เคราะหดวยแสงของพืช ๑๓. อธิบายวัฏจกั รชวี ิตแบบสลับของพืชดอก ๑๔. อธบิ าย และเปรยี บเทยี บกระบวนการสรา งเซลลสืบพันธุเพศผูและเพศเมียของพชื ดอก และอธบิ าย การปฏสิ นธขิ องพืชดอก ๑๕. อธิบายการเกดิ เมล็ดและการเกดิ ผลของพชื ดอก โครงสรา งของเมลด็ และผล และยกตวั อยา งการใช ประโยชนจ ากโครงสรางตาง ๆ ของเมล็ดและผล ๑๖. ทดลอง และอธิบายเกี่ยวกับปจจัยตาง ๆ ที่มีผลตอการงอกของเมล็ด สภาพพักตัวของเมล็ด และ บอกแนวทางในการแกสภาพพักตวั ของเมล็ด ๑๗. สืบคนขอมูล อธิบายบทบาทและหนาท่ีของออกซิน ไซโทไคนิน จิบเบอเรลลิน เอทิลีน และ กรดแอบไซซิก และอภิปรายเกีย่ วกับการนําไปใชป ระโยชนทางการเกษตร ๑๘. สบื คนขอมูล ทดลอง และอภิปรายเกย่ี วกับสงิ่ เรา ภายนอกทีม่ ผี ลตอ การเจรญิ เตบิ โตของพชื ผลการเรียนรู มธั ยมศกึ ษาปที่ ๖ -

112 มาตรฐานการเรยี นรูŒและตวั ชวี้ ดั ฯ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) สาระชีววิทยา ๔. เขาใจการยอยอาหารของสัตวและมนุษย การหายใจและการแลกเปล่ียนแกส การลําเลียงสาร และการหมนุ เวียนเลอื ด ภมู ิคมุ กันของรางกาย การขับถาย การรับรแู ละการตอบสนอง การเคลอื่ นที่ การสืบพันธุและการเจริญเติบโต ฮอรโมนกับการรักษาดุลยภาพ และพฤติกรรมของสัตว รวมทั้ง นาํ ความรูไปใชป ระโยชน ผลการเรียนรู มัธยมศกึ ษาปท ่ี ๔ - ผลการเรยี นรู มธั ยมศกึ ษาปที่ ๕ ๑. สบื คน ขอ มลู อธบิ าย และเปรยี บเทยี บโครงสรา งและกระบวนการยอ ยอาหารของสตั วท ไี่ มม ที างเดนิ อาหาร สตั วที่มีทางเดนิ อาหารแบบไมส มบูรณ และสตั วท ่มี ีทางเดินอาหารแบบสมบูรณ ๒. สังเกต อธิบาย การกนิ อาหารของไฮดรา และพลานาเรยี ๓. อธิบายเกี่ยวกับโครงสราง หนาที่ และกระบวนการยอยอาหาร และการดูดซึมสารอาหารภายใน ระบบยอยอาหารของมนุษย ๔. สืบคนขอมูล อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสรางที่ทําหนาท่ีแลกเปล่ียนแกสของฟองน้ํา ไฮดรา พลานาเรีย ไสเ ดอื นดนิ แมลง ปลา กบ และนก ๕. สังเกต และอธบิ ายโครงสรางของปอดในสัตวเล้ียงลกู ดว ยน้ํานม ๖. สบื คน ขอ มลู อธบิ ายโครงสรา งทใี่ ชใ นการแลกเปลยี่ นแกส และกระบวนการแลกเปลย่ี นแกส ของมนษุ ย ๗. อธิบายการทํางานของปอด และทดลองวัดปริมาตรของอากาศในการหายใจออกของมนุษย ๘. สืบคนขอมูล อธิบาย และเปรียบเทียบระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปดและระบบหมุนเวียนเลือด แบบปด ๙. สังเกต และอธิบายทิศทางการไหลของเลือดและการเคลื่อนที่ของเซลลเม็ดเลือดในหางปลา และ สรุปความสมั พนั ธร ะหวางขนาดของหลอดเลือดกับความเร็วในการไหลของเลือด ๑๐. อธิบายโครงสรา ง และการทํางานของหวั ใจและหลอดเลือดในมนษุ ย ๑๑. สังเกต และอธิบายโครงสรางหัวใจของสัตวเล้ียงลูกดวยน้ํานม ทิศทางการไหลของเลือดผานหัวใจ ของมนษุ ย และเขยี นแผนผงั สรปุ การหมุนเวียนเลอื ดของมนุษย ๑๒. สบื คนขอมลู ระบคุ วามแตกตางของเซลลเ ม็ดเลอื ดแดง เซลลเ ม็ดเลือดขาว เพลตเลต และพลาสมา ๑๓. อธบิ ายหมูเลือด และหลักการใหและรับเลือดในระบบ ABO และระบบ Rh ๑๔. อธิบาย และสรุปเก่ียวกับสวนประกอบและหนาที่ของน้ําเหลือง รวมทั้งโครงสรางและหนาท่ีของ หลอดนาํ้ เหลอื ง และตอมนาํ้ เหลอื ง ๑๕. สืบคน ขอมูล อธบิ าย และเปรียบเทยี บกลไกการตอ ตานหรือทําลายสงิ่ แปลกปลอมแบบไมจําเพาะ และแบบจาํ เพาะ ๑๖. สืบคน ขอมลู อธิบาย และเปรยี บเทยี บการสรางภูมคิ มุ กันกอเองและภูมคิ มุ กนั รับมา

มาตรฐานการเรยี นรแูŒ ละตวั ชวี้ ดั ฯ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 113 สาระชีววทิ ยา ๔. เขาใจการยอยอาหารของสัตวและมนุษย การหายใจและการแลกเปล่ียนแกส การลําเลียงสาร และการหมุนเวยี นเลือด ภูมิคุม กันของรางกาย การขับถาย การรับรูและการตอบสนอง การเคล่ือนท่ี การสืบพันธุและการเจริญเติบโต ฮอรโมนกับการรักษาดุลยภาพ และพฤติกรรมของสัตว รวมท้ัง นาํ ความรูไ ปใชป ระโยชน (ตอ ) ผลการเรยี นรู มธั ยมศกึ ษาปที่ ๕ (ตอ ) ๑๗. สบื คน ขอ มลู และอธบิ ายเกย่ี วกบั ความผดิ ปกตขิ องระบบภมู คิ มุ กนั ทท่ี าํ ใหเ กดิ เอดส ภมู แิ พ การสรา ง ภูมติ านทานตอ เน้อื เยือ่ ตนเอง ๑๘. สืบคนขอมูล อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสรางและหนาที่ในการกําจัดของเสียออกจากรางกาย ของฟองน้าํ ไฮดรา พลานาเรยี ไสเ ดือนดนิ แมลง และสตั วมกี ระดกู สันหลัง ๑๙. อธิบายโครงสรา งและหนาที่ของไต และโครงสรา งทีใ่ ชลําเลียงปส สาวะออกจากรางกาย ๒๐. อธิบายกลไกการทํางานของหนวยไตในการกําจัดของเสียออกจากรางกาย และเขียนแผนผัง สรุปข้นั ตอนการกําจัดของเสยี ออกจากรางกายโดยหนว ยไต ๒๑. สืบคนขอมลู อธบิ าย และยกตัวอยา งเกีย่ วกบั ความผดิ ปกตขิ องไตอนั เนอ่ื งมาจากโรคตา ง ๆ ผลการเรยี นรู มัธยมศกึ ษาปท่ี ๖ ๑. สบื คน ขอ มลู อธบิ าย และเปรยี บเทยี บโครงสรา งและหนา ทข่ี องระบบประสาทของไฮดรา พลานาเรยี ไสเ ดอื นดิน กุง หอย แมลง และสตั วมกี ระดูกสันหลงั ๒. อธิบายเก่ยี วกับโครงสรางและหนา ทข่ี องเซลลป ระสาท ๓. อธิบายเกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงของศักยไฟฟาท่ีเยื่อหุมเซลลของเซลลประสาท และกลไก การถา ยทอดกระแสประสาท ๔. อธิบาย และสรปุ เก่ียวกับโครงสรางของระบบประสาทสว นกลางและระบบประสาทรอบนอก ๕. สืบคนขอมูล อธิบายโครงสราง และหนาที่ของสวนตาง ๆ ในสมองสวนหนา สมองสวนกลาง สมองสว นหลงั และไขสันหลัง ๖. สืบคนขอมูล อธิบาย เปรียบเทียบ และยกตัวอยางการทํางานของระบบประสาทโซมาติกและ ระบบประสาทอัตโนวัติ ๗. สืบคนขอ มูล อธบิ ายโครงสราง และหนาทขี่ อง ตา หู จมกู ล้ิน และผิวหนังของมนษุ ย ยกตัวอยาง โรคตา ง ๆ ท่เี กยี่ วขอ ง และบอกแนวทางในการดแู ลปองกัน และรกั ษา ๘. สังเกต และอธิบายการหาตําแหนงของจุดบอด โฟเวยี และความไวในการรับสัมผัสของผิวหนัง ๙. สบื คน ขอมูล อธิบาย และเปรยี บเทียบโครงสรางและหนา ทข่ี องอวยั วะทเี่ กี่ยวของกบั การเคลือ่ นท่ี ของแมงกะพรนุ หมึก ดาวทะเล ไสเดอื นดนิ แมลง ปลา และนก ๑๐. สบื คน ขอ มลู และอธบิ ายโครงสรา งและหนา ทขี่ องกระดกู และกลา มเนอื้ ทเ่ี กยี่ วขอ งกบั การเคลอ่ื นไหว และการเคลื่อนท่ขี องมนษุ ย ๑๑. สงั เกตและอธบิ ายการทาํ งานของขอ ตอ ชนดิ ตา ง ๆ และการทาํ งานของกลา มเนอื้ โครงรา งทเ่ี กยี่ วขอ ง กบั การเคลอ่ื นไหวและการเคลือ่ นที่ของมนุษย

114 มาตรฐานการเรยี นรูแŒ ละตัวช้ีวดั ฯ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) สาระชีววิทยา ๔. เขาใจการยอยอาหารของสัตวและมนุษย การหายใจและการแลกเปล่ียนแกส การลําเลียงสาร และการหมนุ เวียนเลอื ด ภูมคิ มุ กันของรางกาย การขับถา ย การรับรูและการตอบสนอง การเคล่ือนท่ี การสืบพันธุและการเจริญเติบโต ฮอรโมนกับการรักษาดุลยภาพ และพฤติกรรมของสัตว รวมท้ัง นาํ ความรไู ปใชป ระโยชน (ตอ ) ผลการเรียนรู มธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ตอ) ๑๒. สืบคน ขอมลู อธิบาย และยกตวั อยางการสบื พนั ธุแ บบไมอ าศัยเพศและการสบื พันธแุ บบอาศยั เพศ ในสัตว ๑๓. สืบคนขอมูล อธิบายโครงสรางและหนาที่ของอวัยวะในระบบสืบพันธุเพศชายและระบบสืบพันธุ เพศหญิง ๑๔. อธบิ ายกระบวนการสรางสเปรม กระบวนการสรางเซลลไข และการปฏสิ นธิในมนุษย ๑๕. อธิบายการเจรญิ เตบิ โตระยะเอม็ บริโอและระยะหลงั เอม็ บริโอของกบ ไก และมนษุ ย ๑๖. สืบคนขอมูล อธิบาย และเขียนแผนผังสรุปหนาที่ของฮอรโมนจากตอมไรทอและเนื้อเย่ือ ทีส่ รางฮอรโ มน ๑๗. สืบคนขอมูล อธิบาย เปรียบเทียบ และยกตัวอยางพฤติกรรมที่เปนมาแตกําเนิดและพฤติกรรม ท่ีเกดิ จากการเรยี นรขู องสัตว ๑๘. สืบคนขอมูล อธิบาย และยกตัวอยางความสัมพันธระหวางพฤติกรรมกับวิวัฒนาการของระบบ ประสาท ๑๙. สืบคนขอมูล อธบิ าย และยกตัวอยา งการสื่อสารระหวา งสตั วท ีท่ าํ ใหสตั วแสดงพฤตกิ รรม

มาตรฐานการเรียนรูŒและตวั ช้วี ดั ฯ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 115 สาระชีววิทยา ๕. เขาใจแนวคิดเกี่ยวกับระบบนิเวศ กระบวนการถายทอดพลังงานและการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศ ความหลากหลายของไบโอม การเปลี่ยนแปลงแทนท่ีของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ ประชากรและ รูปแบบการเพ่ิมของประชากร ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ปญหา และผลกระทบท่ีเกิดจาก การใชป ระโยชน และแนวทางการแกไ ขปญ หา ผลการเรยี นรู มัธยมศึกษาปท ่ี ๔ - ผลการเรยี นรู มธั ยมศึกษาปท่ี ๕ - ผลการเรียนรู มธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๖ ๑. วเิ คราะห อธบิ าย และยกตวั อยา งกระบวนการถา ยทอดพลงั งานในระบบนิเวศ ๒. อธบิ าย ยกตวั อยา งการเกดิ ไบโอแมกนฟิ เ คชนั และบอกแนวทางในการลดการเกดิ ไบโอแมกนฟิ เ คชนั ๓. สบื คน ขอ มลู และเขยี นแผนภาพเพอื่ อธบิ ายวฏั จกั รไนโตรเจน วฏั จกั รกาํ มะถนั และวฏั จกั รฟอสฟอรสั ๔. สบื คน ขอ มลู ยกตวั อยา ง และอธบิ ายลกั ษณะของไบโอมทก่ี ระจายอยตู ามเขตภมู ศิ าสตรต า ง ๆ บนโลก ๕. สืบคนขอมูล ยกตัวอยาง อธิบาย และเปรียบเทียบการเปล่ียนแปลงแทนที่แบบปฐมภูมิและ การเปลี่ยนแปลงแทนทแ่ี บบทุติยภูมิ ๖. สบื คน ขอ มลู อธบิ าย ยกตวั อยา งและสรปุ เกย่ี วกบั ลกั ษณะเฉพาะของประชากรของสง่ิ มชี วี ติ บางชนดิ ๗. สบื คน ขอมูล อธิบาย เปรียบเทยี บ และยกตัวอยา งการเพิ่มของประชากรแบบเอก็ โพเนนเชียลและ การเพม่ิ ของประชากรแบบลอจสิ ติก ๘. อธบิ าย และยกตวั อยา งปจจยั ทีค่ วบคุมการเติบโตของประชากร ๙. วเิ คราะห อภปิ ราย และสรุปปญหาการขาดแคลนนา้ํ การเกิดมลพิษทางน้าํ และผลกระทบท่มี ีตอ มนษุ ยแ ละส่งิ แวดลอ ม รวมทงั้ เสนอแนวทางการวางแผนการจัดการนํ้าและการแกไขปญหา ๑๐. วเิ คราะห อภิปราย และสรุปปญหามลพิษทางอากาศ และผลกระทบที่มตี อ มนษุ ยแ ละส่ิงแวดลอม รวมท้ังเสนอแนวทางการแกไ ขปญ หา ๑๑. วิเคราะห อภิปราย และสรุปปญหาท่ีเกิดกับทรัพยากรดิน และผลกระทบที่มีตอมนุษยและ สิ่งแวดลอม รวมทงั้ เสนอแนวทางการแกไ ขปญ หา ๑๒. วิเคราะห อภิปราย และสรุปปญหาผลกระทบที่เกิดจากการทําลายปาไม รวมท้ังเสนอแนวทาง ในการปอ งกันการทาํ ลายปา ไมแ ละการอนุรกั ษปาไม ๑๓. วิเคราะห อภิปราย และสรุปปญหาผลกระทบที่ทําใหสัตวปามีจํานวนลดลง และแนวทางในการ อนรุ กั ษส ตั วป า

116 มาตรฐานการเรยี นรูŒและตวั ช้วี ดั ฯ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) สาระเคมี ๑. เขา ใจโครงสรา งอะตอม การจดั เรยี งธาตใุ นตารางธาตุ สมบตั ขิ องธาตุ พนั ธะเคมแี ละสมบตั ขิ องสาร แกส และสมบัติของแกส ประเภทและสมบัติของสารประกอบอินทรียและพอลิเมอร รวมทั้งการนําความรู ไปใชประโยชน ผลการเรยี นรู มัธยมศกึ ษาปท ี่ ๔ ๑. สบื คน ขอ มลู สมมตฐิ าน การทดลอง หรอื ผลการทดลองทเี่ ปน ประจกั ษพ ยานในการเสนอแบบจาํ ลอง อะตอมของนักวทิ ยาศาสตร และอธิบายวิวฒั นาการของแบบจาํ ลองอะตอม ๒. เขยี นสัญลกั ษณน วิ เคลียรข องธาตุ และระบุจํานวนโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนของอะตอม จากสญั ลกั ษณน วิ เคลยี ร รวมท้ังบอกความหมายของไอโซโทป ๓. อธบิ าย และเขยี นการจดั เรยี งอเิ ลก็ ตรอนในระดบั พลงั งานหลกั และระดบั พลงั งานยอ ยเมอื่ ทราบเลข อะตอมของธาตุ ๔. ระบุหมู คาบ ความเปนโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ ของธาตุเรพรเี ซนเททีฟ และธาตแุ ทรนซชิ ันใน ตารางธาตุ ๕. วิเคราะห และบอกแนวโนม สมบตั ิของธาตเุ รพรเี ซนเททฟี ตามหมูและตามคาบ ๖. บอกสมบัติของธาตโุ ลหะแทรนซชิ นั และเปรยี บเทยี บสมบตั ิกับธาตุโลหะในกลุม ธาตเุ รพรีเซนเททีฟ ๗. อธิบายสมบตั ิ และคาํ นวณครึง่ ชวี ิตของไอโซโทปกัมมันตรงั สี ๘. สบื คน ขอ มลู และยกตวั อยา งการนาํ ธาตมุ าใชป ระโยชน รวมทงั้ ผลกระทบตอ สงิ่ มชี วี ติ และสง่ิ แวดลอ ม ๙. อธบิ ายการเกดิ ไอออนและการเกดิ พนั ธะไอออนกิ โดยใชแ ผนภาพหรอื สญั ลกั ษณแ บบจดุ ของลวิ อสิ ๑๐. เขียนสตู ร และเรียกชอ่ื สารประกอบไอออนิก ๑๑. คาํ นวณพลงั งานที่เก่ียวขอ งกับปฏกิ ิริยาการเกิดสารประกอบไอออนิกจากวัฏจกั รบอรน -ฮาเบอร ๑๒. อธิบายสมบัติของสารประกอบไอออนกิ ๑๓. เขยี นสมการไอออนิกและสมการไอออนิกสุทธขิ องปฏกิ ริ ยิ าของสารประกอบไอออนกิ ๑๔. อธบิ ายการเกิดพนั ธะโคเวเลนตแบบพันธะเด่ียว พนั ธะคู และพนั ธะสาม ดว ยโครงสรา งลวิ อิส ๑๕. เขียนสตู ร และเรยี กช่อื สารโคเวเลนต ๑๖. วิเคราะห และเปรียบเทียบความยาวพันธะ และพลังงานพันธะในสารโคเวเลนต รวมทั้งคํานวณ พลังงานทเ่ี ก่ียวของกับปฏิกิรยิ าของสารโคเวเลนตจากพลังงานพนั ธะ ๑๗. คาดคะเนรปู รา งโมเลกลุ โคเวเลนตโ ดยใชท ฤษฎกี ารผลกั ระหวา งคอู เิ ลก็ ตรอนในวงเวเลนซ และระบุ สภาพขัว้ ของโมเลกุลโคเวเลนต ๑๘. ระบุชนิดของแรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุลโคเวเลนต และเปรียบเทียบจุดหลอมเหลว จุดเดือด และการละลายนํา้ ของสารโคเวเลนต ๑๙. สบื คน ขอมูล และอธบิ ายสมบัติของสารโคเวเลนตโครงรางตาขายชนดิ ตาง ๆ ๒๐. อธบิ ายการเกิดพนั ธะโลหะและสมบตั ขิ องโลหะ ๒๑. เปรียบเทียบสมบัติบางประการของสารประกอบไอออนิก สารโคเวเลนต และโลหะ สืบคนขอมูล และนาํ เสนอตวั อยา งการใชป ระโยชนของสารประกอบไอออนกิ สารโคเวเลนต และโลหะ ไดอ ยา ง เหมาะสม

มาตรฐานการเรยี นรแŒู ละตวั ชีว้ ดั ฯ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 117 สาระเคมี ๑. เขา ใจโครงสรา งอะตอม การจดั เรยี งธาตใุ นตารางธาตุ สมบตั ขิ องธาตุ พนั ธะเคมแี ละสมบตั ขิ องสาร แกส และสมบัติของแกส ประเภทและสมบัติของสารประกอบอินทรียและพอลิเมอร รวมทั้งการนําความรู ไปใชป ระโยชน (ตอ) ผลการเรยี นรู มธั ยมศึกษาปท ่ี ๕ ๑. อธบิ ายความสัมพันธ และคาํ นวณปรมิ าตร ความดนั หรอื อุณหภูมิของแกส ทีภ่ าวะตาง ๆ ตามกฎ ของบอยล กฎของชารล กฎของเกย-ลสู แซก ๒. คํานวณปริมาตร ความดนั หรอื อณุ หภมู ขิ องแกส ท่ีภาวะตาง ๆ ตามกฎรวมแกส ๓. คาํ นวณปรมิ าตร ความดนั อณุ หภมู ิ จาํ นวนโมล หรือมวลของแกส จากความสมั พนั ธตามกฎของ อาโวกาโดร และกฎแกส อดุ มคติ ๔. คาํ นวณความดันยอยหรือจํานวนโมลของแกสในแกสผสม โดยใชกฎความดันยอยของดอลตนั ๕. อธบิ ายการแพรข องแกส โดยใชท ฤษฎจี ลนข องแกส คาํ นวณและเปรยี บเทยี บอตั ราการแพรข องแกส โดยใชกฎการแพรผานของเกรแฮม ๖. สบื คนขอ มลู นาํ เสนอตวั อยา ง และอธิบายการประยกุ ตใ ชความรูเกี่ยวกบั สมบัตแิ ละกฎตาง ๆ ของ แกส ในการอธบิ ายปรากฏการณ หรือแกป ญ หาในชวี ิตประจาํ วนั และในอตุ สาหกรรม ผลการเรยี นรู มธั ยมศกึ ษาปท่ี ๖ ๑. สืบคนขอมูล และนําเสนอตัวอยางสารประกอบอินทรียที่มีพันธะเดี่ยว พันธะคู หรือพันธะสาม ทพี่ บในชีวติ ประจาํ วนั ๒. เขยี นสตู รโครงสรา งลวิ อสิ สตู รโครงสรา งแบบยอ และสตู รโครงสรา งแบบเสน ของสารประกอบอนิ ทรยี  ๓. วเิ คราะหโ ครงสรา ง และระบปุ ระเภทของสารประกอบอนิ ทรียจากหมูฟงกช ัน ๔. เขียนสตู รโครงสรา ง และเรยี กช่อื สารประกอบอนิ ทรยี ประเภทตาง ๆ ทมี่ หี มูฟงกช ันไมเ กนิ ๑ หมู ตามระบบ IUPAC ๕. เขียนไอโซเมอรโ ครงสรา งของสารประกอบอนิ ทรียประเภทตา ง ๆ ๖. วิเคราะห และเปรียบเทียบจุดเดือดและการละลายในน้ําของสารประกอบอินทรียที่มีหมูฟงกชัน ขนาดโมเลกุล หรือโครงสรา งตา งกนั ๗. ระบปุ ระเภทของสารประกอบไฮโดรคารบ อนและเขยี นผลติ ภณั ฑจ ากปฏกิ ริ ยิ าการเผาไหม ปฏกิ ริ ยิ า กบั โบรมีน หรอื ปฏกิ ิริยากับโพแทสเซียมเปอรแ มงกาเนต ๘. เขียนสมการเคมี และอธิบายการเกิดปฏิกิริยาเอสเทอริฟเคชัน ปฏิกิริยาการสังเคราะหเอไมด ปฏกิ ริ ยิ าไฮโดรลิซสิ และปฏกิ ิรยิ าสะปอนนิฟเ คชัน ๙. ทดสอบปฏกิ ริ ยิ าเอสเทอริฟเคชนั ปฏกิ ริ ยิ าไฮโดรลิซสิ และปฏกิ ริ ยิ าสะปอนนฟิ เคชนั ๑๐. สืบคนขอมูล และนําเสนอตัวอยางการนําสารประกอบอินทรียไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน และอุตสาหกรรม ๑๑. ระบปุ ระเภทของปฏิกิรยิ าการเกิดพอลเิ มอรจ ากโครงสรา งของมอนอเมอรห รอื พอลิเมอร ๑๒. วเิ คราะห และอธบิ ายความสมั พันธระหวางโครงสรา งและสมบัติของพอลิเมอร รวมทง้ั การนําไปใช ประโยชน ๑๓. ทดสอบ และระบุประเภทของพลาสตกิ และผลิตภัณฑย าง รวมท้งั การนําไปใชป ระโยชน ๑๔. อธิบายผลของการปรบั เปลยี่ นโครงสรา ง และการสงั เคราะหพอลเิ มอรท ่มี ีตอ สมบตั ิของพอลิเมอร ๑๕. สืบคนขอมูล และนําเสนอตัวอยางผลกระทบจากการใชและการกําจัดผลิตภัณฑพอลิเมอรและ แนวทางแกไ ข

118 มาตรฐานการเรียนรแŒู ละตวั ชีว้ ัดฯ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) สาระเคมี ๒. เขา ใจการเขยี นและการดลุ สมการเคมี ปรมิ าณสมั พนั ธใ นปฏกิ ริ ยิ าเคมี อตั ราการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี สมดลุ ในปฏกิ ริ ยิ าเคมี สมบตั แิ ละปฏกิ ริ ยิ าของกรด-เบส ปฏกิ ริ ยิ ารดี อกซแ ละเซลลเ คมไี ฟฟา รวมทง้ั การนาํ ความรู ไปใชประโยชน ผลการเรียนรู มธั ยมศึกษาปท ี่ ๔ ๑. แปลความหมายสญั ลักษณใ นสมการเคมี เขยี นและดลุ สมการเคมขี องปฏิกริ ิยาเคมบี างชนดิ ๒. คํานวณปริมาณของสารในปฏกิ ิริยาเคมีท่เี กี่ยวขอ งกบั มวลสาร ๓. คํานวณปริมาณของสารในปฏกิ ิริยาเคมีท่เี กย่ี วของกบั ความเขมขนของสารละลาย ๔. คํานวณปริมาณของสารในปฏกิ ริ ยิ าเคมที ่ีเก่ยี วของกบั ปริมาตรแกส ๕. คํานวณปริมาณของสารในปฏกิ ริ ิยาเคมหี ลายข้นั ตอน ๖. ระบุสารกําหนดปริมาณ และคํานวณปรมิ าณสารตา ง ๆ ในปฏิกิริยาเคมี ๗. คํานวณผลไดรอ ยละของผลิตภัณฑในปฏิกิรยิ าเคมี ผลการเรียนรู มธั ยมศึกษาปที่ ๕ ๑. ทดลอง และเขยี นกราฟการเพิม่ ขน้ึ หรือลดลงของสารทท่ี าํ การวัดในปฏกิ ิริยา ๒. คาํ นวณอตั ราการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี และเขยี นกราฟการลดลงหรอื เพม่ิ ขน้ึ ของสารทไ่ี มไ ดว ดั ในปฏกิ ริ ยิ า ๓. เขียนแผนภาพ และอธิบายทิศทางการชนกันของอนุภาคและพลังงานท่ีสงผลตออัตราการเกิด ปฏิกิรยิ าเคมี ๔. ทดลอง และอธบิ ายผลของความเขม ขน พื้นทีผ่ วิ ของสารตง้ั ตน อณุ หภมู ิ และตัวเรง ปฏกิ ิริยาท่มี ีตอ อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ๕. เปรียบเทียบอัตราการเกิดปฏิกิริยาเม่ือมีการเปล่ียนแปลงความเขมขน พ้ืนท่ีผิวของสารตั้งตน อณุ หภูมิ และตัวเรง ปฏิกริ ยิ า ๖. ยกตวั อยา ง และอธบิ ายปจ จยั ทมี่ ผี ลตอ อตั ราการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมใี นชวี ติ ประจาํ วนั หรอื อตุ สาหกรรม ๗. ทดสอบ และอธิบายความหมายของปฏกิ ิริยาผันกลับไดแ ละภาวะสมดลุ ๘. อธิบายการเปลีย่ นแปลงความเขม ขนของสาร อตั ราการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาไปขางหนา และอตั ราการเกิด ปฏกิ ิรยิ ายอนกลบั เมอ่ื เริม่ ปฏกิ ริ ยิ าจนกระทั่งระบบอยูในภาวะสมดุล ๙. คํานวณคา คงทส่ี มดุลของปฏกิ ิริยา ๑๐. คํานวณความเขมขนของสารท่ีภาวะสมดุล ๑๑. คาํ นวณคาคงท่ีสมดุลหรือความเขม ขน ของปฏิกริ ยิ าหลายขั้นตอน ๑๒. ระบปุ จ จยั ทม่ี ผี ลตอ ภาวะสมดลุ และคา คงทสี่ มดลุ ของระบบ รวมทง้ั คาดคะเนการเปลยี่ นแปลงทเ่ี กดิ ขนึ้ เมอ่ื ภาวะสมดลุ ของระบบถูกรบกวนโดยใชห ลกั ของเลอชาเตอลเิ อ ๑๓. ยกตวั อยาง และอธิบายสมดลุ เคมขี องกระบวนการท่ีเกดิ ข้นึ ในส่งิ มีชีวติ ปรากฏการณใ นธรรมชาติ และกระบวนการในอตุ สาหกรรม ๑๔. ระบุ และอธิบายวาสารเปนกรดหรือเบส โดยใชทฤษฎีกรด-เบสของอารเรเนียสเบรินสเตด-ลาวรี และลิวอิส

มาตรฐานการเรยี นรŒูและตัวชี้วดั ฯ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 119 สาระเคมี ๒. เขา ใจการเขยี นและการดลุ สมการเคมี ปรมิ าณสมั พนั ธใ นปฏกิ ริ ยิ าเคมี อตั ราการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี สมดลุ ในปฏกิ ริ ยิ าเคมี สมบตั แิ ละปฏกิ ริ ยิ าของกรด-เบส ปฏกิ ริ ยิ ารดี อกซแ ละเซลลเ คมไี ฟฟา รวมทงั้ การนาํ ความรู ไปใชประโยชน (ตอ ) ผลการเรยี นรู มัธยมศกึ ษาปท่ี ๕ (ตอ ) ๑๕. ระบุคูกรด-เบสของสารตามทฤษฎกี รด-เบสของเบรินสเตด-ลาวรี ๑๖. คํานวณ และเปรียบเทียบความสามารถในการแตกตัวหรือความแรงของกรดและเบส ๑๗. คํานวณคา pH ความเขมขนของไฮโดรเนียมไอออนหรือไฮดรอกไซดไอออนของสารละลายกรด และเบส ๑๘. เขยี นสมการเคมแี สดงปฏิกริ ิยาสะเทนิ และระบคุ วามเปน กรด-เบสของสารละลายหลังการสะเทิน ๑๙. เขยี นปฏกิ ิริยาไฮโดรลิซิสของเกลือ และระบคุ วามเปนกรด-เบสของสารละลายเกลอื ๒๐. ทดลอง และอธิบายหลักการการไทเทรต และเลือกใชอินดิเคเตอรที่เหมาะสมสําหรับการไทเทรต กรด-เบส ๒๑. คํานวณปริมาณสารหรือความเขม ขนของสารละลายกรดหรอื เบสจากการไทเทรต ๒๒. อธบิ ายสมบัติ องคป ระกอบ และประโยชนข องสารละลายบฟั เฟอร ๒๓. สบื คน ขอ มลู และนาํ เสนอตวั อยา งการใชป ระโยชนแ ละการแกป ญ หาโดยใชค วามรเู กย่ี วกบั กรด-เบส ๒๔. คํานวณเลขออกซเิ ดชนั และระบุปฏิกริ ิยาท่ีเปน ปฏิกิรยิ ารดี อกซ ๒๕. วิเคราะหการเปล่ียนแปลงเลขออกซิเดชัน และระบุตัวรีดิวซและตัวออกซิไดส รวมท้ังเขียน ครง่ึ ปฏกิ ริ ิยาออกซเิ ดชนั และครง่ึ ปฏกิ ริ ยิ ารดี กั ชันของปฏิกริ ิยารีดอกซ ๒๖. ทดลอง และเปรยี บเทยี บความสามารถในการเปน ตวั รดี วิ ซห รอื ตวั ออกซไิ ดส และเขยี นแสดงปฏกิ ริ ยิ า รดี อกซ ๒๗. ดลุ สมการรดี อกซด วยการใชเ ลขออกซิเดชัน และวธิ ีครึ่งปฏิกริ ิยา ๒๘. ระบอุ งคป ระกอบของเซลลเ คมไี ฟฟา และเขยี นสมการเคมขี องปฏกิ ริ ยิ าทแี่ อโนดและแคโทด ปฏกิ ริ ยิ ารวม และแผนภาพเซลล ๒๙. คาํ นวณคา ศกั ยไ ฟฟา มาตรฐานของเซลล และระบปุ ระเภทของเซลลเ คมไี ฟฟา ขว้ั ไฟฟา และปฏกิ ริ ยิ าเคมี ท่ีเกิดขน้ึ ๓๐. อธิบายหลกั การทาํ งาน และเขยี นสมการแสดงปฏกิ ริ ิยาของเซลลปฐมภมู แิ ละเซลลท ตุ ยิ ภูมิ ๓๑. ทดลองชุบโลหะและแยกสารเคมีดวยกระแสไฟฟา และอธิบายหลักการทางเคมีไฟฟาที่ใชในการ ชุบโลหะ การแยกสารเคมีดวยกระแสไฟฟา การทําโลหะใหบริสุทธ์ิ และการปองกันการกัดกรอน ของโลหะ ๓๒. สืบคนขอมูล และนําเสนอตัวอยางความกาวหนาทางเทคโนโลยีที่เก่ียวของกับเซลลเคมีไฟฟา ในชวี ติ ประจาํ วัน ผลการเรยี นรู มธั ยมศึกษาปที่ ๖ -

120 มาตรฐานการเรียนรแูŒ ละตวั ชว้ี ดั ฯ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) สาระเคมี ๓. เขา ใจหลกั การทาํ ปฏบิ ตั กิ ารเคมี การวดั ปรมิ าณสาร หนว ยวดั และการเปลย่ี นหนว ย การคาํ นวณปรมิ าณ ของสาร ความเขม ขน ของสารละลาย รวมทงั้ การบรู ณาการความรแู ละทกั ษะในการอธบิ ายปรากฏการณ ในชีวิตประจาํ วัน และการแกปญหาทางเคมี ผลการเรยี นรู มัธยมศึกษาปที่ ๔ ๑. บอก และอธบิ ายขอ ปฏบิ ตั เิ บอื้ งตน และปฏบิ ตั ติ นทแ่ี สดงถงึ ความตระหนกั ในการทาํ ปฏบิ ตั กิ ารเคมี เพอื่ ใหมีความปลอดภยั ท้งั ตอตนเอง ผอู ื่นและสง่ิ แวดลอม และเสนอแนวทางแกไขเมอื่ เกดิ อุบัติเหตุ ๒. เลอื ก และใชอ ปุ กรณห รอื เครื่องมือในการทาํ ปฏบิ ตั กิ าร และวดั ปรมิ าณตา ง ๆ ไดอยางเหมาะสม ๓. นําเสนอแผนการทดลอง ทดลองและเขยี นรายงานการทดลอง ๔. ระบุหนวยวัดปริมาณตาง ๆ ของสาร และเปลี่ยนหนวยวัดใหเปนหนวยในระบบเอสไอดวยการใช แฟกเตอรเปล่ียนหนวย ๕. บอกความหมายของมวลอะตอมของธาตุ และคาํ นวณมวลอะตอมเฉลยี่ ของธาตุ มวลโมเลกุล และ มวลสูตร ๖. อธิบาย และคํานวณปริมาณใดปริมาณหนึ่งจากความสัมพันธของโมล จํานวนอนุภาค มวล และ ปรมิ าตรของแกส ท่ี STP ๗. คาํ นวณอัตราสวนโดยมวลของธาตอุ งคป ระกอบของสารประกอบตามกฎสดั สวนคงท่ี ๘. คาํ นวณสูตรอยา งงายและสตู รโมเลกุลของสาร ๙. คาํ นวณความเขม ขนของสารละลายในหนว ยตา ง ๆ ๑๐. อธบิ ายวธิ กี าร และเตรยี มสารละลายใหม คี วามเขม ขน ในหนว ยโมลารติ ี และปรมิ าตรสารละลายตาม ท่ีกําหนด ๑๑. เปรียบเทียบจุดเดือดและจุดเยือกแข็งของสารละลายกับสารบริสุทธ์ิ รวมท้ังคํานวณจุดเดือดและ จุดเยอื กแข็งของสารละลาย ผลการเรียนรู มธั ยมศึกษาปท ี่ ๕ - ผลการเรยี นรู มธั ยมศึกษาปท ี่ ๖ ๑. กําหนดปญหา และนําเสนอแนวทางการแกปญหาโดยใชความรูทางเคมีจากสถานการณที่เกิดข้ึน ในชีวิตประจาํ วัน การประกอบอาชีพ หรอื อุตสาหกรรม ๒. แสดงหลกั ฐานถึงการบรู ณาการความรูทางเคมีรว มกับสาขาวชิ าอื่น รวมทง้ั ทกั ษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตรหรือกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม โดยเนนการคิดวิเคราะห การแกปญหาและ ความคดิ สรา งสรรค เพอื่ แกป ญ หาในสถานการณหรอื ประเดน็ ทส่ี นใจ ๓. นาํ เสนอผลงานหรอื ชนิ้ งานทไ่ี ดจ ากการแกป ญ หาในสถานการณห รอื ประเดน็ ทสี่ นใจโดยใชเ ทคโนโลยี สารสนเทศ ๔. แสดงหลกั ฐานการเขา รว มการสมั มนา การเขา รว มประชมุ วชิ าการ หรอื การแสดงผลงานสง่ิ ประดษิ ฐ ในงานนิทรรศการ

มาตรฐานการเรียนรูŒและตวั ชว้ี ดั ฯ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 121 สาระฟสกิ ส ๑. เขาใจธรรมชาติทางฟส กิ ส ปริมาณและกระบวนการวัด การเคลอื่ นท่ีแนวตรง แรงและกฎการเคล่ือนที่ ของนวิ ตนั กฎความโนม ถว งสากล แรงเสยี ดทาน สมดลุ กลของวตั ถุ งานและกฎการอนรุ กั ษพ ลงั งานกล โมเมนตมั และกฎการอนุรักษโมเมนตัม การเคล่ือนท่ีแนวโคง รวมทง้ั นําความรูไปใชประโยชน ผลการเรียนรู มธั ยมศึกษาปท ี่ ๔ ๑. สืบคน และอธบิ ายการคนหาความรูทางฟส ิกส ประวตั คิ วามเปน มา รวมทั้งพัฒนาการของหลักการ และแนวคดิ ทางฟส กิ สที่มีผลตอการแสวงหาความรูใหมแ ละการพฒั นาเทคโนโลยี ๒. วดั และรายงานผลการวดั ปรมิ าณทางฟส กิ สไ ดถ กู ตอ งเหมาะสม โดยนาํ ความคลาดเคลอื่ นในการวดั มาพิจารณาในการนําเสนอผล รวมทั้งแสดงผลการทดลองในรูปของกราฟ วิเคราะหและ แปลความหมายจากกราฟเสนตรง ๓. ทดลอง และอธิบายความสัมพันธระหวางตําแหนง การกระจัด ความเร็ว และความเรงของ การเคลอื่ นทข่ี องวตั ถใุ นแนวตรงทมี่ คี วามเรง คงตวั จากกราฟและสมการ รวมทงั้ ทดลองหาคา ความเรง โนม ถว งของโลก และคํานวณปรมิ าณตา ง ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ ง ๔. ทดลอง และอธบิ ายการหาแรงลพั ธของแรงสองแรงท่ีทาํ มุมตอกัน ๕. เขียนแผนภาพของแรงที่กระทําตอวัตถุอิสระ ทดลอง และอธิบายกฎการเคล่ือนท่ีของนิวตันและ การใชกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันกับสภาพการเคล่ือนท่ีของวัตถุ รวมท้ังคํานวณปริมาณตาง ๆ ที่ เกีย่ วของ ๖. อธบิ ายกฎความโนม ถว งสากลและผลของสนามโนม ถว งทท่ี าํ ใหว ตั ถมุ นี าํ้ หนกั รวมทง้ั คาํ นวณปรมิ าณ ตา ง ๆ ทเี่ ก่ยี วของ ๗. วเิ คราะห อธบิ าย และคาํ นวณแรงเสยี ดทานระหวา งผวิ สมั ผสั ของวตั ถคุ หู นงึ่ ๆ ในกรณที ว่ี ตั ถหุ ยดุ นงิ่ และวัตถุเคล่ือนที่ รวมทั้งทดลองหาสัมประสิทธ์ิความเสียดทานระหวางผิวสัมผัสของวัตถุคูหน่ึง ๆ และนําความรเู รือ่ งแรงเสียดทานไปใชในชวี ิตประจาํ วัน ๘. อธบิ ายสมดลุ กลของวตั ถุ โมเมนตแ ละผลรวมของโมเมนตท มี่ ตี อ การหมนุ แรงคคู วบและผลของแรงคคู วบ ท่ีมีตอสมดุลของวัตถุ เขียนแผนภาพของแรงที่กระทําตอวัตถุอิสระเมื่อวัตถุอยูในสมดุลกล และ คํานวณปรมิ าณตาง ๆ ทีเ่ กย่ี วขอ ง รวมท้งั ทดลองและอธบิ ายสมดุลของแรงสามแรง ๙. สังเกต และอธิบายสภาพการเคลื่อนทีข่ องวตั ถุ เมือ่ แรงท่กี ระทําตอวตั ถุผา นศูนยกลางมวลของวตั ถุ และผลของศนู ยถว งท่มี ตี อเสถยี รภาพของวัตถุ ๑๐. วิเคราะห และคํานวณงานของแรงคงตวั จากสมการและพืน้ ทใ่ี ตก ราฟความสมั พันธร ะหวา งแรงกบั ตาํ แหนง รวมทงั้ อธบิ าย และคํานวณกําลังเฉลย่ี ๑๑. อธิบาย และคํานวณพลังงานจลน พลังงานศักย พลังงานกล ทดลองหาความสัมพันธระหวาง งานกับพลังงานจลน ความสัมพันธระหวางงานกับพลังงานศักยโนมถวง ความสัมพันธระหวาง ขนาดของแรงที่ใชดึงสปริงกับระยะท่ีสปริงยืดออกและความสัมพันธระหวางงานกับพลังงานศักย ยืดหยุน รวมทั้งอธิบายความสัมพันธระหวางงานของแรงลัพธและพลังงานจลน และคํานวณงาน ท่ีเกิดขน้ึ จากแรงลัพธ ๑๒. อธิบายกฎการอนุรักษพลังงานกล รวมทั้งวิเคราะห และคํานวณปริมาณตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของกับ การเคลือ่ นทขี่ องวัตถใุ นสถานการณต า ง ๆ โดยใชกฎการอนุรกั ษพ ลังงานกล

122 มาตรฐานการเรียนรแูŒ ละตัวชี้วดั ฯ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) สาระฟส กิ ส ๑. เขา ใจธรรมชาตทิ างฟสกิ ส ปริมาณและกระบวนการวัด การเคลือ่ นทแ่ี นวตรง แรงและกฎการเคล่ือนที่ ของนวิ ตนั กฎความโนม ถว งสากล แรงเสยี ดทาน สมดลุ กลของวตั ถุ งานและกฎการอนรุ กั ษพ ลงั งานกล โมเมนตมั และกฎการอนรุ ักษโมเมนตัม การเคล่ือนท่แี นวโคง รวมทง้ั นาํ ความรูไปใชป ระโยชน (ตอ ) ผลการเรียนรู มธั ยมศึกษาปท่ี ๔ (ตอ ) ๑๓. อธิบายการทํางาน ประสิทธิภาพและการไดเปรียบเชิงกลของเคร่ืองกลอยางงายบางชนิด โดยใช ความรเู รอื่ งงานและสมดุลกล รวมทัง้ คํานวณประสิทธภิ าพและการไดเปรียบเชิงกล ๑๔. อธิบาย และคํานวณโมเมนตัมของวัตถุ และการดลจากสมการและพ้ืนท่ีใตกราฟความสัมพันธ ระหวางแรงลัพธกบั เวลา รวมท้งั อธิบายความสัมพันธระหวา งแรงดลกบั โมเมนตมั ๑๕. ทดลอง อธิบาย และคํานวณปริมาณตาง ๆ ที่เก่ียวกับการชนของวัตถุในหน่ึงมิติท้ังแบบยืดหยุน ไมย ดื หยุน และการดดี ตวั แยกจากกนั ในหนึง่ มติ ิ ซึง่ เปน ไปตามกฎการอนุรักษโ มเมนตัม ๑๖. อธบิ าย วเิ คราะห และคาํ นวณปรมิ าณตา ง ๆ ทเี่ กยี่ วขอ งกบั การเคลอื่ นทแี่ บบโพรเจกไทล และทดลอง การเคลอื่ นท่ีแบบโพรเจกไทล ๑๗. ทดลอง และอธิบายความสัมพันธระหวางแรงสูศูนยกลาง รัศมีของการเคลื่อนท่ี อัตราเร็วเชิงเสน อัตราเร็วเชิงมุม และมวลของวัตถุในการเคล่ือนที่แบบวงกลมในระนาบระดับ รวมทั้งคํานวณ ปริมาณตา ง ๆ ทเ่ี ก่ียวขอ ง และประยุกตใชความรกู ารเคลอ่ื นที่แบบวงกลมในการอธบิ ายการโคจร ของดาวเทียม ผลการเรยี นรู มธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๕ - ผลการเรยี นรู มธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๖ -

มาตรฐานการเรียนรแŒู ละตวั ชีว้ ัดฯ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 123 สาระฟสกิ ส ๒. เขาใจการเคลื่อนท่ีแบบฮารมอนิกอยางงาย ธรรมชาติของคล่ืน เสียงและการไดยิน ปรากฏการณ ท่เี ก่ียวขอ งกับเสยี ง แสงและการเหน็ ปรากฏการณท ี่เก่ยี วของกับแสง รวมทั้งนาํ ความรูไปใชป ระโยชน ผลการเรียนรู มัธยมศกึ ษาปท ่ี ๔ - ผลการเรยี นรู มธั ยมศึกษาปท่ี ๕ ๑. ทดลอง และอธบิ ายการเคลอ่ื นทแี่ บบฮารม อนกิ อยา งงา ยของวตั ถตุ ดิ ปลายสปรงิ และลกู ตมุ อยา งงา ย รวมท้ังคํานวณปริมาณตา ง ๆ ทเ่ี กีย่ วของ ๒. อธบิ ายความถธ่ี รรมชาติของวัตถุและการเกิดการส่ันพอง ๓. อธิบายปรากฏการณค ลื่น ชนดิ ของคลื่น สว นประกอบของคล่นื การแผข องหนา คลื่นดว ยหลกั การ ของฮอยเกนส และการรวมกนั ของคลน่ื ตามหลกั การซอ นทบั พรอ มทง้ั คาํ นวณอตั ราเรว็ ความถ่ี และ ความยาวคลื่น ๔. สังเกต และอธบิ ายการสะทอน การหกั เห การแทรกสอด และการเลีย้ วเบนของคลน่ื ผิวนาํ้ รวมท้งั คํานวณปริมาณตาง ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ ง ๕. อธบิ ายการเกิดเสียง การเคลื่อนทีข่ องเสยี ง ความสมั พนั ธระหวางคล่ืน การกระจดั ของอนุภาคกับ คลื่นความดัน ความสัมพันธระหวางอัตราเร็วของเสียงในอากาศท่ีข้ึนกับอุณหภูมิในหนวยองศา เซลเซยี ส สมบตั ขิ องคลื่นเสียง ไดแก การสะทอ น การหักเห การแทรกสอด การเลี้ยวเบน รวมท้ัง คํานวณปรมิ าณตา ง ๆ ที่เกย่ี วของ ๖. อธิบายความเขมเสียง ระดับเสียง องคประกอบของการไดยิน คุณภาพเสียง และมลพิษทางเสียง รวมทงั้ คาํ นวณปริมาณตาง ๆ ท่ีเก่ยี วขอ ง ๗. ทดลอง และอธิบายการเกิดการส่ันพองของอากาศในทอปลายเปดหน่ึงดาน รวมท้ังสังเกต และ อธิบายการเกิดบีต คลนื่ นิง่ ปรากฏการณดอปเพลอร คล่ืนกระแทกของเสยี ง คํานวณปรมิ าณตาง ๆ ท่เี ก่ียวของ และนําความรูเรือ่ งเสยี งไปใชในชีวิตประจาํ วัน ๘. ทดลอง และอธบิ ายการแทรกสอดของแสงผานสลิตคแู ละเกรตติง การเล้ียวเบนและการแทรกสอด ของแสงผานสลิตเดย่ี ว รวมท้งั คํานวณปรมิ าณตา ง ๆ ทเ่ี กยี่ วของ ๙. ทดลอง และอธบิ ายการสะทอ นของแสงทผ่ี วิ วตั ถตุ ามกฎการสะทอ น เขยี นรงั สขี องแสงและคาํ นวณ ตําแหนงและขนาดภาพของวัตถุเม่ือแสงตกกระทบกระจกเงาราบและกระจกเงาทรงกลม รวมทั้งอธิบายการนําความรูเร่ืองการสะทอนของแสงจากกระจกเงาราบและกระจกเงาทรงกลม ไปใชประโยชนในชวี ิตประจําวนั ๑๐. ทดลอง และอธิบายความสมั พนั ธร ะหวา งดรรชนีหกั เห มุมตกกระทบ และมมุ หักเห รวมทัง้ อธบิ าย ความสัมพันธระหวา งความลกึ จรงิ และความลกึ ปรากฏ มุมวิกฤตและการสะทอนกลับหมดของแสง และคาํ นวณปริมาณตา ง ๆ ท่เี ก่ยี วของ

124 มาตรฐานการเรยี นรŒแู ละตวั ชว้ี ัดฯ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) สาระฟส ิกส ๒. เขาใจการเคล่ือนท่ีแบบฮารมอนิกอยางงาย ธรรมชาติของคล่ืน เสียงและการไดยิน ปรากฏการณ ทเ่ี ก่ียวขอ งกับเสียง แสงและการเห็น ปรากฏการณทีเ่ ก่ียวของกับแสง รวมท้งั นําความรูไปใชประโยชน (ตอ ) ผลการเรียนรู มธั ยมศึกษาปท ่ี ๕ (ตอ ) ๑๑. ทดลอง และเขียนรงั สีของแสงเพื่อแสดงภาพทีเ่ กดิ จากเลนสบ าง หาตาํ แหนง ขนาด ชนิดของภาพ และความสัมพนั ธระหวา งระยะวัตถุ ระยะภาพและความยาวโฟกสั รวมทง้ั คาํ นวณปริมาณตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของ และอธิบายการนําความรูเร่ืองการหักเหของแสงผานเลนสบางไปใชประโยชนใน ชีวติ ประจาํ วัน ๑๒. อธิบายปรากฏการณธรรมชาติที่เก่ียวกับแสง เชน รุง การทรงกลด มิราจ และการเห็นทองฟา เปนสีตา ง ๆ ในชว งเวลาตา งกนั ๑๓. สงั เกต และอธิบายการมองเหน็ แสงสี สีของวัตถุ การผสมสารสี และการผสมแสงสี รวมทง้ั อธบิ าย สาเหตุของการบอดสี ผลการเรยี นรู มธั ยมศกึ ษาปที่ ๖ -

มาตรฐานการเรียนรูแŒ ละตวั ชว้ี ดั ฯ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 125 สาระฟสกิ ส ๓. เขาใจแรงไฟฟาและกฎของคูลอมบ สนามไฟฟา ศักยไฟฟา ความจุไฟฟา กระแสไฟฟาและ กฎของโอหม วงจรไฟฟากระแสตรง พลังงานไฟฟาและกําลังไฟฟา การเปลี่ยนพลังงานทดแทน เปน พลงั งานไฟฟา สนามแมเ หลก็ แรงแมเ หลก็ ทก่ี ระทาํ กบั ประจไุ ฟฟา และกระแสไฟฟา การเหนย่ี วนาํ แมเหล็กไฟฟาและกฎของฟาราเดย ไฟฟากระแสสลับ คล่ืนแมเหล็กไฟฟาและการสื่อสาร รวมท้ัง นาํ ความรไู ปใชประโยชน ผลการเรยี นรู มัธยมศกึ ษาปท ี่ ๔ - ผลการเรยี นรู มธั ยมศกึ ษาปท่ี ๕ ๑. ทดลอง และอธบิ ายการทาํ วตั ถทุ เี่ ปน กลางทางไฟฟา ใหม ปี ระจไุ ฟฟา โดยการขดั สกี นั และการเหนยี่ วนาํ ไฟฟาสถติ ๒. อธบิ าย และคาํ นวณแรงไฟฟาตามกฎของคลู อมบ ๓. อธบิ าย และคาํ นวณสนามไฟฟา และแรงไฟฟา ทก่ี ระทาํ กบั อนภุ าคทม่ี ปี ระจไุ ฟฟา ทอี่ ยใู นสนามไฟฟา รวมท้ังหาสนามไฟฟา ลัพธเนอ่ื งจากระบบจดุ ประจโุ ดยรวมกันแบบเวกเตอร ๔. อธบิ าย และคํานวณพลงั งานศักยไ ฟฟา ศกั ยไฟฟา และความตา งศักยร ะหวา งสองตาํ แหนง ใด ๆ ๕. อธิบายสวนประกอบของตัวเก็บประจุ ความสัมพันธระหวางประจุไฟฟา ความตางศักย และ ความจขุ องตวั เกบ็ ประจุ และอธบิ ายพลงั งานสะสมในตวั เกบ็ ประจุ และความจสุ มมลู รวมทงั้ คาํ นวณ ปริมาณตาง ๆ ทเ่ี กีย่ วขอ ง ๖. นําความรูเร่ืองไฟฟาสถิตไปอธิบายหลักการทํางานของเคร่ืองใชไฟฟาบางชนิด และปรากฏการณ ในชวี ติ ประจําวัน ๗. อธิบายการเคล่ือนท่ีของอิเล็กตรอนอิสระและกระแสไฟฟาในลวดตัวนํา ความสัมพันธระหวาง กระแสไฟฟา ในลวดตวั นาํ กบั ความเรว็ ลอยเลอ่ื นของอเิ ลก็ ตรอนอสิ ระ ความหนาแนน ของอเิ ลก็ ตรอน ในลวดตัวนาํ และพนื้ ทหี่ นาตัดของลวดตวั นาํ และคาํ นวณปรมิ าณตา ง ๆ ท่ีเกยี่ วของ ๘. ทดลองและอธบิ ายกฎของโอหม อธบิ ายความสมั พนั ธร ะหวา งความตา นทานกบั ความยาวพนื้ ทห่ี นา ตดั และสภาพตา นทานของตัวนาํ โลหะทอ่ี ุณหภูมิคงตัว และคํานวณปริมาณตา ง ๆ ท่เี ก่ียวของ รวมทงั้ อธบิ ายและคาํ นวณความตา นทานสมมูลเมอ่ื นาํ ตัวตา นทานมาตอกนั แบบอนุกรมและแบบขนาน ๙. ทดลอง อธบิ าย และคาํ นวณอเี อม็ เอฟของแหลง กาํ เนดิ ไฟฟา กระแสตรง รวมทง้ั อธบิ ายและคาํ นวณ พลังงานไฟฟา และกําลังไฟฟา ๑๐. ทดลอง และคาํ นวณอเี อม็ เอฟสมมลู จากการตอ แบตเตอรแี่ บบอนกุ รมและแบบขนาน รวมทงั้ คาํ นวณ ปริมาณตาง ๆ ท่เี กย่ี วของในวงจรไฟฟา กระแสตรงซง่ึ ประกอบดว ยแบตเตอร่แี ละตัวตานทาน ๑๑. อธบิ ายการเปลย่ี นพลงั งานทดแทนเปน พลงั งานไฟฟา รวมทงั้ สบื คน และอภปิ รายเกยี่ วกบั เทคโนโลยี ทน่ี าํ มาแกป ญ หาหรอื ตอบสนองความตอ งการทางดา นพลงั งานไฟฟา โดยเนน ดา นประสทิ ธภิ าพและ ความคุมคา ดานคาใชจ าย

126 มาตรฐานการเรียนรูŒและตวั ช้ีวดั ฯ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) สาระฟสกิ ส ๓. เขาใจแรงไฟฟาและกฎของคูลอมบ สนามไฟฟา ศักยไฟฟา ความจุไฟฟา กระแสไฟฟาและ กฎของโอหม วงจรไฟฟากระแสตรง พลังงานไฟฟาและกําลังไฟฟา การเปลี่ยนพลังงานทดแทน เปน พลงั งานไฟฟา สนามแมเ หลก็ แรงแมเ หลก็ ทก่ี ระทาํ กบั ประจไุ ฟฟา และกระแสไฟฟา การเหนย่ี วนาํ แมเหล็กไฟฟาและกฎของฟาราเดย ไฟฟากระแสสลับ คลื่นแมเหล็กไฟฟาและการส่ือสาร รวมทั้ง นาํ ความรไู ปใชป ระโยชน (ตอ) ผลการเรยี นรู มธั ยมศึกษาปที่ ๖ ๑. สังเกต และอธิบายเสนสนามแมเหล็ก อธิบาย และคํานวณฟลักซแมเหล็กในบริเวณท่ีกําหนด รวมทงั้ สงั เกต และอธบิ ายสนามแมเ หลก็ ทเ่ี กดิ จากกระแสไฟฟา ในลวดตวั นาํ เสน ตรง และโซเลนอยด ๒. อธิบาย และคํานวณแรงแมเหล็กที่กระทําตออนุภาคท่ีมีประจุไฟฟาเคล่ือนท่ีในสนามแมเหล็ก แรงแมเหล็กท่ีกระทําตอเสนลวดที่มีกระแสไฟฟาผานและวางในสนามแมเหล็ก รัศมีความโคงของ การเคล่ือนท่ีเม่ือประจุเคล่ือนท่ีต้ังฉากกับสนามแมเหล็ก รวมท้ังอธิบายแรงระหวางเสนลวดตัวนํา คขู นานทมี่ ีกระแสไฟฟา ผา น ๓. อธิบายหลักการทํางานของแกลแวนอมิเตอรและมอเตอรไฟฟากระแสตรง รวมทั้งคํานวณปริมาณ ตา ง ๆ ทเี่ กย่ี วขอ ง ๔. สงั เกต และอธบิ ายการเกดิ อีเอ็มเอฟเหนยี่ วนาํ กฎการเหนยี่ วนาํ ของฟาราเดย และคํานวณปรมิ าณ ตา ง ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ ง รวมทง้ั นาํ ความรเู รอื่ งอเี อม็ เอฟเหนยี่ วนาํ ไปอธบิ ายการทาํ งานของเครอื่ งใชไ ฟฟา ๕. อธบิ าย และคํานวณความตา งศักยอารเอ็มเอส และกระแสไฟฟา อารเอ็มเอส ๖. อธบิ ายหลกั การทาํ งานและประโยชนข องเครอื่ งกาํ เนดิ ไฟฟา กระแสสลบั ๓ เฟส การแปลงอเี อม็ เอฟ ของหมอแปลง และคํานวณปรมิ าณตา ง ๆ ท่ีเกย่ี วของ ๗. อธิบายการเกิดและลักษณะเฉพาะของคล่ืนแมเหล็กไฟฟา แสงไมโพลาไรส แสงโพลาไรสเชิงเสน และแผน โพลารอยด รวมทง้ั อธบิ ายการนาํ คลน่ื แมเ หลก็ ไฟฟา ในชว งความถต่ี า ง ๆ ไปประยกุ ตใ ชแ ละ หลักการทาํ งานของอุปกรณท่ีเกี่ยวของ ๘. สืบคน และอธิบายการสื่อสารโดยอาศัยคล่ืนแมเหล็กไฟฟา ในการสงผานสารสนเทศ และ เปรยี บเทยี บการสือ่ สารดว ยสญั ญาณแอนะลอ็ กกับสญั ญาณดิจทิ ัล

มาตรฐานการเรียนรŒูและตัวชว้ี ดั ฯ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 127 สาระฟสิกส ๔. เขา ใจความสมั พันธข องความรอนกับการเปล่ียนอุณหภูมิและสถานะของสสาร สภาพยดื หยุนของวสั ดุ และมอดุลัสของยัง ความดันในของไหล แรงพยุงและหลักของอารคิมีดีส ความตึงผิวและแรงหนืด ของของเหลว ของไหลอุดมคติและสมการแบรนูลลี กฎของแกส ทฤษฎีจลนของแกสอุดมคติและ พลังงานในระบบ ทฤษฎีอะตอมของโบร ปรากฏการณโฟโตอิเล็กทริก ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค กัมมันตภาพรังสี แรงนิวเคลียร ปฏิกริ ิยานวิ เคลียร พลงั งานนิวเคลยี ร ฟสิกสอ นุภาค รวมทั้งนําความรู ไปใชป ระโยชน ผลการเรียนรู มัธยมศกึ ษาปที่ ๔ - ผลการเรยี นรู มัธยมศกึ ษาปท ่ี ๕ - ผลการเรยี นรู มธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๖ ๑. อธิบาย และคํานวณความรอนท่ีทําใหสสารเปล่ียนอุณหภูมิ ความรอนท่ีทําใหสสารเปลี่ยนสถานะ และความรอนทเี่ กิดจากการถา ยโอนตามกฎการอนรุ ักษพ ลงั งาน ๒. อธิบายสภาพยืดหยุนและลักษณะการยืดและหดตัวของวัสดุท่ีเปนแทงเมื่อถูกกระทําดวยแรง คา ตา ง ๆ รวมทงั้ ทดลอง อธิบายและคํานวณความเคน ตามยาว ความเครียดตามยาว และมอดุลสั ของยัง และนําความรเู รอ่ื งสภาพยืดหยนุ ไปใชใ นชวี ติ ประจําวนั ๓. อธิบาย และคํานวณความดันเกจ ความดันสัมบูรณ และความดันบรรยากาศ รวมทั้งอธิบาย หลักการทาํ งานของแมนอมิเตอร บารอมิเตอรแ ละเครอ่ื งอดั ไฮดรอลิก ๔. ทดลอง อธิบาย และคาํ นวณขนาดแรงพยงุ จากของไหล ๕. ทดลอง อธบิ าย และคาํ นวณความตงึ ผวิ ของของเหลว รวมทง้ั สงั เกตและอธบิ ายแรงหนดื ของของเหลว ๖. อธบิ ายสมบตั ขิ องของไหลอดุ มคติ สมการความตอ เนอ่ื ง และสมการแบรน ลู ลี รวมทง้ั คาํ นวณปรมิ าณ ตาง ๆ ท่ีเก่ียวของ และนําความรูเก่ียวกับสมการความตอเนื่องและสมการแบรนูลลีไปอธิบาย หลกั การทาํ งานของอปุ กรณต าง ๆ ๗. อธิบายกฎของแกสอดุ มคติและคาํ นวณปรมิ าณตาง ๆ ท่ีเกีย่ วขอ ง ๘. อธิบายแบบจําลองของแกสอุดมคติ ทฤษฎีจลนของแกส และอัตราเร็วอารเอ็มเอสของโมเลกุล ของแกส รวมทั้งคาํ นวณปรมิ าณตาง ๆ ทเ่ี ก่ียวของ ๙. อธิบาย และคํานวณงานที่ทําโดยแกสในภาชนะปดโดยความดันคงตัว และอธิบายความสัมพันธ ระหวางความรอ น พลังงานภายในระบบ และงาน รวมทัง้ คาํ นวณปริมาณตาง ๆ ทเ่ี กีย่ วขอ งและ นาํ ความรูเ รอื่ งพลังงานภายในระบบไปอธบิ ายหลักการทํางานของเครือ่ งใชใ นชีวติ ประจาํ วนั ๑๐. อธบิ ายสมมตฐิ านของพลงั ค ทฤษฎอี ะตอมของโบร และการเกดิ เสน สเปกตรมั ของอะตอมไฮโดรเจน รวมทัง้ คํานวณปรมิ าณตาง ๆ ทเี่ กีย่ วของ

128 มาตรฐานการเรียนรูŒและตัวช้วี ดั ฯ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) สาระฟสิกส ๔. เขา ใจความสัมพันธของความรอนกบั การเปลยี่ นอณุ หภมู แิ ละสถานะของสสาร สภาพยดื หยุนของวัสดุ และมอดุลัสของยัง ความดันในของไหล แรงพยุงและหลักของอารคิมีดีส ความตึงผิวและแรงหนืด ของของเหลว ของไหลอุดมคติและสมการแบรนูลลี กฎของแกส ทฤษฎีจลนของแกสอุดมคติและ พลังงานในระบบ ทฤษฎีอะตอมของโบร ปรากฏการณโฟโตอิเล็กทริก ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค กัมมันตภาพรงั สี แรงนวิ เคลยี ร ปฏิกิริยานวิ เคลยี ร พลังงานนิวเคลียร ฟสกิ สอนภุ าค รวมทง้ั นาํ ความรู ไปใชประโยชน (ตอ) ผลการเรียนรู มธั ยมศึกษาปที่ ๖ (ตอ) ๑๑. อธบิ ายปรากฏการณโ ฟโตอิเลก็ ทรกิ และคํานวณพลงั งานโฟตอน พลงั งานจลนของโฟโตอเิ ล็กตรอน และฟง กชันงานของโลหะ ๑๒. อธบิ ายทวิภาวะของคลื่นและอนภุ าค รวมทง้ั อธบิ าย และคาํ นวณความยาวคล่ืนเดอบรอยล ๑๓. อธบิ ายกัมมนั ตภาพรังสแี ละความแตกตางของรังสีแอลฟา บตี า และแกมมา ๑๔. อธิบาย และคํานวณกัมมันตภาพของนิวเคลียสกัมมันตรังสี รวมท้ังทดลอง อธิบาย และคํานวณ จาํ นวนนวิ เคลียสกมั มันตภาพรังสีที่เหลอื จากการสลาย และครึง่ ชีวิต ๑๕. อธิบายแรงนิวเคลียร เสถียรภาพของนิวเคลียสและพลังงานยึดเหนี่ยว รวมท้ังคํานวณปริมาณ ตา ง ๆ ท่ีเกยี่ วของ ๑๖. อธิบายปฏิกริ ิยานวิ เคลยี ร ฟช ชนั และฟวชัน รวมทัง้ คํานวณพลังงานนิวเคลียร ๑๗. อธิบายประโยชนของพลงั งานนวิ เคลยี ร และรงั สี รวมทงั้ อันตรายและการปอ งกนั รงั สีในดา นตา ง ๆ ๑๘. อธบิ ายการคน ควา วจิ ยั ดา นฟส กิ สอ นภุ าค แบบจาํ ลองมาตรฐาน และการใชป ระโยชนจ ากการคน ควา วิจยั ดา นฟสกิ สอนภุ าคในดานตาง ๆ

มาตรฐานการเรียนรูแŒ ละตวั ชว้ี ดั ฯ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 129 สาระโลก ดาราศาสตร และอวกาศ ๑. เขาใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก ธรณีพิบัติภัย และผลตอส่ิงมีชีวิตและส่ิงแวดลอม รวมทง้ั การศกึ ษาลําดับช้นั หิน ทรัพยากรธรณี แผนที่ และการนําไปใชประโยชน ผลการเรียนรู มัธยมศึกษาปท ่ี ๔ ๑. อธบิ ายการแบง ชนั้ และสมบตั ิของโครงสรางโลก พรอ มยกตวั อยางขอ มูลทีส่ นับสนุน ๒. อธิบายหลักฐานทางธรณวี ทิ ยาทสี่ นบั สนนุ การเคล่อื นทข่ี องแผน ธรณี ๓. ระบุสาเหตุ และอธิบายแนวรอยตอของแผนธรณีท่ีสัมพันธกับการเคลื่อนที่ของแผนธรณี พรอมยกตัวอยางหลักฐานทางธรณีวทิ ยาที่พบ ๔. วเิ คราะหห ลกั ฐานทางธรณวี ทิ ยาทพี่ บในปจ จบุ นั และอธบิ ายลาํ ดบั เหตกุ ารณท างธรณวี ทิ ยาในอดตี ๕. อธิบายสาเหตุ กระบวนการเกิดภูเขาไฟระเบิด และปจจัยท่ีทําใหความรุนแรงของการปะทุและ รูปรางของภูเขาไฟแตกตางกัน รวมท้ังสืบคนขอมูลพื้นที่เสี่ยงภัย ออกแบบ และนําเสนอแนวทาง การเฝา ระวังและการปฏิบตั ติ นใหป ลอดภัย ๖. อธบิ ายสาเหตุ กระบวนการเกดิ ขนาดและความรนุ แรง และผลจากแผน ดนิ ไหว รวมทง้ั สบื คน ขอ มลู พืน้ ทีเ่ สี่ยงภยั ออกแบบ และนําเสนอแนวทางการเฝาระวงั และการปฏบิ ตั ติ นใหป ลอดภัย ๗. อธบิ ายสาเหตุ กระบวนการเกดิ และผลจากสึนามิ รวมท้งั สืบคน ขอมูลพืน้ ทีเ่ สย่ี งภัย ออกแบบ และ นําเสนอแนวทางการเฝาระวงั และการปฏิบตั ิตนใหปลอดภัย ๘. ตรวจสอบ และระบุชนิดแร รวมทัง้ วิเคราะหส มบตั ิ และนาํ เสนอการใชประโยชนจ ากทรพั ยากรแร ท่เี หมาะสม ๙. ตรวจสอบ จาํ แนกประเภท และระบชุ อื่ หนิ รวมทงั้ วเิ คราะหส มบตั แิ ละนาํ เสนอการใชป ระโยชนข อง ทรพั ยากรหินท่ีเหมาะสม ๑๐. อธบิ ายกระบวนการเกดิ และการสาํ รวจแหลง ปโ ตรเลียมและถานหนิ โดยใชข อมลู ทางธรณีวทิ ยา ๑๑. อธิบายสมบัติของผลิตภัณฑที่ไดจากปโตรเลียมและถานหิน พรอมนําเสนอการใชประโยชน อยา งเหมาะสม ๑๒. อา น และแปลความหมายจากแผนทีภ่ ูมิประเทศและแผนที่ธรณวี ทิ ยาของพน้ื ท่ีทก่ี ําหนด พรอมทั้ง อธิบายและยกตวั อยา งการนําไปใชประโยชน ผลการเรียนรู มัธยมศกึ ษาปท ่ี ๕ - ผลการเรยี นรู มัธยมศกึ ษาปท่ี ๖ -

130 มาตรฐานการเรียนรแูŒ ละตวั ชว้ี ดั ฯ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) สาระโลก ดาราศาสตร และอวกาศ ๒. เขาใจสมดุลพลังงานของโลก การหมุนเวียนของอากาศบนโลก การหมุนเวียนของนํ้าในมหาสมุทร การเกดิ เมฆ การเปล่ยี นแปลงภูมอิ ากาศโลก และผลตอ สิง่ มีชวี ติ และส่งิ แวดลอ ม รวมทัง้ การพยากรณ อากาศ ผลการเรยี นรู มธั ยมศึกษาปท ่ี ๔ - ผลการเรยี นรู มธั ยมศกึ ษาปท่ี ๕ ๑. อธิบายปจจัยสําคัญท่ีมีผลตอการรับและคายพลังงานจากดวงอาทิตยแตกตางกันและผลท่ีมีตอ อณุ หภูมิอากาศในแตละบริเวณของโลก ๒. อธิบายกระบวนการที่ทาํ ใหเกิดสมดลุ พลังงานของโลก ๓. อธบิ ายผลของแรงเนอ่ื งจากความแตกตา งของความกดอากาศ แรงคอริออลิส แรงสูศนู ยก ลาง และ แรงเสียดทานทม่ี ตี อการหมุนเวยี นของอากาศ ๔. อธบิ ายการหมนุ เวียนของอากาศตามเขตละตจิ ูด และผลทม่ี ีตอภมู ิอากาศ ๕. อธิบายปจจยั ทีท่ ําใหเกิดการแบงชั้นน้าํ ในมหาสมทุ ร ๖. อธิบายปจจัยท่ีทําใหเกิดการหมุนเวียนของน้ําในมหาสมุทรและรูปแบบการหมุนเวียนของน้ํา ในมหาสมทุ ร ๗. อธิบายผลของการหมุนเวียนของน้ําในมหาสมุทรที่มีตอลักษณะลมฟาอากาศ ส่ิงมีชีวิต และ สิ่งแวดลอ ม ๘. อธบิ ายความสัมพันธระหวา งเสถียรภาพอากาศและการเกดิ เมฆ ๙. อธิบายการเกดิ แนวปะทะอากาศแบบตา ง ๆ และลกั ษณะลมฟาอากาศทเ่ี กีย่ วของ ๑๐. อธบิ ายปจ จยั ตา ง ๆ ทม่ี ผี ลตอ การเปลยี่ นแปลงภมู อิ ากาศของโลก พรอ มยกตวั อยา งขอ มลู สนบั สนนุ ๑๑. วิเคราะห และอภิปรายเหตุการณท่ีเปนผลจากการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศโลก และนําเสนอ แนวปฏิบตั ขิ องมนษุ ยท ีม่ ีสวนชวยในการชะลอการเปลยี่ นแปลงภมู อิ ากาศโลก ๑๒. แปลความหมายสัญลักษณล มฟาอากาศบนแผนท่อี ากาศ ๑๓. วเิ คราะห และคาดการณล กั ษณะลมฟา อากาศเบอื้ งตน จากแผนทอี่ ากาศและขอ มลู สารสนเทศอน่ื ๆ เพ่อื วางแผนในการประกอบอาชพี และการดําเนินชวี ติ ใหสอดคลองกับสภาพลมฟาอากาศ ผลการเรยี นรู มธั ยมศึกษาปท ี่ ๖ -

มาตรฐานการเรยี นรแูŒ ละตัวชวี้ ดั ฯ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 131 สาระโลก ดาราศาสตร และอวกาศ ๓. เขาใจองคประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ และระบบสุริยะ ความสัมพันธของดาราศาสตรกับมนุษยจากการศึกษาตําแหนงดาวบนทรงกลมฟา และปฏิสมั พันธภ ายในระบบสุรยิ ะ รวมท้งั การประยกุ ตใชเทคโนโลยีอวกาศในการดํารงชวี ติ ผลการเรยี นรู มธั ยมศึกษาปท ่ี ๔ - ผลการเรยี นรู มธั ยมศึกษาปที่ ๕ - ผลการเรยี นรู มัธยมศึกษาปท่ี ๖ ๑. อธิบายการกําเนิดและการเปลี่ยนแปลงพลังงาน สสาร ขนาดอุณหภูมิของเอกภพหลังเกิดบิกแบง ในชวงเวลาตา ง ๆ ตามวิวฒั นาการของเอกภพ ๒. อธิบายหลักฐานท่ีสนับสนุนทฤษฎีบิกแบง จากความสัมพันธระหวางความเร็วกับระยะทางของ กาแล็กซี รวมท้งั ขอมูลการคนพบไมโครเวฟพื้นหลงั จากอวกาศ ๓. อธิบายโครงสรางและองคประกอบของกาแล็กซีทางชางเผือก และระบุตําแหนงของระบบสุริยะ พรอ มอธิบายเชอื่ มโยงกับการสังเกตเหน็ ทางชางเผือกของคนบนโลก ๔. อธิบายกระบวนการเกิดดาวฤกษ โดยแสดงการเปล่ยี นแปลงความดัน อณุ หภูมิ ขนาด จากดาวฤกษ กอ นเกิดจนเปนดาวฤกษ ๕. อธิบายกระบวนการสรางพลังงานของดาวฤกษและผลท่ีเกิดข้ึน โดยวิเคราะหปฏิกิริยา ลูกโซโปรตอน-โปรตอน และวฏั จักรคารบ อน ไนโตรเจน ออกซิเจน ๖. ระบปุ จ จยั ท่สี ง ผลตอ ความสอ งสวา งของดาวฤกษ และอธบิ ายความสมั พันธร ะหวางความสอ งสวา ง กับโชติมาตรของดาวฤกษ ๗. อธิบายความสมั พันธร ะหวา งสี อุณหภมู ผิ วิ และสเปกตรัมของดาวฤกษ ๘. อธิบายวิธีการหาระยะทางของดาวฤกษดวยหลักการแพรัลแลกซ พรอมคํานวณหาระยะทางของ ดาวฤกษ ๙. อธบิ ายลาํ ดับววิ ัฒนาการที่สัมพนั ธกบั มวลต้งั ตน และวิเคราะหก ารเปลย่ี นแปลงสมบัตบิ างประการ ของดาวฤกษในลาํ ดับววิ ัฒนาการ จากแผนภาพเฮริ ซปรงุ -รสั เซลล ๑๐. อธบิ ายกระบวนการเกดิ ระบบสรุ ยิ ะ การแบง เขตบรวิ ารของดวงอาทติ ย และลกั ษณะของดาวเคราะห ท่ีเอื้อตอ การดํารงชีวิต ๑๑. อธบิ ายการโคจรของดาวเคราะหร อบดวงอาทติ ยด ว ยกฎเคพเลอร และกฎความโนม ถว งของนวิ ตนั พรอ มคาํ นวณคาบการโคจรของดาวเคราะห ๑๒. อธบิ ายโครงสรา งของดวงอาทติ ย การเกิดลมสุรยิ ะ พายสุ ุริยะ และวิเคราะห นําเสนอปรากฏการณ หรอื เหตุการณทเ่ี กี่ยวของกับผลของลมสรุ ยิ ะ และพายสุ รุ ิยะที่มีตอ โลก รวมทั้งประเทศไทย

132 มาตรฐานการเรียนรŒูและตัวชีว้ ัดฯ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) สาระโลก ดาราศาสตร และอวกาศ ๓. เขาใจองคประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ และระบบสุริยะ ความสัมพันธของดาราศาสตรกับมนุษยจากการศึกษาตําแหนงดาวบนทรงกลมฟา และปฏิสมั พันธภายในระบบสุรยิ ะ รวมท้ังการประยุกตใ ชเทคโนโลยอี วกาศในการดาํ รงชวี ิต (ตอ ) ผลการเรียนรู มัธยมศึกษาปท่ี ๖ (ตอ ) ๑๓. สรางแบบจาํ ลองทรงกลมฟา สงั เกต และเชอื่ มโยงจุดและเสนสําคญั ของแบบจาํ ลองทรงกลมฟา กับ ทอ งฟา จริง และอธบิ ายการระบุพกิ ัดของดาวในระบบขอบฟา และระบบศนู ยส ูตร ๑๔. สงั เกตทองฟา และอธบิ ายเสนทางการข้ึน การตกของดวงอาทติ ยแ ละดาวฤกษ ๑๕. อธบิ ายเวลาสรุ ยิ คตปิ รากฏ โดยรวบรวมขอ มลู และเปรยี บเทยี บเวลาขณะทด่ี วงอาทติ ยผ า นเมรเิ ดยี น ของผสู งั เกตในแตล ะวนั ๑๖. อธบิ ายเวลาสรุ ยิ คตปิ านกลางและการเปรียบเทยี บเวลาของแตล ะเขตเวลาบนโลก ๑๗. อธิบายมุมหางที่สัมพันธกับตําแหนงในวงโคจร และอธิบายเช่ือมโยงกับตําแหนงปรากฏของ ดาวเคราะหท สี่ ังเกตไดจากโลก ๑๘. สบื คน ขอ มลู อธบิ ายการสาํ รวจอวกาศโดยใชก ลอ งโทรทรรศนใ นชว งความยาวคลน่ื ตา ง ๆ ดาวเทยี ม ยานอวกาศ สถานอี วกาศ และนาํ เสนอแนวคดิ การนาํ ความรทู างดา นเทคโนโลยอี วกาศมาประยกุ ตใ ช ในชีวิตประจําวนั หรือในอนาคต ๑๙. สืบคนขอมูล ออกแบบ และนําเสนอกิจกรรมการสังเกตดาวบนทองฟาดวยตาเปลาและ/หรือ กลอ งโทรทรรศน




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook