Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ออกแบบเทคโนโลยี

ออกแบบเทคโนโลยี

Published by ศรัญญา ขำมิน, 2020-02-10 13:33:33

Description: หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ผสานจริงออนไลน์ เรื่อง ออกแบบเทคโนโลยี

Search

Read the Text Version

เทคโนโลยี การออกแบบและเทคโนโลยี 2 AR

ขัน้ ตอนการใชง้ าน 1. ดาวน์โหลดแอพพลิเคชัน Zappar 2. เปดิ แอพพลิเคชนั zappar สอ่ งไปที่ หน้าของหนังสืออิเลก็ ทรอนิกสท์ ป่ี รากฎ Zap Code จะปรากฎสื่อผสานจรงิ ขึ้นมา Zapcode นี้เป็นสญั ลักษณ์เฉพาะ ของโปรแกรม Zappar

สารบญั เรอื่ ง หนา้ บทที่ 1 มาแกป้ ญั หากนั เถอะ 5 เทคโนโลยีในการจัดการสิง่ แวดลอ้ ม 10 การวเิ คราะหญ์ หาสถาณการณป์ ัญหา 11 การรวบรวมขอ้ มูลเพ่ือแกป้ ัญหา บทที่ 2 ออกแบบกนั กอ่ น 14 การวเิ คราะห์แนวทางการแก้ปญั หา 16 การสรา้ งทางเลอื กในการออกแบบ 19 การออกแบบแนวทางการแกป้ ญั หา

บทที่ 1 มาแก้ปญั หากนั เถอะ !

รถตดิ อะไรคอื สาเหตทุ แ่ี ทจ้ รงิ ? ปั ญ ห า ร ถ ติ ด เ ป็ น ปั ญ ห า ใ ห ญ่ ที่ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมเป็น มลพิษทางอากาศท่ีเกิดจากเขม่าควัน ใน การแกป้ ัญหาเร่ืองน้ีจะต้องมีการวิเคราะห์ วา่ สาเหตุที่แทจ้ ริงของปัญหาคืออะไร เพ่ือ หาแนวทางการแก้ไขปัญหาที่ตรงประเด็น และวิธกี ารแก้ปัญหาท่ียงั่ ยนื ปญั หาสง่ิ แวดลอ้ ม เกิดจากอะไร ?

ปญั หา สง่ิ แวดล้อมทเ่ี กดิ จากมนุษย์ จากการเพิม่ ขน้ึ ของประชากร และการขยายตัวของ ชุมชน ทาให้เกิดเทคโนโลยีใหม่ ๆเพื่อตอบสนองความ ต้องการของมนุษย์ที่ส่งผลให้เกิดปัญหาส่ิงแวดล้อม มากมาย เช่น การทิ้งขยะลงแม่น้าลาคลอง ทาให้น้าเน่า เสีย ส่งผลถึงสขุ ภาพ ควันพิษที่เกิดจากรถยนต์ โรงงานอุตสาหกรรม ส่งผลต่อระบบทางเดินหายใจของมนุษย์ และเป็นสาเหตุ หนง่ึ ทส่ี ง่ ผลต่อการปนเป้อื นสารเคมตี า่ ง ๆ ในดนิ อีกด้วย

ปญั หา สงิ่ แวดล้อมทเ่ี กิดจากธรรมชาติ น อ ก จ า ก ม นุ ษ ย์ แ ล้ ว ปัญหาส่งิ แวดลอ้ มยังมีสาเหตุมา จากธรรมชาติเอง เช่น น้าท่วม ไฟป่า แผ่นดินไหว และภูเขา ไฟระเบดิ การ เกิ ดไ ฟป่ าเ ป็น ผล มา จา ก วาตภัย เนื่องจากลมพัดแรงจนทาให้ ตน้ ไมเ้ อนไปเอนมาเสียดสีจนเกิดไฟป่า ข้ึน ซึ่งส่งผลให้เกิดมลพิษทางอากาศ จากฝุ่นละออง และแก๊สพิษจากการ เผาไหม้ นอกจากน้ียังเป็นันตรายต่อ ระบบหายใจของมนษุ ย์ ไฟป่า (Wildfire) การเกิดน้าท่วมจากฝนตกหนัก ทาใหเ้ กดิ ความเสยี หายตอ่ บ้านเรอื นและ ทรัพย์สินของมนุษย์ นอกจากน้ียังทา ให้พืชผลการเกษตรเสียหาย และยัง เป็นที่มาของโรคภัยต่าง ๆ เช่น โรคน้า กัดเท้า ตาแดง ไขเ้ ลอื ดออก เป็นต้น นา้ ทว่ ม (Flood)

ปญั หา สิ่งแวดล้อมท่เี กิดจากธรรมชาติ การเกิดแผ่นดินไหวมีสาเหตุมาจากการ เคล่ือนตัวของเปลือกโลก หากระดับรุนแรง มากจะทาใหบ้ ้านเรือน อาคาร หรือสิ่งก่อสร้าง ไดร้ บั ความสยี หาย ทาใหม้ นษุ ย์ไรท้ ี่อยู่ ขาดแคลนอาหาร อีกทั้งยังเกิดการพังทลาย ของหน้าดินทาให้ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อมทาง ธรรมชาติของพืชและสัตวเ์ ปลีย่ นไป ภูเขาไฟระเบิดเกิดจากแรงดันความ ร้อนที่สะสมอยู่ใต้เปลือกโลก ดันออกมาสู่ผิว ของเปลือกโลกจนเกิดการระเบิด ไอระเหย หรือควันที่เกิดจากภูเขาไฟมีกามะถันและฝุ่น ละอองมาก ซ่ึงทาให้เกิดปัญหามลพิษทาง อากาศ เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต หากเกิด การระเบิดของภูเขาไฟใต้น้าจะก่อให้เกิดคล่ืน ขนาดใหญที่เรยี กวา่ “สึนามิ”

เทคโนโลยีในการจัดการสิง่ แวดล้อม เทคโนโลยใี นการบาบัดนา้ เสยี microbot (หนุ่ ยนตข์ นาดเลก็ กวา่ เสน้ ผมมนุษย์) โรงงานผลิตสินค้าประเภทอิเล็กทรอนิกส์ส่วนใหญ่จะปล่อยโลหะจาพวกตะก่ัว สารหนู แคดเมียม โครเมียม ที่เกิดจากกระบวนการผลิตออกสู่ส่ิงแวดล้อม ซึ่งเป็น อันตรายต่อมนุษย์โดยเฉพาะสัตว์น้าจะได้รับสารปนเป้ือนด้วย จึงได้มีการคิดค้นวิธีการ กาจัดโลหะเหล่านัน้ ภายในโรงงาน หุ่นยนต์ขนาดเล็กกว่าเส้นผมมนุษย์ หรือ Microbot เป็นหุ่นยนต์ท่ีใช้ดูดซับ ตะก่วั ออกจากน้าเสีย นอกจากนี้หนุ่ ยนตต์ วั นย้ี ังสามารถเคล่ือนทไี่ ด้เอง ซ่ึงถือเปน็ การนา เทคโนโลยเี ขา้ มาใชใ้ นการบาบัดนา้ เสยี ท่เี กดิ จากสารเคมไี ดด้ ี

เทคโนโลยใี นการจดั การสง่ิ แวดล้อม เทคโนโลยีในการบาบดั มลพิษทางอากาศ

เทคโนโลยใี นการจดั การสิง่ แวดลอ้ ม เทคโนโลยใี นการจัดการขยะมูลฝอย ขยะมูลฝอยท่ีเกิดข้ึนในปัจจุบันมีหลาย ประเภท ทั้งเศษอาหาร เศษพืชที่เหลือจากการ ทาเกษตรกรรม รวมทั้งขยะท่ีเกิดข้ึนตามชุมชน ไม่ว่าจะเป็นถุงพลาสติก กระดาษ แก้ว ภาชนะ บรรจุสารเคมีต่าง ๆ เป็นต้น เพ่ือให้ง่ายต่อการ จัดการชยะมูลฝอยแต่ละประเภทกรมควบคุม มลพษิ จงึ มกี ารกาหนดวิธกี ารจาแนกขยะและการ จัดการขยะแตล่ ะประเภท ขยะรไี ซเคลิ

การคดั แยกขยะแต่ละประเภท ถงั สีนา้ เงนิ ขยะท่วั ไป ขยะที่ย่อยสลายยากและไม่ค้มุ คา่ ในการรไี ซเคลิ (ซองบะหม่ี เปลือกลูกอม ถงุ พลาสตกิ ) ถังสเี หลือง ขยะรีไซเคลิ ขยะท่สี ามารถนาไปขายได้ (แก้ว กระดาษ พลาสตกิ โลหะ/อโลหะ)

การคัดแยกขยะแตล่ ะประเภท ถงั สีเขยี ว ขยะเปียก ขยะท่ียอ่ ยสลายยากได้ (เศษอาหารและพืชผกั ที่เหลือจากการรบั ประทาน) ถังสีแดง ขยะพิษ ขยะมีพษิ ทต่ี ้องรวบรวมแลว้ นาไปกาจัดอยา่ งถกู วิธี (กระป๋องสเปรย์ หลอดไฟ ถา่ นไฟฉาย)

การวิเคราะห์สถานการณ์ปญั หา การระบุปัญหาท่ีชัดเจนเป็นพ้ืนฐานในการกาหนดวัตถุประสงค์เพื่อแก้ไขปัญหาให้ สอดคล้องกับสภาพปัญหา ซึ่งจะช่วยให้แก้ปัญหาได้ตรงจุดสามารถรวบรวมรายละเอียดของ ปัญหาไดต้ รงประเด็น โดยเทคนิคหนึ่งท่ีสามารถนามาใช้วิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาและช่วยให้ ไปสกู่ ารกาหนดกรอบของปญั หา คือการใชค้ าถาม 5W1H ซงึ่ มรี ายละเอียด ดงั น้ี คาถาม รายละเอยี ด What(อะไร) เกดิ ปญั หาอะไร Who(ใคร) Why(ทาไม) ปญั หานี้เกดิ กบั มคร หรอื ใครเปน็ ผทู้ าให้เกิด ปัญหาน้ี ทาไมจึงเกิดปญั หานี้ When(เมื่อใด) ปัญหานีเ้ กดิ ข้นึ เม่ือใด Where(ท่ไี หน) ปัญหาเกดิ ขึ้นที่ไหน How(อย่างไร) จะแก้ปญั หาน้ีอย่างไร

การรวบรวมข้อมลู เพื่อแกป้ ญั หา การรวบรวมข้อมูลสามารถทาได้หลายวิธี เ ช่ น สื บ ค้ น จ า ก แ ห ล่ ง ข้ อ มู ล ท่ี น่ า เ ชื่ อ ถื อ ใ น อินเทอรเ์ น็ต สารวจจากสถานท่ีจริง การทดลองทาง วิทยาศาสตร์ สอบถามจากผู้เช่ียวชาญ สืบค้นจาก เอกสาร บทความ งานวิจัยเพื่อนาแหล่งข้อมูลมา พัฒนาต่อยอดหรือประยุกต์ ให้สามารถแก้ปัญหา ไดต้ ามทกี่ าหนด การสื บค้น จาก อินเ ทอร์ เน็ต เพื่อ ให้ ไ ดเผ ลลัพ ธ์ตา มต้อ ง กา ร และประหยัดเวลา จะต้องระบุคาสาคัญ (Keyword) เพื่อให้ชัดเจนและ เฉพาะเจาะจง การสืบค้นข้อมูลจากในอินเทอร์เน็ตต้องเลือกแหล่งข้อมูลท่ีน่าเชื่อถือ และหากนาข้อมูลมาจากเอกสาร บทความ บุคคล สถานทหี่ รือสง่ิ พมิ พ์ตา่ ง ๆ ต้องมกี ารบอกแหลง่ ที่มาของข้อมลู ให้ถูกต้องและชดั เจน การพิจารณาว่าแหล่งข้อมูลใดมีความน่าเช่ือถือ สามารถสังเกตได้จาก ชื่อผู้เขียนหรือหน่วยงานที่ปรากฎชัดเจน ระบุวันที่ในการเผยแพร่ข้อมูล และ แสดงแหล่งที่มา โดยแหล่งที่มาหากเป็นหน่วยงานควรเป็นหน่วยงานท่ี รับผิดชอบเร่ืองน้ันโดยตรง และหากเป็นบุคคลควรเป็นผู้เชี่ยวชาญและได้รับ การยอมรบั และเปรียบเทยี บข้อมูลท่สี บื ค้นจากหลายแหลง่



การออกแบบเพอ่ื การนาไปใช้ การแก้ปัญหาตามกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม จาเป็นต้อง ระบุปัญหาให้ชัดเจน จากสภานการณ์ของปัญหา รวบรวมข้อมูลหรือ แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหา โดยพิจารณาจากแหล่งข้อมูลท่ี เช่ือถือได้ ข้อมูลที่จาเป็น และเง่ือนไขของปัญหา เพ่ือนาไปสู่การออกแบบ แนวทางแกป้ ัญหาตอ่ ไป

การวิเคราะหแ์ นวทางการแกป้ ัญหา ทรพั ยากรทางเทคโนโลยี การแก้ปัญหาอาจมีวิธีการ ท รั พ ย า ก ร ท า ง เ ท ค โ น โ ล ยี แก้ได้หลายวิธี การวิเคราะห์แนว (Technological resource) เป็นส่ิงท่ีต้อง ทางการแก้ปัญหาโดยพิจรณาจาก คานึงในการแก้ปัญหา เพราะจะทาให้การ เงอ่ื นไขและทรัพยากรทางเทคโนโลยี ท า ง า น ส า เ ร็ จ แ ล ะ แ ก้ ปั ญ ห า ไ ด้ ต า ม ค ว า ม ร่วมด้วย จะช่วห้ได้แนวทางการ ต้องการ ซงึ่ ประกอบดว้ ย 7 ดา้ น ได้แก่ แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า ที่ เ ห ม า ะ ส ม ที่ สุ ด กั บ สถานการณป์ ัญหานั้น 1. คน คนเป็นทั้งผู้ใช้และผู้สร้างเทคโนโลยี ในกระบวนการ แก้ปัญหาน้ันคนเป็นผู้ท่ีใช้ความรู้และทักษะต่าง ๆ ในการคิด วเิ คราะห์และตดั สนิ ใจ และดาเนนิ การจนเสรจ็ สิ้นกระบวนการ 2. ขอ้ มูลและสารสนเทศ ข้อมูลที่ได้มาจากศาสตร์ต่าง ๆ และประสบการณ์ ภูมิปัญญาและแหล่งเรียนรู้ หากนาข้อมูลที่เช่ือถือได้มาวิเคราะห์ ประมว ลผลเพื่ อให้ ไ ด้ข้อมูล ท่ีถูกต้อ ง จะ สามาร ถนาไ ป ประกอบการตัดสนิ ใจเพอื่ แกป้ ัญหาไดอ้ ย่างเหมาะสม 3. วสั ดุ การแก้ปญั หาท่ีต้องลงมือสรา้ งช้ินงานจาเปน็ จะต้องใช้วสั ดุเปน็ ส่วนประกอบ การเลือกใช้ วสั ดทุ ีจ่ าเปน็ และเหมาะสมกับงานจงึ มีความ โดยท่วั ไปจะให้ความสาคัญ สาคญั เนื่องจากวัสดุแตล่ ะประเภท กั บ วั ส ดุ ห ลั ก ท่ี น า ม า ใ ช้ เ ป็ น มีคุณสมบตั ทิ ่ีแตกต่างกัน ส่วนสาคัญในการแก้ปัญหา ส่ ว ร ก ร ะ ด า ษ พิ ม พ์ เ อ ก ส า ร เคร่ืองเขียน หมึกพิมพ์ จะไม่ นามาร่วมพิจารณาสาหรับ การใช้เปน็ วัสดุหลัก

การวิเคราะหแ์ นวทางการแก้ปญั หา 4. เครอ่ื งมอื และอปุ กรณ์ เป็นส่ิงที่ช่วยเพิ่มความสามารถในการทางาน ทาให้การทางาน รวดเร็ว แม่นยาและถูกต้อง การพิจารณาแนวทางในการแก้ไขจึงต้อง คานึงถงึ ข้อจากัดหรอื ความสามารถในการใช้เครอื่ งมือและอปุ กรณ์ 5. พลังงาน การแก้ปัญหาด้วยการสร้างชิ้นงาน อาจต้องใช้พลังงานในการ ขับเคล่ือน รวมท้ังเป็นพลังงานให้ชิ้นงานนั้นทางานได้ โดยทั่วไปมักใช้ พลงั งานไฟฟ้า 6. ทุน ทุนในท่ีน้ีหมายถึง เงินหรืองบประมาณ ทรัพย์สิน อาคาร สถานที่ ซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญในการแก้ปัญหา บางกรณีอาจต้องใช้ ทุนเป็นจานวนมากจงึ ตอ้ งคานงึ ถงึ ความคุ้มคา่ ดว้ ย 7. เวลา เปน็ ปัจจยั สาคญั อกี ประการหน่งึ ในการหาแนวทางแกป้ ญั หา หากมีความจาเป็นต้องแก้ปัญหาในระยะเวลาอันสั้น อาจต้องเลือก แนวทางการแก้ปัญหาท่แี ตกต่างจากการแก้ปัญหาระยะยาว

การสร้างทางเลือกในการออกแบบ หลักการออกแบบผลิตภณั ฑ์ การออกแบบการแก้ปัญหาท่ีเปน็ ช้นิ งาน ควรคานงึ ถงึ หลกั การออกแบบ เพื่อให้ได้ช้ินงานตรงกับการแก้ปญั หาหรือความตอ้ งการ ดงั ต่อไปนี้ 1. หน้าท่ใี ช้สอย (Function) เป็นสิง่ สาคัญทส่ี ดุ ทต่ี ้องคานึง ผลิตภัณฑต์ อ้ งมหี น้าท่ใี ช้สอยตรงกับการแก้ปญั หาหรอื ความต้องการ 2. ความปลอดภัย (Safety) อันตรายท่ีอาจเกิดขึ้นจากการใช้ ผลิตภัณฑ์ ระบบหรือวิธีการ อาจส่งผลต่อผู้ใช้งาน การออกแบบจึง ต้องคานึงถงึ ความปลอดภัยเปน็ สาคัญ 3. ความแข็งแรงของโครงสร้าง (Structure) การออกแบบ ผลิตภัณฑ์ควรคานึงถึงความแข็งแรงของโครงสร้าง ควรเลือกรูปแบบท่ี เหมาะสมกับการใชง้ านและสภาพแวดลอ้ ม

หลกั การออกแบบผลิตภณั ฑ์ 4. ความสะดวกสบายในการใช้งาน (Ergonomics) การ ออกแบบผลิตภัณฑ์ที่เก่ียวข้องกับร่างกายมนุษย์ ต้องคานึงถึงความ สะดวกสบายในการใชง้ าน และลาดับขน้ั ตอนในการใช้งาน 5. ความสวยงามน่าใช้ (Aesthetics) การออกแบบควรคานึงถึง ความสวยงามของรูปลักษณ์ภายนอกของผลิตภัณฑ์ เพ่ือดึงดูดความ สนใจของผู้ใช้ และในบางกรณีสง่ ผลตอ่ การรับรเู้ ชงิ จติ วทิ ยาด้วย 6. การบารุงรักษา (Maintenance) ในการออกแบบควร คานึงถึงช้ินส่วนท่ีต้องเปลี่ยนหรือซ่อมแซมให้สามารถดาเนินการได้ง่าย และสามารถหาชิ้นส่วนอนื่ มาทดแทนได้ 7. ราคาต้นทุน (Cost) การประมาณราคา จะช่วยให้ การออกแบบมีความเป็นปได้ตามงบประมาณที่มีอยู่ ซึ่งจะ สัมพันธ์โดยตรงกับการเลือกใช้วัสดุ กระบวนการผลิต รวมถึง หนา้ ที่ใชส้ อย และระบบการทางานของผลิตภณั ฑ์นน้ั ด้วย 8. วสั ดแุ ละกระบวนการผลติ (Material and Process) ในการออกแบบควรเลือก วัสดุให้ตรงกับหน้าที่ใช้สอยและรูปแบบการใช้งานของ ผลิตภัณฑ์ ไม่เลือกวัสดุท่ีมีสมบัติเกินความจาเป็นใน การใช้งาน ซ่ึงจะทาใหก้ ารผลิตยงุ่ ยากซับซ้อน ควรเลือก วสั ดุท่จี ดั หาได้ในท้องถน่ิ หรอื ภายในประเทศ

ความคิดสรา้ งสรรค์กับการออกแบบ ค ว า ม คิ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ เ ป็ น ความสามารถของบุคคลในการคิดตอบสนอง ต่อเหตุการณ์หรือปัญหาได้มาก กว้างไกล หลายทิศทาง แปลใหม่และมีคุณค่า โดย สามารถดัดแปลง ผสมผสานส่ิงเดิมให้เกิด เป็นส่ิงใหม่และเป็นประโยชน์ เพื่อให้เกิดผล ผลิตทแ่ี ตกตา่ งและสรา้ งสรรค์ ทุเรียนไร้หนาม แก้วคกุ ก้ีทานได้ ดินสอจากหนังสอื พมิ พ์

การออกแบบแนวทางการแกป้ ัญหา หลังจากท่ีได้แนวทางการแก้ปัญหาแล้ว จะนามาออกแบบโดยถ่ายทอดให้ เป็นรูปธรรม โดยสามารถทาได้หลายรูปแบบ เชน่ การร่างภาพ การเขียนแผนภาพ การขียนผงั งาน การเขยี นอธิบายเปน็ ขัน้ ตอน ซึ่งมีจุดประสงค์เดยี วกนั คอื เพื่อสรุป แนวคดิ ให้ผ้อู ่ืนเข้าใจ 1. การรา่ งภาพ เป็นการถ่ายทอดแนวทางการ ภาพรา่ ง 2 มิติ แก้ปัญหาท่ีเป็นช้ินงาน ซ่ึงอาจ ภาพร่าง 3 มติ ิ แสดงรูปร่าง รูปทรงหรือกลไก ภายใน ภาพท่ีร่างแบ่งเป็น ภาพ 2 มิติ หรือ 3 มิติ โดยภาพ 2 มิติ คือภาพท่ีแสดงรายละเอียดด้าน กว้าง/ยาว ส่วน 3 มิติ คือภาพท่ี แสดงรายเอียดด้านกว้าง/ยาวและ ความสูง

การออกแบบแนวทางการแกป้ ัญหา 2. การเขยี นแผนภาพ เป็นการถ่ายทอดความคิด ของแนวทางการแก้ปัญหาที่เป็น วิธีการ โดยสร้างลาดับขั้นตอน การทางานเป็นระบบในลักษณะ ของรูปภาพเพื่อแสดงให้เห็นแนว ทางการแก้ปัญหาว่ามีวิธีการ อยา่ งไรไปจนถงึ ผลลพั ธ์ 5. ข้ามไดส้ าเร็จ 3. การเขยี นผังงาน เรม่ิ ต้น เป็นการถ่ายทอดความคิด (กระบวนการ) ของแนวทางการแก้ปัญหาท่ีเป็น (กระบวนการ) วิ ธี ก า ร โ ด ย ก า ร แ ส ด ง ล า ดั บ ข้ันตอนการทางานตงั้ แต่เริ่มต้นไป จบ จนถึงผลลัพธ์สุดท้าย โดยใช้ สั ญ ลั ก ษ ณ์ ม า ต ร ฐ า น ใ น ก า ร เขยี นผงั งาน (Flowchart)

การออกแบบแนวทางการแกป้ ญั หา 4. การสรา้ งแบบจาลอง เม่ือได้ออกแบบวิธีการแก้ปัญหาแล้ว ควรจะสร้างแบบจาลอง (Model) ข้ึนมา มีจุดประสงค์เพ่ือศึกษา วิเคราะห์ ตรวจสอบ นาเสนอแนวคิดในด้านที่ ต้องการ แบบจาลองมีหลายประเภท เช่น แบบจาลองการทางาน แบบจาลอง แสดงรูปร่างชนิ้ งาน แบบจาลองเพือ่ การทดสอบ สาหรบั แบบจาลองพื้นฐานท่ีใช้ ในระดับน้ีจะเปน็ แบบจาลองการทางานและแบบจาลองแสดงรูปรา่ งของชิ้นงาน แบบจาลองการแสดงรปู รา่ งชนิ้ งาน แบบจาลองการทางาน เปน็ แบบจาลองท่ี เป็นการจาลองที่ ส ร้ า ง ขึ้ น เ พื่ อ ศึ ก ษ า ไม่เน้นรูปร่าง แต่จะ หรือนาเสนอรุปร่าง เ น้ น ก า ร ท ด ส อ บ ของช้ินงาน การทางานของสว่ น ประกอบอขงช้ินงาน แบบจาลองชิ้นงาน แบบจาลองการทางาน

Good luck to all students.

Good luck to all students.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook