พ้ืนฐานการออกแบบ เพ่ือจัดการพนื้ ที่ ตามหลักทฤษฎีใหมป่ ระยุกต์ สู่ โคก หนอง นา โมเดล
เนือ้ หำวชิ ำ วิชำ กำรออกแบบเชิงภมู สิ ังคมไทยตำมหลกั กำรพฒั นำภมู ิสังคมอยำ่ งย่ังยนื เพอ่ื กำรพง่ึ ตนเอง และรองรบั ภัยพบิ ตั ิ 1. กรมกำรพฒั นำชุมชน เดินหน้ำเสรมิ สรำ้ งควำมเข้มแข็งชุมชน ขบั เคล่อื นโคก หนอง นำ โมเดล พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรง พระราชทานเกษตรทฤษฎีใหม่ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึง่ มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ โดย ดร. ววิ ัฒน์ ศลั ยกาธร ได้นามาใช้บรหิ ารจดั การทด่ี ินและเรียกอยา่ งง่ายว่า \"โคก หนอง นา โมเดล\" อันเปน็ แนวทาง ของการท่ีจะชว่ ยทาให้มนษุ ย์สามารถดารงชีวิตอยู่ไดอ้ ย่างม่ันคง ม่งั คง่ั และยังยนื ขจดั ปญั หาสิ่งแวดลอ้ มตา่ ง ๆ ทเ่ี ปน็ วกิ ฤตของโลกให้หมดส้นิ ไป ทัง้ ภัยแล้ง นา้ ทว่ ม อาหารไมป่ ลอดภยั ด้วยสารเคมี ยาฆา่ แมลง ฝุ่นละออง ป่า ไมล้ ดลงจนทาให้ธรรมชาติขาดสมดุล กรมการพัฒนาชมุ ชนจึงได้รว่ มมือกบั มลู นิธิกสิกรรมธรรมชาติ มหาวิทยาลยั พระจอมเกล้าเจ้า คณุ ทหารลาดกระบัง และ Earth Save ร่วมขบั เคลื่อนให้แนวทางตามแนวพระราชดาริของพระบามสมเดจ็ พระ เจา้ อยหู่ ัว รัชกาลที่ 9 ให้เกิดผลเปน็ รูปธรรมไปยงั ทุกตาบลทุกหมูบ่ ้าน ดว้ ยการสร้างความรู้ ความเข้าใจ และ เพิ่มทักษะให้กับบุคลากรกรมการพัฒนาชุมชน นาแนวทางและวิธีการบริหารจัดการพนื้ ที่ด้วยรูปแบบ \"โคก หนอง นา โมเดล\" มาปรับใช้ นอกจากนั้น ยังได้ปรับปรุงและพัฒนาพื้นท่ีของศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน วิทยาลัยการ- พัฒนาชุมชน และศูนย์พัฒนาอาชีพ 18 แห่ง ทั่วประเทศ ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ท่ีมีชีวิต และสร้างครัวเรือน ตวั อยา่ งทม่ี กี ารนาเอา \"โคก หนอง นา โมเดล\" มาบริหารจัดการพนื้ ทีอ่ ย่างน้อยหม่บู า้ นละ 1 ครอบครัว ซง่ึ การ ดาเนนิ งานจะยึดหลักการมีสว่ นร่วม และการช่วยเหลอื ซง่ึ กันและกันของพีน่ อ้ งประชาชน ใหป้ ระชาชนสามารถ เรยี นรู้และนาไปปรบั ประยกุ ตใ์ ชต้ ามภูมสิ ังคมและภูมินิเวศนข์ องแตพ่ ้ืนท่ี เพอื่ ใหเ้ กดิ การ \"พอกนิ พออยู่ พอใช้ พอรม่ เย็น\" เป็นขัน้ พ้นื ฐาน ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง คอื ทางรอดของประเทศ กล่าวคอื การพัฒนาภายใตป้ รชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียง จะนามาซึง่ ความพออยู่ พอกนิ และการพึ่งตนเอง การพัฒนาหรอื การแปลงปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งไปสกู่ ารปฏบิ ัติอยา่ งเป็นขน้ั เปน็ ตอนนัน้ และ สิง่ ท่ีจะต้องทราบและทาความเข้าใจให้ถอ่ งแทม้ ี 5 ข้อ ดงั นี้ 1) ความหมายและความสาคัญของปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2) ทฤษฎใี หม่จานวนกว่า 40 ทฤษฎี ทั้งทางดา้ นการจัดการดิน น้า ป่าไม้ และคน 3) มีวธิ ีการปฏิบัตอิ ยา่ งเป็นข้นั ตอน ซงึ่ จะตอ้ งสร้างพ้นื ฐาน คอื ความพอมี พอกนิ พอใช้ ของ ประชาชนส่วนใหญ่เปน็ เบื้องต้นก่อน โดยใชว้ ิธีการและอุปกรณ์ที่ประหยัดแต่ถูกต้องตามหลักวชิ า และเมอื่ ได้ พนื้ ฐานทีม่ ่ันคงพรอ้ มพอควรและปฏบิ ัติได้แล้ว จึงคอ่ ยสรา้ งค่อยเสรมิ ความเจรญิ และฐานะทางเศรษฐกจิ ขนั้ ที่ สงู ขึ้นในลาดับตอ่ ไป หรอื ก้าวสู่เศรษฐกิจพอเพยี งข้นั กา้ วหนา้ คือ พอเพียง แบง่ ปนั และแขง่ ขันได้ นนั่ เอง 4) เทคนคิ หรอื นวตั กรรม ทส่ี ามารถถอดบทเรยี นไดม้ ากกว่า 47,000 บทเรียน จาก โครงการในพระราชดาริ 4,741 โครงการ
5) มีการบริหารแบบคนจน ดังพระราชดารัสของพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศรมหา- ภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ในหลวงรชั กาลที่ 9 เนื่องในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา วันท่ี 4 ธนั วาคม 2534 ณ ศาลาดุสิดาลยั 2. สถำนกำรณ์วกิ ฤตโลก (นำ้ อำหำร พลังงำน) - น้า จากสภาพความแปรปรวนของภูมิอากาศ การเติบโตของประชากรโลก การเปลีย่ นแปลงวถิ ีการดาเนนิ ชีวิตและความตอ้ งการอาหารทเ่ี พมิ่ ขน้ึ ในขณะทีท่ รัพยากรน้าจากธรรมชาตซิ ึ่งมี บทบาทสาคัญต่อการดารงชีวิตของมนุษย์มีปริมาณลดลง อาจนาไปสู่ความขัดแย้งเร่ืองน้าอย่างรุนแรงใน อนาคต จึงเป็นที่มาของคาว่า Water Footprint หรือร่องรอยการใช้น้า มีตัวเลขจากองค์การสหประชาชาติ ยนื ยนั วา่ แม้โลกจะมีนา้ เปน็ องคป์ ระกอบถึง 3 ใน 4 ส่วน แตป่ ระชากร 1 ใน 5 ของโลกกลบั ขาดแคลน น้าสะอาดสาหรับการบริโภคส่งผลให้มีคนเสียชีวิตจากโรคภัยที่เกิดจากการขาดแคลนน้าสะอาดสาหรับการ บริโภคถึงปีละ 27 ล้านคน สาเหตสุ าคญั ทที่ าใหป้ ัญหาเรอื่ งน้ากลายเปน็ วิกฤติโลก มิใช่เพียงอัตราการเตบิ โต ของประชากรโลกเทา่ นัน้ หากยังเกดิ จากการอพยพเขา้ มาสู่สังคมเมืองมากขึ้นภาคอุตสาหกรรมเติบโต - อาหาร สถานการณ์ราคาอาหารโลกได้เข้าสู่ข้ันวิกฤต โดยเฉพาะราคาธัญพืช ข้าวเจ้า และขา้ วสาลไี ด้เพิม่ ข้ึนมากท่สี ดุ ราคาข้าวเจ้าเพิม่ ขน้ึ เป็นเท่าตัวต้งั แต่เดือนมีนาคมทผี่ า่ นมา โดยภาพรวมแลว้ ใน รอบ 3 ปี ราคาอาหารไดเ้ พิ่มข้นึ เร่ือย ๆ ถึงเกอื บเทา่ ตัว และจากราคาอาหารทเี่ พิม่ ขึ้น ทาให้ประเทศยากจนที่ ตอ้ งนาเข้าอาหารประสบวิกฤตอย่างหนัก ราคาอาหารในประเทศที่เพมิ่ มากข้ึน ทาใหค้ นจนในประเทศไม่มีเงิน พอทจ่ี ะซอ้ื อาหาร จึงนาไปสูก่ ารเดนิ ขบวนประทว้ งและความวนุ่ วายในหลายประเทศ ท่ีหนกั ท่สี ดุ เหน็ จะเปน็ ใน ทวีปแอฟรกิ า นอกจากนัน้ ประเทศในเอเชยี ใตก้ ็ประสบปญั หาอยา่ งหนกั เช่น อินเดียและบงั คลาเทศ รวมไปถงึ ประเทศแถบอเมรกิ ากลาง อย่างเช่น ไฮติ ก็เกิดการจลาจลวุน่ วายขึ้น - แหล่งพลังงานธรรมชาติประเภทสร้างทดแทนใหมไ่ มไ่ ด้ เช่น น้ามัน ถ่านหิน กา๊ ซธรรมชาติ กาลงั ขาดแคลน จวนเจียนจะหมดโลก ทาให้พลังงานย่งิ มีราคาแพงมากขึ้น ความหวาดวิตกว่าพลังงานจะหมด โลก มีราคาแพง ทาให้มนุษย์รู้สึกว่าเกิดวิกฤตพลังงานท่ีต้องเร่งแก้ไขจัดการ ป้องกัน การผลิตและการใช้ พลังงานของมนุษย์ ทาใหเ้ กดิ ผลกระทบต่อระบบนิเวศหรือสิ่งแวดลอ้ มทางธรรมชาติอย่างรนุ แรง อย่างชนดิ ที่ ไมเ่ คยเกิดขึ้นมาก่อน เช่น การใชพ้ นื้ ทป่ี ่าเพอ่ื สร้างเขอื่ นผลติ ไฟฟา้ พลงั น้าไดท้ าลายระบบนิเวศของปา่ ไปท่ัวโลก การขนส่งน้ามันก่อให้เกิดมลพษิ ทางน้าจากการร่ัวไหลของน้ามัน และการร่วั ไหลของสารกัมมันตภาพรงั สีจาก โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์และกากนวิ เคลียร์ การเกิดควันพษิ หมอกพิษในเมืองต่าง ๆ ท่วั โลก ฯลฯ ผลจาก การใช้พลังงานมาก ทาให้โลกเกิดอาการร้อนผิดปกติท่ีเรียกว่าปฏิกิริยาเรือนกระจก และเกิดช่องโหว่ใน บรรยากาศชนั้ โอโซน ท่กี อ่ ผลกระทบต่อสขุ ภาพมนษุ ย์ 3. แนวทำงแก้ไขและรองรับภัยพิบัติด้วยกำรบริหำรจัดกำรพ้นื ที่ “โคก หนอง นำ” ท่ า ม ก ล า ง ปั ญ ห า ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ส ภ า พ ภู มิ อ า ก า ศ ที่ มี ส า เ ห ตุ ห ลั ก ม า จ า ก ก า ร ใ ช้ ทรัพยากรธรรมชาตอิ ย่างไรขอบเขตของมนุษย์ไดส้ ่งผลกระทบในวงกว้างต่อสมดลุ ระบบนิเวศและสง่ิ แวดล้อม การเกิดปรากฏการณต์ ่าง ๆ ท่ีเป็นภัยคุกคามตอ่ แหล่งอาหารเช่นความแห้งแล้งน้าทว่ มโรคระบาดโดยเฉพาะ อยา่ งยิ่งภาวะวกิ ฤตที่สง่ ผลกระทบตอ่ ภาคเกษตรอย่างมากคอื การเกิดภัยแล้งท่นี บั วนั จะมคี วามรนุ แรงเพ่ิมข้ึน ทกุ ปี ทีผ่ ่านมาประเทศไทยรบั มอื กับปญั หาภยั แลง้ ในหลากหลายรูปแบบเชน่ การสร้างอ่างเก็บนา้ การสรา้ งเขอื่ น หรอื การจดั ทาระบบชลประทานซง่ึ รูปแบบเหล่านสี้ ามารถใช้แก้ไขปญั หาไดใ้ นบางพน้ื ที่ของประเทศไทยเทา่ น้ัน
สาหรับพื้นท่ีหา่ งไกลนอกเขตชลประทานทมี่ ีพ้นื ท่ีถึง 121,200,000 ไร่ ยงั คงต้องประสบกบั ปญั หาการขาด แคลนน้าเพ่อื ใช้ในการเกษตร โคกหนองนาโมเดลจงึ เป็นรปู แบบหน่ึงของการแกไ้ ขปญั หาของเรื่องการจัดการน้า ทสี่ ถาบัน เศรษฐกจิ พอเพียงและมลู นิธิกสกิ รรมธรรมชาตไิ ด้น้อมนาพระราชดารัสในรัชกาลท่ี 9 ดา้ นการทาเกษตรทฤษฎี ใหม่ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้บริหารจดั การน้าและพ้ืนที่การเกษตร โดยมีการผสมผสานกับภูมิปญั ญา พื้นบ้านใหส้ อดคลอ้ งกัน หลกั การออกแบบพืน้ ที่ตามหลักภมู สิ ังคม (Geosocial) มีตัวแปรสาคญั 5 ประการ ไดแ้ ก่ 1) ไฟ (ทิศทางของแสง) สารวจ ทศิ เหนือ ใต้ ตะวนั ออก ตะวนั ตก และทศิ ทางการข้ึนของดวง อาทติ ย์ 2) ลม การออกแบบบ้านให้มีทิศทางของช่องลมสอดรับกับลมที่พัดมาในแต่ละฤดูกาล จะช่วยลด การใช้พลังงานในบ้าน และเพื่อให้บ้านเย็นอยู่สบาย โดยตามหลักปกติ ลมฝนจะพัดมาทางทิศ ตะวันตกเฉียงใต้ และลมหนาวหรือลมข้าวเบาจะพัดมาทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ทั้งน้ีควรวางตาแหน่ง อาคาร บา้ นเรือน ลานตากข้าว และลานนวดขา้ ว ไม่ให้ขวางทิศทางลมหนาว 3) ดิน วางแผนการขดุ หนองนา้ และการปรบั ปรุงสภาพดินใหเ้ หมาะสม โดยนาดินทข่ี ดุ หนอง มาทาโคก ใหโ้ คกอยูท่ างทศิ ตะวันตกและปลูกไม้ใหญไ่ วบ้ นโคก พร้อมปลกู ป่า 3 อยา่ ง ประโยชน์ 4 อย่าง เม่อื ต้นไมส้ ูงใหญ่จะชว่ ยบังแดดและใหร้ ม่ เงา 4) น้า ขดุ หนองนา้ โดยดูทางไหลของน้าเข้าและออกจากพ้ืนท่ี วางตาแหน่งหนองนา้ ในทิศ ที่ ให้ลมร้อนพัดผ่าน จะทาให้บ้านร่มเย็น ขุดหนองให้มีขอบคดโค้งเพื่อเพ่ิมพื้นที่เพาะปลูก และทาตะพักให้ ลดหล่ันตามระดับความสูง โดยช้นั แรกควรมคี วามสูงเท่ากบั ระดับของแสงแดด ที่ส่องลงไปถึงปลูกไมน้ า้ หรอื พืช น้าเพือ่ ให้ปลาสามารถวางไข่ อนบุ าลสตั ว์น้าและเปน็ ทอี่ ยอู่ าศยั 5) คน ออกแบบให้เหมาะสมกับความต้องการ ฐานะ และกาลังของเจา้ ของทดี่ นิ 4. กรณศี ึกษำควำมสำเรจ็ “โคก หนอง นำ” โครงการพลังคนสร้างสรรค์โลก รวมพลังตามรอยพ่อของแผ่นดิน ปี 5 พ.ศ. 2560 จ.เชยี งใหม่ โครงการฯ ในปีท่ี 5 นี้ ได้ดาเนินงานเดินหน้าขยายผลจัดการ ดิน น้า ป่า อย่างยั่งยืนตามศาสตร์ พระราชา ด้วยความร่วมมือจากพันธมิตรจากทุกภาคสว่ น ภายใตแ้ นวคิด \"แตกตวั ทว่ั ไทย เอามื้อสามคั ค\"ี เพ่ือ นอ้ มราลึกในพระมหากรณุ าธคิ ณุ ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศรมหา-ภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรม นาถบพิตร ท่ีพระราชทานองค์ความรู้ศาสตร์พระราชา ในการบริหารจัดการ ดิน น้า ป่า แก่พสกนิกรชาวไทย สง่ ต่อแรงบันดาลใจผ่านการถา่ ยทอดเรอ่ื งราวความสาเร็จของผ้นู าศาสตรพ์ ระราชามาประยุกต์ใชใ้ หเ้ หมาะสม ตามสภาพภมู สิ งั คม เพื่อเผยแพร่องคค์ วามรู้ สกู่ ารลงมือปฏิบัติ พรอ้ มขยายผลความสาเร็จของโครงการฯ จาก ลมุ่ นา้ ป่าสกั สลู่ ุ่มนา้ อน่ื ๆ อันจะนาไปสู่การแกป้ ญั หา น้าทว่ ม น้าแลง้ อย่างย่งั ยืน การ \"เอามอื้ สามัคคี\" หรือ \"การลงแขก\" ตามประเพณีดัง้ เดิมของคนไทย ถูกนามาเป็นกลวิธีใน การขับเคลื่อนเพ่ือประสานความสามัคคีเช่ือมโยงเครือข่ายต่าง ๆ เข้าไว้ด้วยกัน และขณะเดียวกันก็เป็น เครื่องมือในการขยายเครือข่ายท่ีมีประสิทธภิ าพอีกด้วย นอกจากน้ัน ยังเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้จากการ ปรับปรุงพ้ืนท่ีตามแนวทางศาสตร์พระราชาในสภาพภูมิสังคมท่ีแตกต่างกัน โดยโครงการได้กาหนดพ้ืนที่ เป้าหมาย \"เอามือ้ สามัคคี\" ข้ึน ใน 4 พน้ื ที่ คือ กรงุ เทพฯ จ.ราชบุรี จ.อุดรธานี และ จ.เชยี งใหม่
Search