1
2
3
คำนำ รายวิชาพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ทางเทคโนโลยีดิจทิ ัลเพื่อการศึกษา รหสั TN62611 น้ีได้ แบ่งเนื้อหาในการเรียนการสอนไว้ 10 บท โดยมวี ตั ถปุ ระสงคใ์ ห้ผู้เรียนศึกษา รอบรูใ้ นการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ในสถานการณ์จำลองด้านการปฏิบัติการสอน บูรณาการศาสตร์การสอน เทคนิคการสอน และการเปล่ยี นพฤติกรรมและการเรียนรทู้ ่ีเก่ียวกบั การเตรียมพร้อมดา้ นการปฏิบัติการสอนในรูปแบบ ดิจิทัล และเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาและการจัดการเรียนรู้ โดยเริ่มต้นตั้งแต่ การศึกษา ค้นคว้า ระดมสมอง อภิปราย เพื่อสามารถออกแบบและพัฒนาพฤติกรรมการสอนด้าน เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาและการจัดการเรียนรู้ ฝึกบทบาทและสถานการณ์ความเป็นครูในยุค ปจั จบุ ัน รวมถึงประเด็นและแนวโน้มทางเทคโนโลยดี ิจิทัลเพื่อการศึกษา และการจัดการเรยี นรู้ในอนาคต ซงึ่ นกั ศึกษาหรอื ผู้ที่สนใจสามารถค้นคว้าเพิม่ เติมจากเอกสารทผ่ี ้เู ขยี นนำเสนอไวใ้ นบรรณานุกรมได้ ผ้เู รยี นรายวิชาพฤติกรรมการจดั การเรียนรู้ทางเทคโนโลยีดจิ ิทลั เพ่ือการศึกษา รหสั TN62611 ในแต่ละบท สามารถนำหลักการและความรู้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในสถานการณ์จำลองด้าน การปฏิบัติการสอน บูรณาการศาสตร์การสอน เทคนิคการสอน ไปศึกษาต่อยอดในรายวิชาอื่น ๆ ท่ี เกี่ยวข้อง และสำหรับผู้ที่ไม่ได้ศึกษาในสาขาวิชาเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา สามารถน ำความรู้ ด้านการหลักการบูรณาการศาสตร์การสอน ไปใช้ในการประกอบการเรียนการสอนในรายวิชาท่ี เกี่ยวข้องได้ และสามารถค้นคว้าข้อมูลเพิม่ เตมิ จากเอกสารตำราและสื่ออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อเพิ่มพนู ความเขา้ ใจและขยายแนวความคิดใหก้ วา้ งยิ่งขึน้ ขอขอบคุณท่านผู้รู้ทุกท่านที่ผู้เรียบเรียงได้นำเอาผลงานของท่านมาศึกษารวบรวมและ เรียบเรียงเป็นเอกสารประกอบการสอนเล่มนี้ขึ้น เพื่อพัฒนาทักษะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 การ ออกแบบการสอนหลกั การทฤษฎีสู่การปฏิบัติ บรู ณาการศาสตร์ด้านพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ในยุค ดจิ ิทัล ส่ือและเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลเพ่ือการศึกษา การออกแบบกิจกรรมและรูปแบบเทคนิคการเรียนการ สอน การออกแบบการเรียนแนวดิจิทัล ซึ่งผู้เรียนหรือผู้ที่สนใจสามารถค้นคว้าเพิ่มเติมจากเอกสารท่ี นำเสนอไวใ้ นบรรณานกุ รมได้ ผู้เรียบเรยี งหวังเป็นอย่างยิง่ ว่า เอกสารประกอบการสอนทางอิเล็กทรอนกิ ส์ (E-Book) เล่มน้ี คงเป็นประโยชน์ต่อนักศึกษา อาจารย์ผู้สอนและผู้ที่สนใจทั่วไป และยินดีน้อมรับด้วยความขอบคุณ อย่างยิ่ง หากมีข้อเสนอแนะที่ช่วยให้เอกสารประกอบการสอนเล่มนี้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น เพื่อนำไปเป็น แนวทางในการปรับปรุงจัดทำคร้งั ตอ่ ไป สุจติ ตรา จนั ทร์ลอย กรกฎาคม 2566 ก
สารบัญ หนา้ เรื่อง (1) คำนำ (3) สารบญั 1 บทท่ี 1 คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงคด์ า้ นพฤตกิ รรมของครูในศตวรรษที่ 21 1 5 การจำแนกพฤตกิ รรมทางการศกึ ษา 8 คณุ ลักษณะท่พี งึ ประสงค์ของครใู นศตวรรษที่ 21 10 มาตรฐานวิชาชพี ทางศึกษา 19 จรรณยาบรรณของวชิ าชพี 21 เอกสารอา้ งองิ 22 บทที่ 2 ครูมืออาชีพสูก่ ารเรียนรู้แบบมืออาชีพ 26 นโยบายรัฐบาลกบั การศึกษา 21 การพัฒนาความเปน็ ครมู อื อาชีพต้องเร่มิ ที่ผูเ้ ปน็ ครู 27 การสร้างแรงจงู ใจในการเรียนรู้ 28 ทักษะการเรียนรู้สำคญั กวา่ ความรู้ 29 ส่ิงทคี่ รูมอื อาชพี ตอ้ งปรับปรงุ 33 สภาพการเรยี นรใู้ นโลกแห่งการเรยี นรู้ 34 บทสรปุ 36 เอกสารอ้างอิง 40 บทที่ 3 ครกู บั เทคโนโลยกี ารสอนในศตวรรษท่ี 21 42 ความสำคญั ของเทคโนโลยกี ารสอน (ICT) 52 ทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 55 เอกสารอา้ งอิง 57 บทที่ 4 การจัดการเรียนรผู้ ู้เรยี นในยุคดจิ ิทลั 60 การจัดการเรียนรู้เพอ่ื พฒั นาผเู้ รียนในยุคดจิ ิทลั 61 การเรยี นรูใ้ นยคุ ดิจทิ ลั 62 ผู้สอนในยุคดิจิทลั 64 ผเู้ รียนในยุคดจิ ทิ ัล การรู้ดิจิทลั ข
สารบัญ(ต่อ) เร่ือง หน้า บทสรปุ 69 เอกสารอ้างอิง 70 บทท่ี 5 การจดั การเรยี นรสู้ ำหรบั ผู้เรียนในยุค Thailand 4.0 71 การเตรียมหลักสตู ร บทบาทของครูผูส้ อนในยุคThailand 4.0 73 ทกั ษะท่ีสำคญั สำหรับผ้เู รียนในยุคไทยแลนด์ 4.0 74 บทสรุป 76 เอกสารอา้ งองิ 88 บทที่ 6 ศตวรรษท่ี 21 : ทักษะการเรยี นรูส้ คู่ วามเปน็ ครูมืออาชพี 87 อนาคตการศกึ ษาไทย 89 สภาพการณค์ รูไทยกับทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 91 แนวคดิ การพฒั นาทกั ษะการสอนของครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา 92 ทกั ษะการเรยี นร้สู ู่ความเปน็ ครมู ืออาชพี 95 บทสรปุ 100 เอกสารอ้างองิ 105 บทที่ 7 การใช้ OLE Model พัฒนาการจดั การเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ 106 การศกึ ษาฐานสมรรถนะ (Competency – Based Education: CBE 107 แนวคิดเก่ยี วกบั สมรรถนะ 107 หลกั สตู รฐานสมรรถนะ 108 การจัดการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ ด้วย OLE Model 109 หลักการจดั การเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ 111 บทสรปุ 112 เอกสารอา้ งองิ 117 บทที่ 8 การรู้ดิจทิ ัล (Digital literacy) 118 ความหมายของการรดู้ จิ ทิ ลั 119 กรอบแนวคดิ การรู้ดจิ ิทลั ระดับของการรดู้ ิจิทลั 119 121 ค 127
สารบญั (ต่อ) เรื่อง หนา้ การพฒั นาการรดู้ ิจิทัล 130 การสอนการรู้ดิจทิ ลั 139 บทสรุป 143 เอกสารอา้ งองิ 144 บทท่ี 9 เครือ่ งมอื เทคโนโลยีดิจทิ ลั เพือ่ การศกึ ษากับการประยุกต์ใช้เพ่ือสรา้ งสรรค์ 145 นวตั กรรมการจดั การเรยี นรู้ บทเรียนคอมพิวเตอรม์ ลั ติมีเดยี สกู่ ารสร้างสรรค์นวัตกรรมการศึกษา 146 บทเรียนออนไลน์ LMS (e-Learning) กับการสร้างสรรค์นวัตกรรม 152 การศึกษา การเรียนร้โู ดยประยุกต์ใช้โทรศพั ทเ์ คลื่อนท่ผี า่ นเวบ็ แอปพลเิ คชนั 159 การสรา้ งสรรค์นวตั กรรมการศกึ ษาผ่าน Google for Education 165 5. การประยุกต์ใชเ้ ครือ่ งมือทางเทคโนโลยีการศึกษากับเครื่องมือออนไลน์ 167 ทีจ่ ำเป็น บทสรปุ 172 เอกสารอา้ งอิง 173 บทท่ี 10 กระบวนทัศนใ์ หมข่ องการสอนยุคดจิ ทิ ัลส่นู วตั กรรมการศึกษา 175 กระบวนทัศนใ์ หมข่ องระบบการเรยี นการสอนยุคดจิ ทิ ัล 176 สมรรถนะด้านดจิ ทิ ัลและเทคโนโลยสี ารสนเทศสำหรบั การเรียนร้ยู คุ ใหม่ 185 ทกั ษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21 (21st Century Learning Skills) 188 STEM การจดั การเรียนการสอนยุคใหมใ่ นศตวรรษที่ 21 200 บทสรุป 208 เอกสารอ้างองิ 209 ง
บทท่ี 1 คุณลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์ดา้ นพฤติกรรมของครใู นศตวรรษที่ 21 พฤติกรรมการศึกษา เป็นคุณลักษณะของผู้เรียนที่เกิดจากการเรียนรู้ โดยผ่านกิจกรรม การเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร ดังนั้นผู้สอนหรือบุคลากรที่ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการจัด การศึกษา จำเป็นต้องทราบรายละเอียดของจุดมุ่งหมายทางการศึกษาอย่างชัดเจน เพื่อสร้างความ เข้าใจให้ตรงกันทุกฝ่าย จากบลูมและคณะ (Benjamin S.Bloom and Other, 1971) ได้จำแนก พฤติกรรมทางการศึกษาออกเป็น 3 ด้าน คือ 1) พฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) 2) พฤตกิ รรมดา้ นจิตพิสัย (Attentive Domain) 3) พฤติกรรมดา้ นทักษะพสิ ยั (Psychomotor Domain) ดงั นัน้ จงึ จำเปน็ ท่ผี ้มู สี ่วนเก่ยี วขอ้ งในการวัดผลการศึกษา ต้องเข้าใจ ถงึ พฤติกรรมทางการศึกษาอย่าง ถ่องแท้ เพื่อจะได้นำไปจำแนกให้ครอบคลุมพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน ในแต่ละด้านให้ สอดคลอ้ งกบั จดุ มุ่งหมายการศกึ ษา การจำแนกพฤตกิ รรมทางการศึกษา การจำแนกพฤติกรรมทางการศึกษา บลูมและคณะ (Benjamin S.Bloom and Other, 1971) นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน ได้ร่วมกันศึกษาพฤติกรรมการเรียนรู้ แล้วจัดกลุ่มพฤติกรรมได้ 3 หมวดหมู่ เรียกว่าจุดมุ่งหมายทางการศึกษา (Education Objectives) ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญ อย่างยิ่งในการจัดกิจกรรมเพื่อการศึกษา เป็นสื่อให้นักพัฒนาหลักสูตรและครูผู้สอนมีความเข้าใจ ตรงกัน สามารถยึดถือเป็นแนวกำหนดจุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษาได้อย่างสอดคล้องกันทุก ระดับ ดงั น้ี 1. ด้านพฤติกรรมพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) เป็นกลุ่มพฤติกรรมที่เกิดจากการใช้สมอง หรอื สตปิ ญั ญา 2. ด้านพฤติกรรมจิตพิสัย (Affective Domain) เป็นกลุ่มพฤติกรรมที่เกิดจากความรู้สึกนึก คิด หรอื ความรู้สึกทางจิตใจ 3. ด้านพฤติกรรมทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) เป็นกลุ่มพฤติกรรมที่เกิดจากการ ใช้กลา้ มเนอื้ และประสาทสัมพนั ธ์ หรอื พฤติกรรมจากการไดล้ งมือปฏิบตั ิจรงิ การจำแนกพฤติกรรมดา้ นพุทธพิสัย พฤติกรรมด้านพุทธพิสัยนี้ เกิดจากพลังความสามารถทางสมอง ซึ่งไปมีปฏิสัมพันธ์กับ สิง่ แวดลอ้ ม หรือสง่ิ เรา้ ทำใหเ้ กิดการเรียนร้ขู นึ้ ในตวั บคุ คล ประสบการณต์ ่าง ๆ มีมากมายหลากหลาย มีทั้งง่ายๆ และยุ่งยากซับซ้อน ทำให้ต้องจัดจำแนกระดับความสามารถทางสมอง หรือสติปัญญา 1
ออกเป็นระดับต่าง ๆ โดยบลูมและคณะ ได้ร่วมกันจัดจำแนกออกเป็น 6 ระดับ และมีรายละเอียด ของการจำแนกพฤตกิ รรมย่อยแตล่ ะระดับดังน้ี (สรุ ชัย มชี าญ 2540 : 37-41) 1. ความรู้ (Knowledge) ในทนี่ ี้ ความรู้ หมายถงึ ความสามารถในการระลึกถึงเร่ืองราวต่าง ๆ ออกมาได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ เช่น สามารถบ่งบอกถึงเหตุการณ์ วัน เวลา วิธีการ หรือขั้นตอนการกระทำสิ่งหนึง่ สิ่งใดอย่าง ถูกตอ้ ง ความรูน้ ้ีจงึ ข้นึ อยู่กบั การที่บุคคลได้รับรู้และจดจำเอาไว้อยา่ งไร ก็จะระลึกออกมาตามลักษณะ นั้น นักการศกึ ษาจำนวนมากจงึ นิยมเรยี กพฤติกรรมข้นั นี้ว่า ความรู้–ความจำ ซงึ่ จำแนกเปน็ 3 ประเภท คอื 1.1 ความรู้เฉพาะเจาะจง (Specifics) เป็นความสามารถในการระลึกข้อมูลต่าง ๆ ที่เป็น รายละเอียดปลีกย่อย มีลักษณะเป็นรูปธรรมหรือสัญลักษณ์ ถือเป็นสมรรถภาพขั้นต่ำสุดที่จะเป็น พื้นฐานให้เกิดสมรรถภาพขั้นสูง ที่จะรับรู้สิ่งที่ซับซ้อนและเป็นนามธรรมยิ่งขึ้นต่อไป จำแนกเป็น 2 ระดับยอ่ ยคือ 1.1.1 ความรู้เกี่ยวกับคำศัพท์และนิยาม (Terminology) เป็นความสามารถในการ บอกความหมายของคำ กลุ่มคำ และสัญลักษณ์ต่าง ๆ ในลักษณะตรงไปตรงมาตามที่ได้เคยรู้และ จดจำไว้ เช่นบอกนยิ ามของคำวา่ “เส้นตรง” ได้อย่างถูกตอ้ ง 1.1.2 ความรูเ้ ก่ยี วกับข้อเท็จจริงเฉพาะ (Specific Facts) เปน็ ความสามารถในการ บ่งบอกเรื่องราวต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวกับรายละเอียดเฉพาะของเหตุการณ์ บุคคลสถานที่ วันที่ ปี พ.ศ. ขนาด จำนวน..ฯลฯ เชน่ บอกไดว้ า่ พระมหากษตั ริยพ์ ระองคใ์ ดในสมยั อยุธยาที่ครองราชยย์ าวนานท่สี ดุ 1.2 ความรู้เกี่ยวกับวิธีดำเนินการเฉพาะอย่าง (Way and Means of Dealing with Specific Facts) เป็นความสามารถท่บี ่งบอกถึงวธิ ีการจัดระเบียบ วิธีการศกึ ษา วิธีการตัดสิน วิธีการ สบื เสาะความรู้ หรือแนวปฏบิ ตั ิอืน่ ใด ตามข้อเทจ็ จริงทไี่ ด้กำหนดไว้ ซ่งึ จำเป็น 5 พฤตกิ รรม คอื 1) ความรเู้ ก่ียวกบั ระเบียบแบบแผน (Conventions) 2) ความรเู้ กี่ยวกับลำดับขั้นและแนวโนม้ (Trend and Sequence) 3) ความร้เู กยี่ วกับการจำแนกประเภทและจดั กลมุ่ (Classification and Categories) 4) ความรู้เกี่ยวกบั เกณฑ์ (Criteria) 5) ความรู้เกย่ี วกับวิธีการ (Methodology) 1.3 ความรู้รวบยอดและนามธรรมในแต่ละเนื้อเรื่อง (Universal and Abstractions in a Field) เป็นความสามารถที่จะบ่งบอกถึงแนวคิดที่จะเป็นจุดเด่น โครงสร้างใหญ่ ทฤษฎี และข้อสรุป อ้างอิง ซึ่งจะนำไปใช้ในการแก้ปัญหาและศึกษาปรากฎการณ์ต่าง ๆ ในสาขาวิชานั้น ซึ่งถือว่าเป็น ความรู้ระดับสูงสุด อันมีลักษณะที่เป็นนามธรรมและซับซ้อนมากจำแนกเป็น 2 ประเภท 1) ความรู้ เกี่ยวกับหลักวิชาและข้อสรุปอ้างอิง (Principles and Generalizations) 2) ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎี และโครงสร้าง (Theories and Structures) 2
2. ความเขา้ ใจ (Comprehension) ความเข้าใจเป็นสมรรถภาพทางสมองของบุคคล ในการจัดระเบียบความคิดแล้วแสดง ออกมา และสามารถที่จะนำเสนอความรู้ความคิดที่ชัดเจนกว่าของเดิม โดยไม่จำเป็นต้องไปสัมพันธ์ กับเร่อื งอื่น จำแนกเป็น 3 ประเภท คอื 2.1 การแปลความ (Translation) เป็นความสามารถในการถอดความหรือถอดแบบส่ือ ความหมายจากรูปลักษณ์อื่น ๆ ซึ่งเป็นการสื่อความให้สามารถรู้ความหมายตรงกัน เช่น การแปล ความหมายข้อความ คำพังเพย สุภาษิต คำคม หรือสัญลักษณ์ให้สื่อความได้ง่ายขึ้น หรือการ แปลภาษาคณิตศาสตร์ให้เปน็ สญั ลักษณ์หรอื กลบั กนั 2.2 การตีความ (Interpretation) เป็นความสามารถในการสื่อความหมายโดยการอธิบาย หรือสรุปความ ซึ่งมีลักษณะที่ลุ่มลึกกว่าการแปล เพราะการแปลจะมีลักษณะการสื่อความหมายโดย การถอดความจากรูปลักษณ์หนึ่งไปอีกรูปลักษณ์หนึ่งโดยตรง แต่การตีความหมายจะต้องมีการจัด ระเบียบใหม่ เรียบเรียงใหม่ แสดงแนวคิดใหม่ แต่ยังรักษาความหมายเดิมไว้ เช่น สามารถสรุป ความคิดทง้ั หมดออกเป็นประเด็นสำคัญตามตอ้ งการ 2.3 การขยายความ (Extrapolation) เปน็ ความสามารถในการสื่อความหมายโดยการขยาย กรอบความคิด คาดคะเนแนวโน้มของข้อมลู ว่าจะมีทิศทางไปทางใด มผี ลลพั ธ์ออกมาเป็นอย่างไร ซ่ึง จะต้องสอดคล้องกบั ความหมายดงั้ เดมิ หรอื ต้องอาศยั ขอ้ มูลเดมิ เป็นเครอื่ งตัดสนิ ผลลัพธ์ตา่ ง ๆ 3. การนำไปใช้ (Application) การนำไปใช้เป็นความสามารถในการประยุกต์หลักการ เทคนิค แนวคิด หรือทฤษฎีต่าง ๆ เพื่อแก้ปัญหาในสถานการณ์ที่แปลกใหม่ รวมไปถึงการนำกฎเกณฑ์หรือหลักความรู้ในเรื่องใดเรื่อง หนึ่งไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ เช่น นักเรียนสามารถบอกได้เสือ้ ผ้าเด็กอ่อนควรทำความผา้ ชนิดใดจงึ จะเหมาะสามท่ีสดุ ภายหลงั จากท่ีไดเ้ รียนเกย่ี วกับผา้ และคณุ สมบัติของผา้ แตล่ ะชนิดแล้ว 4. การวเิ คราะห์ (Analysis) การวิเคราะห์ หมายถึง ความสามารถในการแยกแยะรายละเอียดของเนื้อหา เรื่องราว เหตุการณ์ หรือข้อเท็จจริงใด ๆ เพื่อจำแนกให้เห็นส่วนประกอบ สาระสำคัญ และความสัมพันธ์ของ ส่วนประกอบเหล่าน้ัน ตลอดจนสกดั ให้สิง่ ทีเ่ ป็นหลักการท่ีเป็นตน้ กำเนดิ ทำให้สว่ นประกอบเหล่านน้ั รวมกนั เป็นกลุม่ กอ้ นหรือเปน็ เรอ่ื งราวขนึ้ มาได้ การวเิ คราะหจ์ ึงมเี ป็นหมายทจ่ี ะค้นหาความจริงที่แฝง อยูจ่ ำแนกเป็น 3 ชนิด คอื 1) การวิเคราะห์ส่วนประกอบ (Analysis of Elements) 2) การวเิ คราะหค์ วามสมั พันธ์ (Analysis of Relationships) 3) การวิเคราะห์หลักการ (Analysis of Organizational Principles) 3
5) การสงั เคราะห์ (Synthesis) การสงั เคราะห์ หมายถึง ความสามารถในการผสมผสานส่วนยอ่ ยเข้าเป็นเร่ืองราวเดียวกันซึ่ง จะเกี่ยวข้องกับกระบวนการทำงาน การจัดเรียบเรียงและผสมผสานให้เกิดสิ่งใหม่ ต้องดัดแปลงปรับปรุง ของเก่าให้ดีขึน้ มีคุณภาพสูงขนึ้ จำแนกเปน็ 3 ระดับ คอื 1) การสังเคราะห์ข้อความหรือการถ่ายทอดความคิด (Production of a Unique Communications) 2) การสังเคราะห์แผนงาน หรอื เสนอโครงการดำเนินงาน (Production of a Plan) 3) การสังเคราะห์ความสัมพันธ์ของสิ่งที่เป็นนามธรรม (Derivation of Set of Abstract Relation) 6. การประเมนิ คา่ (Evaluation) การประเมินค่า หมายถึง การตัดสินเกี่ยวกบั คณุ ค่าของสิง่ หนึ่งสิ่งใด ทั้งนี้อาจเป็นการตัดสิน โดยยึดถือตามปริมาณ หรือคุณภาพ แต่จะต้องมีเกณฑ์ที่เหมาะสมเพื่อใช้เป็นมาตรฐานในการตัดสิน จำแนกเป็น 2 ระดับ คือ 1) การตัดสินโดยอาศัยข้อเท็จจริงภายในเหตุการณ์ 2) การตัดสินโดยใช้ เกณฑ์ภายนอก การปรบั พฤตกิ รรมด้านพทุ ธพิสยั ของบลมู จากข้อค้นพบ ดังกล่าว ในช่วงระหว่างปี 1990 – 1999 เดวิด แครทโวทล์ (David Krathwohl) ซึ่งเป็นหนึ่งในคณะที่ได้ร่วมสร้างจุดมุ่งหมายการศึกษาเดิม และโลริน แอนเดอร์สัน (Lorin Anderson) ลูกศิษย์คนหนึ่งของบลูมได้รวบรวมนักจิตวิทยา นักทฤษฎีหลักสูตร นักวิจัย ทางด้านการเรียนการสอน และผู้เชี่ยวชาญทางด้านวัดและประเมินผล เพื่อปรับปรุงจุดมุ่งหมาย การศกึ ษาดา้ นพุทธพสิ ัยของบลูม สว่ นตัวบลมู เองนัน้ ไม่สามารถเข้ามสี ว่ นรว่ มด้วย เนือ่ งจากป่วยและ ได้เสียชีวิตไปก่อนที่มีการตีพิมพ์จุดมุ่งหมายการศึกษาฉบับปรับปรุงไม่นานนักปี 2001 (วิทวัฒน์ ขัติ ยะมาน และฉตั รศิริ ปยี ะพิมลสิทธ์ิ, 2551 : 2-3) ผลของการปรับปรุงจุดมุ่งหมายทางการศึกษาด้านพุทธพิสัยใหม่นี้ ได้เกิดการปรับเปลี่ยนท่ี สำคญั ทง้ั ในสว่ นโครงสร้างและคำศัพท์ใชเ้ ป็นชอื่ ของกระบวนการทางปัญญา ซ่งึ สามารถเปรียบเทียบ กบั จดุ หมายฉบับเดมิ ได้ ดังตาราง 2.1 4
ตาราง 2.1 การเปรยี บเทยี บกระบวนการทางปัญญาทใ่ี ช้คำศัพทเ์ ดิมและคำศัพท์ใหม่ คำศพั ท์เดิม คำศัพท์ใหม่ 1. ความรู้ (Knowledge) 1. จำ (Knowledge) 2. ความเขา้ ใจ (Comprehension) 2. เข้าใจ (Comprehension) 3. การนำไปใช้ (Application) 3. ประยกุ ตใ์ ช้ (Application) 4. การวเิ คราะห์ (Analysis) 4. วเิ คราะห์ (Analysis) 5. การสงั เคราะห์ (Synthesis) 5. ประเมนิ คา่ (Synthesis) 6. การประเมินคา่ (Evaluation) 6. คิดสร้างสรรค์ (Creating) ลำดับขั้นของกระบวนการทางปัญญาในจุดมุ่งหมายทางการศึกษาด้านพุทธิพิสัยของบลูม ปรับปรงุ ใหม่ ยังคงมีลำดบั ขนั้ 6 ขัน้ ซงึ่ สามารถอธิบายไดด้ ังน้ี 1. จำ (Remembering) หมายถึง ความสามารถในการระลึกได้ แสดงรายการได้บอกได้ ระบุ บอกชอื่ ได้ ตัวอย่างเช่น นักเรียนสามารถบอกความหมายของทฤษฎไี ด้ 2. เข้าใจ (Understanding) หมายถึง ความสามารถในการแปลความหมาย ยกตัวอย่าง สรปุ อ้างองิ ตัวอยา่ งเช่น นกั เรยี นสามารถอธิบายแนวคดิ ของทฤษฎีได้ 3. ประยุกต์ใช้ (Applying) หมายถึง ความสามารถในการนำไปใช้ ประยุกต์ใชแ้ ก้ไขปัญหา ยกตวั อยา่ งเชน่ นกั เรยี นสามารถใช้ความรใู้ นการแก้ไขปญั หา 4. วิเคราะห์ (Analyzing) หมายถึง ความสามารถในการเปรียบเทียบ อธิบาย ลักษณะ การจดั การ ตวั อย่างเชน่ นกั เรยี นสามารถบอกความแตกตา่ งระหว่าง 2 ทฤษฎีได้ 5. ประเมินค่า (Evaluating) หมายถึง ความสามารถในการตรวจสอบ วิจารณ์ตัดสิน ตวั อย่างเช่น นักเรียนสามารถตัดสนิ คุณคา่ ของทฤษฎไี ด้ 6. คิดสร้างสรรค์ (Creating) หมายถึง ความสามารถในการออกแบบ (Design) วางแผน ผลิต ตัวอยา่ งเช่น นักเรียนสามารถนำเสนอทฤษฎใี หมท่ ี่แตกต่างไปจากทฤษฎเี ดิมได้ คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ของครูในศตวรรษท่ี 21 คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ของครใู นศตวรรษท 21 ซึ่งครใู นศตวรรษท่ี 21 ควรจะมีคุณลักษณะ ท่พี ึงประสงค์ ได้แก่มีความรูแ้ ละความเชย่ี วชาญศาสตร์ดา้ นการศึกษามจี ิตวญิ ญาณความเป็นครู ผู้นำ การเปลีย่ นแปลงท่ีสอดคลองกับการเรียนร้ยู ุคใหม่ มีอตั ลักษณ์ของความเป็นครูดีในดวงใจ มีคณุ ลักษณะ ตามมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา มีจรรยาบรรณวิชาชีพ มีสาระความรู้ สมรรถนะและประสบการณ์ วชิ าชีพของผูป้ ระกอบวิชาชีพครู มคี ุณลักษณะของความเปน็ ครู และเปน็ แบบอย่างทางด้านคุณธรรม จรยิ ธรรมและศีลธรรมต่อการพฒั นาคณุ ภาพของนกั เรยี น 5
การรูเ้ ท่าทันความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ท่ีเกดิ ขนึ้ ในสังคมมีการปรับเปลย่ี นบทบาทของตนเอง ให้เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงเพื่อสรา้ งเยาวชนรุ่นใหม่ให้มีคุณภาพได้เหมาะสมกับยุคสมัย สอดคล้อง กับ Tammatakool (2012) ที่กล่าวสนับสนุนว่า ครูเป็นวิชาชีพทางการศึกษาในสังคมไทย ที่มี บทบาทในการพัฒนาเด็กและเยาวชนให้เป็นบุคลากรที่มคี ุณภาพของสังคมไทย เมื่อพิจารณาวิชาชพี ครูให้ลึกซึ้งแล้วจะเห็นว่า ผู้เป็นครูนั้นต้องรับภาระหน้าที่ต่อสังคมและชาติบ้านเมือง หากผู้เป็น ครู ปฏิบัติตามงานที่ตนได้รับบกพร่อง ผู้รับผลกระทบก็จะตกไปถึงความเสื่อมของสังคมและชาติ บ้านเมือง และในการขับเคลอนยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพการศึกษา จะต้องมุ่งเน้นให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงเชิงคุณภาพในระดับปฏิบัติคือ ระดับห้องเรียน เพื่อมุ่งพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะ ในศตวรรษที่ 21 และเพื่อให้พร้อมในการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน โดยมีครูผู้สอนเป็นบุคคลที่สำคัญ ที่สุดใน การจัดการเรียนรู้ (Junpom, 2015) ในโลกที่เปลี่ยนแปลงไป แม้ “ครู” ยังคงเป็นผู้ที่มี ความหมายและปัจจยั สำคญั มากทสี่ ดุ ในห้องเรียน และเปน็ ผู้ท่มี ีความสำคญั ตอ่ คุณภาพการศึกษา แต่ การที่ครูจะทำหน้าที่ตองสนองตอ่ ความเปลีย่ นแปลงดังกล่าวอยา่ งสมบูรณไ์ ด้ จำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมี กระบวนการยกระดับคุณภาพครูไทยเพื่อให้เป็นครูในศตวรรษที่ 21 ได้อย่างแท้จริง เปลี่ยนวิธีการ สอนที่เนน้ “วชิ าเปน็ ตัวต้ัง” เป็นเน้น “ชวี ิตผูเ้ รียนเป็นตวั ตั้ง” (Vace, 2010) มีการพฒั นาวิชาชพี เป็น ที่ยอมรับของสงคม (Sinlarat,2014) เป็นครูที่มีคุณค่า คือ ครูที่ทำงานแต่ไม่ทำเงิน คิดถึงส่วนรวม มากกว่าส่วนตน ค้นควา้ เพิ่มพูนปัญญาและเปี่ยมด้วยเมตตากรุณา (Amornviwat, 2012) สอดคล้อง กับ (Beema, 2016) ที่กล่าววา่ ครูนับว่าเป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญยิ่งในการจัด การศึกษาให้แก่ผู้เรียน โดยมีหน้าที่จัดกระบวนการเรียนการสอน เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 จึงจำเป็นต้องมีครูที่มีคุณภาพ ซึ่งการที่จะได้ครูที่มี คุณภาพนั้น ครูจะต้องมีขวัญกำลังใจที่ดี ได้รับการตอบสนองด้านต่างอย่างเหมาะสมเพราะขวัญ กำลงั ใจกอ่ ใหเ้ กดิ ความร่วมมอื ร่วมใจในการทำงาน ครูเป็นผู้ที่ใกล้ชิดผู้เรียนที่สุด ครูจงมีภาระหน้าที่ในการเตรียมความพร้อมสร้างเสริม สติปัญญา เป็นผู้ให้เครื่องมือในการแสวงหาความรู้และเป็นผู้จุดประกายแห่งการเรียนรู้ กระตุ้นการ ใฝ่รู้ใฝ่เรียนให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้สิ่งใหม่ได้มีความเพียรพยายามในการเส าะแสวงหาความรู้อยู่ ตลอดเวลารวมทั้งปลูกฝังกล่อมเกลาคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์สอนทักษะชีวิตให้ สามารถทำงานและดำรงชีวิตร่วมกับผู้อื่นได้ สงสำคัญครูต้องมีจิตเมตตากรุณาผู้เรียนเป็นพื้นฐาน มี อุดมการณ์ ทุ่มเท เสียสละ มีความจรงิ ใจเป็นแบบอย่างที่ดใี ห้กับศิษย์ และมุ่งม่ันพัฒนาการศึกษาชาติ จนเกิดผลดีต่อการพัฒนา ประเทศชาติดังพระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวว่า “…ความ เป็นครูนั้นประกอบขึ้นด้วยสิ่งที่มีคุณค่าสูงหลายอย่าง อย่างหนึ่งได้แก่ปัญญาคือ ความรู้ที่ดี ประกอบด้วยหลักวิชาอันถูกต้องที่กระจ่างแจ้งในใจรวมทั้งความฉลาดที่จะพิจารณาเรื่อง ต่าง ๆ ตลอดจนกิจที่จะทำคำที่จะพูดทุกอย่างได้โดยถูกต้องด้วยเหตุผลอย่างหนึ่งได้แก่ ความดีคือ ความ 6
สจุ รติ ความเมตตากรุณาเห็นใจและปรารถนาดีต่อผู้อ่ืนโดยเสมอ อกี อยา่ งหน่ึงได้แก่ ความสามารถที่ จะเผื่อแผ่และถ่ายทอดความรู้ความดีของตนเองไปยังผู้อื่นอย่างได้ ผู้รับมีความเป็นครูมีอยู่แล้วย่อม ฉายออกให้ผู้อื่นได้รับประโยชน์ด้วยกล่าวคือความแจ่มแจ้งแน่ชัดใน ใจย่อมสองแสดงความรู้ออกมา ให้เข้าใจตามไดโ้ ดยง่ายและความหวังดบี ริสุทธใิ์ จยอ่ มน้อมนำใหเ้ กิดศรทั ธาแจ่มใส มใี จ พร้อมที่จะรับ ความร้คู วามดดี ้วยความทำนบุ ำรุงทัง้ พรอ้ มจะร่วมงานด้วยโดยเต็มใจและม่นั ใจ โดยนยั นีผ้ ้ทู ไี่ ด้รับแสง สว่างแห่งความเป็นครูจึงเป็นผู้ใฝ่หาความรู้ใฝ่หาความดีทั้งตั้งใจและเต็มใจที่จะช่วยเหลือสนับสนุน ผู้อื่นโดยบรสุทธิ์จะประกอบกิจการใด ก็จะทำให้กิจการนั้นดำเนินไปโดยสะดวกราบรื่นและสำเร็จ ประโยชน์ที่มุ่งหมายได้โดยสมบูรณ์ ผู้ที่มีความเป็นครูสมบูรณ์ในตัว นอกจากจะมีความดีด้วยตนเอง แล้วจึงยังจะช่วยให้ทุกคนมีโอกาสเข้ามาสัมพันธ์เกี่ยวข้องบรรลุถึงความดีความเจริญไปด้วย ” (Suwannarot, 2007) สภาพสังคมโลกทเ่ี ปลี่ยนแปลงในปัจจบุ ันรวมทง้ั คุณภาพของผูเ้ รียนท่ีสะท้อนจากผู้สัมฤทธิ์ ทางการศึกษาของผู้เรียนต่ำลง ผลักดันให้ครูต้องมีสมรรถนะสงขึ้น มุมมองหนึ่งของการผู้ผลิตครู คณาจารยแ์ ละบุคลากรทางการศึกษาให้มีคณุ ภาพ คือ การพฒั นาสมรรถนะทางวิชาชีพตามระดับชน ของหนา้ ทห่ี รอื ตำแหนง่ งานท่ีกำหนดไว้แล้ว โดยเฉพาะครซู ึ่ง สามารถสรา้ งเปน็ หลักสูตรในระบบการ ฝกึ หัดครูหรือเพิ่มพูนไดจ้ ากหลักสูตรและประสบการณใ์ นการฝึกอบรมประจำการ ท้งั น้ีสมรรถนะที่ส่ง ขนึ้ ของครไู มจ่ ำเพาะแต่เพียงการจัดการเรียนรู้ท่ีสอดคลองกับประสบการณ์ของนักเรยี นเท่าไรนั้น แต่ ยังต้องสามารถเผชิญสถานการณ์ของสังคมทั้งในปัจจุบันและอนาคตได้ (Office of the Education Council, 2013) ครูดีในดวงใจ คือครูแบบไหน ทำไมต้องมีครูยุคใหม่ ครูที่พึงประสงค์ ครูดีในดวงใจ ครู เหล่าน้ีสรา้ งได้ อย่างไรครูเหล่านพ้ี ฒั นาการศึกษาไดจ้ ริงหรือไม่ ทัง้ น้ี Noparak (2016) ได้กล่าวถึงครู ยุคใหม่ซึ่งเป็นครูในศตวรรษที่ 21 ว่า ต้องมีลักษณะดังนี้ มีความรู้และความเชี่ยวชาญศาสตร์ด้าน การศึกษาเป็นนักวิเคราะห์นักสังคมสังเคราะห์และนักวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน เป็นครูโดย จิตวิญญาณมีจิตวิทยาและศิลปะในการสอน และการถ่ายทอดความรู้เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงท่ี สอดคล้องกับการเรียนรู้ยุคใหม่ มีความสามารถในการใช้ภาษาต่างประเทศเพื่อการเรียนการสอน และมีคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและเป็นแบบอย่างท่ดี ีของศษิ ย์และสงั คม จากผู้วิจัยของ Jitlung (2016) ที่ได้ศึกษาวิจัยเรื่องอัตลักษณ์ครูดีในดวงใจผู้รับการวิจัย พบว่ากระบวนการสร้างวาทกรรมครูดในดวงใจถูกสร้างขึ้นมาจากกา รตีความจากตัวบทซึ่งเป็น ประเพณี อุดมคติ ค่านิยม กฎเกณฑ์กติกาต่างที่ ผ่านมาในอดีตและปัจจุบันที่ถูกสร้างขึ้นจน กลายเป็นธรรมเนียมปฏิบตั ิ ในมิติปฏิบัติการทางวาทกรรทครูดีในดวงใจได้ เลือกสรรวิถีทางในการ ปฏิบตั ติ นเพอื่ แสดงและสร้างอัตลักษณค์ วามเป็นครูในดวงใจ ปฏิบัติการทางสังคมเป็นการถ่ายทอด อุดมการณ์ของสังคมผ่านโรงเรียน เพื่อให้ครูดีในดวงใจปฏิบัติตามบรรทัดฐานของสังคม อัตลักษณ์ 7
ของครูดีในดวงใจมี หลากหลายลักษณะกระบวนการสร้างอัตลักษณ์ของครูดีในดวงใจถูกสร้างข้ึน โดยการนิยามตัวเอง และถูกสร้างโดยผ่านการปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในสถานศึกษา มีการทับ ซอ้ นระหว่างอตั ลักษณ์ อตั ลกั ษณ์มิได้จำเป็นต้องมหี นึ่งเดียวแต่อาจมหี ลากหลายอัตลักษณ์ประกอบ รวมกนั ในบคุ คลคนเดียว อัตลกั ษณ์ของครูดใี นดวงใจ คอื การสรา้ งตวั ตนผา่ นการทำงานเกิน เกณฑ์ มาตรฐานการใช้ระเบียบวนิ ัยเป็นแบบอย่างในการดำเนินชีวิตและปฏบิ ัติงาน การใช้ระบบคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในการปฏิบตั ริ าชการและการเสียสละเพ่ือส่วนร่วมมากกวา่ ส่วนตน และผู้รับการวิจัยของ นักศึกษาหลักสตรศึกษาศาสตร์หาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Students, Master of Education, Education Administration, Khon Kaen University, 2013) ได้ศึกษาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของครูในทศวรรษหน้าในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี การศกึ ษาประถมศึกษาขอนแก่นเขต 1 พบว่า คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ของครูในทศวรรษหน้าคือ มี คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ มีความเป็นครู มีความรู้ความสามารถด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยี มีความสามารถด้านการเรียนการสอน มคี วามรู้และประสบการณว์ ชิ าชีพ จากที่กล่าวมาแลวจะเห็นว่า อาชีพครูมีความสำคัญเป็นอย่างมากต่อการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาของประเทศ เมื่อระยะเวลาผ่านไปคุณลักษณะของครูก็จะมีการเปลี่ยนแปลงไปด้วย เพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวดังนั้น คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของครูในศตวรรษท่ี 21 จึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อการพัฒนาคุณภาพของนักเรียน ยกระดับขีดความสามารถของ นกั เรียนเพอ่ื ให้สามารถแขง่ ขันกับนานาประเทศได้ มาตรฐานวชิ าชีพทางศกึ ษา มาตรฐานวชิ าชพี ทางการศกึ ษาเป็นเคร่ืองหมายสำคัญของผู้ประกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ซึ่งพระราชบัญญัติครู และบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2556 กำหนดให้เป็นวิชาชีพควบคุม ทางการศึกษา ตัง้ แต่วิชาชพี ครู ผู้บรหิ ารสถานศึกษา ผบู้ รหิ ารการศกึ ษา และบุคลากรทางการศึกษา อ่นื (ตามท่ปี ระกาศกำหนดในกฎกระทรวง) จะตอ้ งปฏิบตั ิเพ่ือให้เกิดผู้เรียนดีต่อผรู้ ับบริการ ถือเป็น เป้าหมายหลักของการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพจะตองศึกษาให้เกิด ความรู้ ความเข้าใจที่ถกต้องให้สามารถนำไปใช้ในการประกอบวิชาชีพให้สมกับการเป็นวิชาชีพชน สูงและได้รบั การยอมรับ (Office of Professional Standards Council, 2016) คุรุสภาดำเนินการตามหน้าที่ที่กำหนดในพระราชบัญญัติอำนาจครูและบุคลากรทางการ ศึกษา พ.ศ. 2556 มาตรา9 (1) คุรุสภามีอำนาจหน้าที่กำหนดมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณ ของวิชาชีพมาตรา9 (11) (ฉ) กำหนดให้คุรุสภามีหน้าที่ ออกข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐาน วิชาชีพ และมาตรา 49 กำหนดให้มีข้อบังคับว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ ประกอบด้วย (1) มาตรฐาน ความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ (2) มาตรฐานการปฏิบัติงาน (3) มาตรฐานการปฏบิ ัติตน 8
มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา คือ ข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะและคุณภาพที่พึง ประสงค์ในการประกอบ วิชาชีพทางการศึกษา ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องประพฤติ ปฏิบัติตาม เพื่อให้เกิดคุณภาพในการประกอบวิชาชีพ สามารถสร้างความเชื่อมั่นศรัทธาให้แก่ ผู้รับบริการจากวิชาชีพได้ว่าเป็นบริการที่มีคุณภาพตอบสังคมได้ว่าการที่มีกฎหมายให้ความสำคัญ กับวชิ าชีพทางการศึกษา และกำหนดให้เปน็ วชิ าชีพควบคุมนน้ั เน่อื งจากเป็นวชิ าชีพที่มลี ักษณะเฉพาะ ต้องใช้ความรู้ ทักษะ และความเชี่ยวชาญในการประกอบวิชาชีพพระราชบัญญัติอำนาจครูและ บุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2546 มาตรา 49 กำหนดใหม้ ีมาตรฐานวิชาชพี 3 ด้าน ประกอบดว้ ย 1. มาตรฐานความรแู้ ละประสบการณวชิ าชีพ หมายถงึ ข้อกำหนดสำหรับผูท้ ่ีจะเข้า มาประกอบวิชาชีพจะต้องความรู้และประสบการณวิชาชีพเพียงพอที่จะประกอบวิชาชีพ จึงจะ สามารถขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเพื่อใช้เป็น หลักฐานแสดงว่าเป็นบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ และมปี ระสบการณ์พรอ้ มท่ีจะประกอบวิชาชีพทางการศึกษาได้ 2. มาตรฐานการปฏิบัติงาน หมายถึง ขอกำหนดเกี่ยวกับการปฏิบัติงานในวิชาชีพ ให้เกิดผู้เรียนเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด พร้อมกับมีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิด ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพ ทั้งความชำนาญเฉพาะด้านและความชำนาญตามลำดับ คุณภาพของมาตรฐานการปฏิบัติงาน หรืออย่างน้อยจะต้องมีการพัฒนาตามเกณฑ์ที่กำหนด ว่ามี ความรู้ ความสามารถ และความชำนาญ เพียงพอที่จะดำรงสถานภาพของการประกอบวิชาชีพ ตอ่ ไปได้หรอื ไม่ น่ันกค็ อื การกำหนดให้ผปู้ ระกอบวิชาชีพจะต้องตอ่ ใบอนญุ าตทุก ๆ 5 ปี 3. มาตรฐานการปฏิบัติตน หมายถึง ข้อกำหนดเกี่ยวกับการประพฤติตนของผู้ ประกอบวิชาชีพ โดยมี จรรยาบรรณของวิชาชีพเป็นแนวทางและข้อพึงระวังในการประพฤติปฏิบตั ิ เพื่อดำรงไว้ซึ่งชื่อเสียง ฐานะ เกียรติ และศักดิ์ศรีแห่งวิชาชีพ ตามแบบแผนพฤติกรรมตาม จรรยาบรรณของวิชาชีพที่คุรุสภาจะกำหนดเปน็ ข้อบงั คับต่อไป หากผู้ประกอบวิชาชีพผู้ใดประพฤติ ผดิ จรรยาบรรณของวิชาชีพทำใหเ้ กิดความเสียหายแก่บุคคลอื่นจนได้รบั การร้องเรียนถึงคุรุสภาแล้ว ผู้นั้น อาจถูกคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพวินิจฉัยชี้ขาดอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ 1) ยกขอ กล่าวหา 2) ตกั เตอื น 3) ทำทณั ฑ์ 4. พักใช้ใบอนุญาตที่กำหนดเวลาตามที่เห็นสมควร แต่ไม่เกิน 5 ปี และ 5) เพิก ถอนใบอนุญาต (มาตรา 54) จากที่กล่าวมาสรุปได้ว่าจะเห็นว่ามาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษาท้ัง สามด้านเป็นสิ่งสำคัญที่ครูในศตวรรษที่ 21 ต้องมีคุณสมบัติดังกล่าว มีความรู้ความสามารถและ ประสบการณในการประกอบวิชาชีพ ทางการประพฤติปฏิบัติตนและแนวทางการทำงาน ต้องเป็น แบบอย่างที่ดี ให้ผู้ประกอบวิชาชีพครูประพฤติปฏิบัติตนตาม เพื่อให้เกิดแนวทางการพัฒนา มาตรฐานวชิ าชีพ 9
จรรณยาบรรณของวชิ าชีพ อาชพี ครูถือเป็นวชิ าชพี ซึ่งจรรณยาบรรวิชาชีพครมู ีจำนวน 5 ดา้ น 9 ข้อ (TheSecretariatoftheCouncil,2016) ด้านที่ 1 จรรยาบรรณต่อตนเอง ข้อ 1 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องมีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ บคุ ลิกภาพและวิสัยทัศน์ ให้ทันต่อการพฒั นาทางวิทยาการเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยู่ เสมอ ด้านที่ 2 จรรยาบรรณตอ่ วชิ าชีพ ข้อ 2 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก ศรัทธา ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อวิชาชีพ และเปน็ สมาชิกที่ดขี ององค์กรวชิ าชพี ด้านที่ 3 จรรยาบรรณตอ่ ผูร้ บั บริการ ข้อ 3 ผู้ประกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ตอ้ งรัก เมตตาเอาใจใส ชว่ ยเหลอื ส่งเสรมิ ให้กำลังใจ แก่ศิษย์และผู้รบั บรกิ าร ตามบทบาทหนา้ ท่ีโดยเสมอหนา้ ข้อ 4 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ทักษะและรสนิยมท่ี ถูกตอ้ งดีงามแก่ศิษย์ และ ผรู้ ับบรกิ าร ตามบทบาทหน้าท่ีอย่างเต็มความสามารถ ด้วยความ บรสิ ุทธิ์ใจ ข้อ 5 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี ทั้งทาง กายวาจาและจิตใจ ข้อ 6 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา ต้องไม่กระทำตนเป็นปฏิปกั ษ์ต่อความเจริญทางกาย และสติปัญญา จติ ใจ อารมณ์ และสงั คมของศษิ ย์และผรู้ บั บริการ ขอ้ 7 ผู้ประกอบวิชาชพี ทางการศึกษา ตอ้ งให้บรกิ ารด้วยความจริงใจและเสมอภาค โดยไม่ เรียกรบั หรอื ยอมรบั ผรู้ บั ประโยชน์จากการใชต้ ำแหน่งหนา้ ท่โี ดยมชิ อบ ดา้ นที่ 4 จรรยาบรรณตอ่ ผู้ร่วมประกอบวชิ าชีพ ข้อ 8 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันอย่างสร้างสรรค์ โดยยดึ มน่ั ในระบบคุณธรรม สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ ดา้ นท่ี 5 จรรยาบรรณต่อสงั คม ข้อ 9 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงประพฤติปฏิบัติตนเป็นผู้นำในการอนุรักษและ พัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาสิ่งแวดล้อมรักษาผู้รับประโยชน์ ของส่วนรวม และยดึ มัน่ ในการปกครูองระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็น ประมุข 10
จากท่กี ล่าวมาสรปุ ไดว้ ่าจรรยาบรรณวิชาชีพครู เปน็ แนวทางหรือข้อกำหนดท่ีครูพึงปฏิบัติ โดยเฉพาะครใู นศตวรรษ ที่ 21 จำเป็นตอ้ งมีคณุ สมบัติดังกลำว ต้องพฒั นาทั้งตนเองและด้านวิชาชีพ ซึ่งประกอบด้วยจรรยาบรรณ ต่อตนเอง จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ ต่อผู้รับบริการ ต่อผู้ร่วมประกอบ วชิ าชพี และตอ่ สงั คม สาระความรู้ สมรรถนะและประสบการณ์วชิ าชพี ของผู้ประกอบวิชาชีพครู สำนักงานเลขาธิการคุรุสภาได้ออกประกำศคณะกรรมการคุรุสภา เรื่อง สาระความรู้ สมรรถนะและประสบการณ์วิชาชีพของผู้ประกอบวิชาชีพครูตามข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐาน วชิ าชพี พ.ศ. 2556 ดังต่อไปน้ี ความเป็นครปู ระกอบดว้ ย (ก) สาระความรู้ ได้แก่ สภาพสังคมงานครู คุณลักษณะ และมาตรฐานวิชาชีพครู การปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็น ครู กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับครูและวิชาชีพครู การจัดการความรู้ เกี่ยวกบั วชิ าชีพครู และการสร้างความก้าวหน้าและพฒั นาวิชาชีพครอู ยา่ งต่อเนือ่ ง (ข) สมรรถนะ ได้แก่ รอบรู้ในเนื้อหาวิชาที่สอนและกลยุทธ์การสอน เพื่อให้ผู้เรียน คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ สร้างสรรค์สงใหม่ ๆ ได้แสวงหาและเลือกใช้ข้อมูลข่าวสำหรับความรู้เพื่อให้ ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับ ผู้เรียนที่ส่งเสริมการพัฒนาศักยอำพผู้เรียน และมี จิตวิญญาณความเป็นครู 2. ปรชั ญาการศกึ ษา ประกอบดว้ ย (ก) สาระความรู้ ได้แก่ปรัชญา แนวคิด และทฤษฎีทางการศึกษา ศาสนาเศรษฐกจิ สงั คม วัฒนธรรม และ แนวคดิ และกลวิธกี ารจดั การศึกษา เพ่ือเสริมสร้างการพฒั นาท่ยี ั่งยนื (ข) สมรรถนะ ได้แก่ ประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาสถานศึกษา และวิเคราะห์เกี่ยวกับ การศกึ ษาเพอื่ การพัฒนาท่ยี ัง่ ยนื 3. ภาษาและวฒั นธรรม ประกอบด้วย (ก) สาระความรู้ ได้แก่ภาษาและวัฒนธรรมไทยเพื่อการเป็นครู และภาษาต่างประเทศ เพื่อพฒั นาวชิ าชพี ครู (ข) สมรรถนะ ได้แก่ สามารถใช้ทักษะการฟังการพูด การอ่าน การเขียนไทยและ ภาษาต่างประเทศ เพื่อการสื่อความหมายอย่างถูกต้อง และใช้ภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการอยู่ รว่ มกันอยา่ งสนั ติ 4. จิตวิทยาสำหรบั ครู ประกอบดว้ ย (ก) สำระความรู้ ได้แก่ จติ วิทยาพืน้ ฐานและจิตวิทยาพัฒนาการของมนษุ ย์ จติ วทิ ยา กรเรียนรู้และจิตวิทยากรศกึ ษาและจิตวิทยากรแนะแนวและการให้คำปรึกษา 11
(ข) สมรรถนะ ได้แก่ สามารถให้คำแนะนำช่วยเหลือผู้เรียนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน และใช้จติ วทิ ยาเพ่ือความเขา้ ใจและสนบั สนนุ การเรยี นร้ขู องผู้เรยี นให้เตม็ ศักยภาพ 3. ภาษาและวัฒนธรรม ประกอบดว้ ย (ก) สาระความรู้ ได้แกภ่ าษาและวฒั นธรรมไทยเพื่อการเป็นครู และภาษาต่างประเทศ เพอ่ื พัฒนาวิชาชีพครู (ข) สมรรถนะ ได้แก่ สามารถใช้ทักษะการฟังการพูด การอ่าน การเขียนไทยและ ภาษาต่างประเทศ เพื่อการสื่อความหมายอย่างถูกต้อง และใช้ภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการอยู่ รว่ มกนั อยา่ งสนั ติ 4. จิตวทิ ยาสำหรบั ครู ประกอบด้วย (ก) สาระความรู้ ไดแ้ ก่ จติ วทิ ยาพน้ื ฐานและจติ วทิ ยาพฒั นาการของมนุษย์ จติ วิทยา กรเรียนรแู้ ละ จิตวิทยากรศกึ ษา และจิตวิทยากรแนะแนวและการให้คำปรกึ ษา (ข) สมรรถนะ ได้แก่ สามารถให้คำแนะนำชวยเหลอผู้เรียนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และ ใชจติ วทิ ยาเพ่อื ความเขา้ ใจและสนับสนนุ การเรยี นรขู้ องผเู้ รยี นให้เตม็ ศกั ยภาพ 5. หลกั สูตร ประกอบด้วย (ก) สำระความรู้ ไดแ้ ก่ หลกั การ แนวคดิ ในการจัดทำหลักสูตร การนำหลักสูตรไปใช้ และการพฒั นาหลักสูตร (ข) สมรรถนะ ได้แก่ วิเคราะห์หลักสูตรและสามารถจัดทำหลักสูตรได้ และ ปฏิบัตกิ ารประเมนิ หลักสตรและการประเมินไปใชใ้ นการพัฒนาหลกั สูตร 6. การจดั การเรียนรแู้ ละการจดั การชน้ั เรยี น ประกอบดว้ ย (ก) สาระความรู้ ได้แก่ หลักการ แนวคิด แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดทำแผนการ เรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ และส่ิงแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ ทฤษฎีและรปู แบบการจัดการเรียนรู้เพือ่ ให้ ผู้เรียนรู้จักคิดวิเคราะห์คิดสร้างสรรค์และแก้ปัญหาได้ การบูรณาการการเรียนรู้แบบเรียนรวม การ จดั การชน้ั เรียน และการพัฒนาศนู ย์การเรยี นในสถานศึกษา (ข) สมรรถนะ ได้แก่สามารถจัดทำแผนการเรียนรู้และนำไปสู่การปฏิบัติให้เกิด ผู้เรียนจรงิ และสามารถสร้างบรรยากาศการจัดการชัน้ เรียนให้ผเู้ รยี นเกิดการเรยี นรู้ 7. การวิจยั เพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ ประกอบดว้ ย (ก) สาระความรู้ ได้แก่ หลักการ แนวคิด แนวปฏิบัติในการวิจัย และการใช้และผู้ลิต งานวิจยั เพื่อพฒั นาการเรียนรู้ (ข) สมรรถนะได้แก่ สามารถนำผลการวิจัยไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนและ สามารถทำวิจยั เพอ่ื พัฒนาการเรยี นการสอน 12
8. นวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ประกอบดว้ ย (ก) สาระความรู้ ได้แก่ หลักการ แนวคิด การออกแบบ การประยุกต์ใช้ และการ ประเมินสอนวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การเรียนรู้ และเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการสือ่ สาร (ข) สมรรถนะ ได้แก่ประยุกต์ใช้ และประเมินนวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือ การเรียนรู้ และสามารถใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการส่ือสาร 9. การวัดและประเมนิ ผู้ลกั ารเรยี นรู้ ประกอบด้วย (ก) สำระความรู้ ได้แก่ หลักการ แนวคิด และแนวปฏิบัติในการวัดและประเมิน ผู้ลกั ารเรยี นรูข้ องผเู้ รยี น ปฏบิ ตั กิ ารวัดและการประเมนิ ผู้เรียน (ข) สมรรถนะ ได้แก่ สามารถวัดและประเมินผู้เรียนได้ และสามารถนำผู้รับการ ประเมนิ ไปใช้ในการพัฒนาผูเ้ รียน 10. การประกันคณุ ภาพการศึกษา ประกอบด้วย (ก) สาระความ ได้แก่หลักการ แนวคิด แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ การศกึ ษา และการประกนั คุณภาพการศึกษา (ข) สมรรถนะ ได้แก่สามารถจัดการคุณภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และพัฒนา คณุ ภาพการเรียนรู้อยา่ งต่อเนื่อง และสามารถดำเนนิ การจัดกจิ กรรมประเมินคุณภาพการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ได้ 11. คุณธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณ ประกอบดว้ ย (ก) สาระความรู้ ได้แก่ หลักธรรมอริบาล และความซื่อสัตย์สุจริต คุณธรรม และ จรยิ ธรรมของวชิ าชพี ครู และจรรยาบรรณของวชิ าชพี ที่คุรสุ ภากำหนด (ข) สมรรถนะ ได้แก่ ปฏิบตั ติ นเปน็ แบบอย่างที่ดี มจี ติ สำนึกสำธารณะ และเสียสละ ใหส้ ังคม และปฏบิ ัติตนตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ สาระการฝกึ ทักษะและสมรรถนะของผู้ประกอบ วิชาชพี ครตู ามมาตรฐานประสบการณว์ ิชาชีพ 12. การฝกึ ปฏบิ ัตวิ ชิ าชพี ระหว่างเรียน ประกอบดว้ ย (ก) สำหรับการฝึกภาษาได้แก่ การสังเกตการจัดการเรียนรู้ การจัดทำแผนการจัดการ เรียนรู้ให้ผู้เรียนสร้าง ความรู้ด้วยตนเอง การทดลองสอนในสถานการณจำลอง และสถานการณจริง การออกแบบทดสอบ ข้อสอบหรือเครื่องมือวัดผล การตรวจข้อสอบ การให้คะแนนและการตัดสิน ผู้ลัการเรียน การสอบการปฏิบัติและการให้คะแนนการวิจัยแก้ปัญหาผู้เรียน และการพัฒนาความ เปน็ ครูมืออำชพี (ข) สมรรถนะ ได้แก่ สามารถจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อจุดประสงค์การสอนที่ หลากหลายและสามารถปฏบิ ัตกิ ารสอน ออกแบบทดสอบ วดั และประเมนิ ผูเ้ รียน 13. การปฏบิ ัตกิ ารสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ ประกอบดว้ ย 13
(ก) สาระการฝึกทักษะ ได้แก่ การปฏิบัติการสอนวิชาเอก การวัดและประเมินผู้เรียน และนำผู้เรียนไปใชในการพัฒนาผู้เรียน การวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หรือ แบง่ ปนั ความรู้ในการสมั มนาการศกึ ษา (ข) สมรรถนะ ได้แก่ สามารถจัดการเรียนรู้ในสาขาวิชาเอกสามารถประเมิน ปรับปรุง และศกึ ษาวิจัยเพอื่ พัฒนาผูเ้ รยี นและปฏบิ ตั งิ านอื่นท่ีได้รบั มอบหมาย จากที่กล่าวมาเกี่ยวกับสาระ ความรู้ สมรรถนะและประสบการณวิชาชีพของผู้ ประกอบวิชาชีพครูจะเห็นว่า ประกอบด้วย ความเป็นครู ปรัชญาการศึกษา ภาษาและวัฒนธรรม จติ วทิ ยาสำหรับครู หลกั สตู รการจดั การเรียนรแู้ ละการ จัดการชัน้ เรยี น การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา การวัดและประเมินผู้การเรียนรู้ การประกัน คณุ ภาพการศึกษา คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณ การฝึกปฏบิ ตั ิวชิ าชีพระหว่างเรียนและการ ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะซึ่งสิ่งเหล่านี้นี้เป็นองค์ประกอบสำคัญที่ครูใน ศตวรรษที่ 21 จะต้องพัฒนาตนเองให้มีโดยการศกึ ษาค้นควา้ การสะสมประสบการณศึกษาวิจัยและ สรา้ งนวตั กรรมอย่างสมำ่ เสมอและต่อเน่ือง คุณลักษณะของครู มีนักการศึกษา หน่วยงานทางการศึกษาทั้งในประเทศและต่างประเทศ ได้กล่าวถึง ลักษณะของครู มีดังนี้ สำนักงานสงเสริมการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพ เยาวชน ( Office for Promotion of Social Learning andImprove the Quality of Youth, 2014) ไ ด ้ ก ล่ า ว ถึ ง คุณลักษณะของครูที่มีคุณภาพดังนี้ เป็นผู้ที่มีจิตวิญญาณความเป็น ครูและผู้ให้มีความรู้ ความสามารถ และทกั ษะการจัดการเรียนรู้ มที ักษะการสอนอำนวย ความสะดวกในการเรยี นรู้ท่ีมี ประสิทธิภาพตื่น รู้ทันสมัยทันเหตุการณ์ตามทัน เทคโนโลยีและข่าวสาร ความก้าวหน้าทางวิทยากรและความรู้ สร้าง แรง บันดาลใจในการเรียนรู้ของผู้เรียน ใฝ่คว้าและแสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่อง เป็นแบบอย่างทาง คุณธรรมจริยธรรมและศลี ธรรม รู้และเข้าใจในอตั ลกั ษณ์ความเป็นชนชาติไทยทห่ี ลากหลาย อีกความ ภูมิใจในความเป็นพลเมื่องไทยและพลโลก ยอมรับและเป็นผู้นำการ เปลี่ยนแปลงความพร้อมและ ปรับปรุงต่อการเปลยี่ นแปลงของโลกและประชาคมอาเซียน คุณลักษณะ 10 ประการของครูสอนดี (Great Teachers) ของสหรัฐอเมริกา (Office for Promotion of Social Learning and Improve the Quality of Youth, 2014) มดี งั น้ี 1. การใสใ่ จดา้ นการสอนและการดูแลนักเรียน 2. มีการวางเป้าหมายและจุดประสงค์การสอนในแต่ละคร้ังอย่างชดั เจนและดำเนิน การ ให้บรรลุผลตามท่ีไดว้ างไว้ 3. มที กั ษะการจัดการเชิงบวกในห้องเรยี น 14
4. มีทกั ษะการจดั การห้องเรยี นทด่ี ี 5. การสอ่ื สารกับพอแมผ่ ู้ปกครอู ง 6. มคี วามคาดหวงั ต่อนักเรียนสงู 7. มีความรู้ด้านหลักสตู รและมาตรฐาน 8. มคี วามรู้ในเนื้อหาวชิ าท่สี อน 9. รักเด็กและรกั การสอน 10. มคี วามเป็นมิตรและความวางใจตอ่ นักเรยี นสูง สำนักงานพัฒนาการศึกษาครูของสงิ ค์โปร( Office of Teacher Education, National Institute of Education Singapore) เป็นหน่วยงานจัดการศึกษาและพัฒนาให้แก่ทั้งครูและ ผู้อำนวยการโรงเรียนของสิงค์โปรและเป็น ผู้พัฒนากรอบคุณลักษณะของครูสิงค์โปรในศตวรรษท่ี 21 ที่พึงประสงค์การพัฒนาครูให้เป็นมืออาชีพในศตวรรษที่ 21 สิงคโปร์เน้นการเตรียมและพัฒนา ครใู น 3 ด้าน คือ สำนกั งานสงเสรมิ การเรยี นรแู้ ละพฒั นาคณุ ภาพเยาวชน (Office for Promotion of Social Learning and Improve the Quality of Youth, 2014) 1. ด้านเจตคติและคา่ นยิ ม 1.1 ผู้เรียนเป็นศูนย์กลำงของการเรียนรู้ ประกอบด้วย ความเห็นอกเห็นใจ ความ เชื่อมั่นที่เด็กทุกคนสามารถ รียนรู้ได้ ความเชื่อมั่นในการพัฒนาเด็กอย่างเต็มศักยภาพ การเห็น คุณคา่ ของความแตกตา่ งหลากหลาย 1.2 ลักษณะของครู ประกอบด้วย มีมาตรฐานสูงในการทำงาน ความรักในธรรมชาติ รักการเรียนรู้พัฒนาตนเองต่อเนื่อง มีความปรารถนาอันแรงกล้า รู้จักปรับตัวและมีความยืดหยุ่นมี ศลี ธรรมความเปน็ มอื อาชีพ 1.3 การชวยเหลือบคุ ลากรในวิชาอาชพี และตอ่ ชมชน ประกอบดว้ ย ทำงานและเรยี นรู้ ร่วมกันการพัฒนาตนเองผ่านการลงมอื ปฏิบัติและระบบพี่เลี้ยง ความรับผิดชอบตอ่ สังคมและความ เอ้ืออาทร 2. ด้านทักษะ ประกอบด้วย ทักษะการสะท้อนและการคิด ทักษะด้านการเรียนการ สอน ทักษะด้านการจัดการคน ทักษะด้านการบริหารจัดการตนเอง ทักษะด้านการจัดการและการ บริหาร ทักษะด้านการสื่อสาร ทักษะด้านการประสานงาน ทักษะด้านเทคโนโลยี ทักษะด้าน นวตั กรรมและผปู้ ระกอบการและทกั ษะดา้ นอารมณ์และสงั คม 3. ดา้ นความรู้ ประกอบด้วย ความร้เู ก่ยี วกับตนเอง ความรู้เกีย่ วกบั นกั เรยี น เน้อื หาวชิ า ที่สอน วิธีการเรียนการสอน นโยบายและพื้นฐานด้านการศึกษา ความรู้พหุวัฒนธรรม ความ ตระหนักรูด้ ้านการเปลี่ยนแปลงไปของโลกและความตระหนกั รดู้ ้านส่งิ แวดล้อม 15
คุณลักษณะ 10 ประการของครูสอนดี (Great Teachers) ของรัฐบาล ควีนสแลนด์ ออสเตรเลย (Office for Promotion of Social Learning and Improve the Quality of Youth, 2014) ประกอบด้วย มีทักษะในการอธิบายรัก การพบปะผู้คน มีความกระตือรือร้น มีความรู้ใน เนื้อหาวิชาที่สอน มีความเป็นผู้จัดการโดยเฉพาะด้านเวลามีทักษะการทำงาน เป็นทีมและความคิด ริเริ่ม สามารถรับความกดดันได้ดี มีความอดทนและอำรมณขันรักความยุติธรรม สามารถรับมือกับ ความ เปลยี่ นแปลงได้ แนวทางการยกระดับคุณภาพครูที่สอดคลอ้ งกบั คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ครูไทยในทศวรรษที่ 21 สำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพเยาวชน (Office for Promotion of Social Learning and Improve the quality of youth, 2014) ได้สรุปแนวทางการยกระดบั คุณภาพครูท่ี สอดคล้องกบั คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงคค์ รู ไทยในทศวรรษที่ 21 ในหลากหลายประเด็นดังนี้ 1. การพัฒนาครูต้นแบบหรือการสร้างระบบครู ให้ครูเพื่อเป็นแนวทางในการทำงาน ระหว่างครูผู้มีประสบการณ์ กับเพื่อนครูในการแก้ปัญหาการเรียนรู้ของนักเรียนเป็นรายกลุ่มหรือ รายบุคคล ตลอดจนการมรี ะบบพี่เลีย้ งและการให้คำปรึกษาหารือ (Coaching& Mentoring) กับครู ที่ยังขำดประสบการณ์ มีการสร้างเครือข่ายที่สามารถประสานความร่วมมือ ระหว่าง ครู ผู้บริหาร ผปู้ กครอง และนักเรยี นได้รวมทั้งมีการสร้างวฒั นธรรมขององค์กรทเ่ี ข้มแข็งทางวิชาชีพ 2. การผู้สมผู้สำนึกระบวนการวัดผลเข้ากับกระบวนการสอนให้ยดื หยุ่นหลากหลาย ใช้ได้ ในหลายสถานการณ์มีการสร้างแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย โดยมีการบูรณาการสิ่งต่างเข้าด้วยกัน เพื่อให้ผเู้ รยี นเกิดทักษะ และกระบวนการคดิ ทต่ี กผลึกตลอดจนมีทักษะในการนำเสนอผลงานได้เพื่อให้ เกดิ ห้องเรยี นแหง่ การเรยี นรู้ (Thinking Classroom) 3. การจัดการความรู้ของครูจะต้องมีระบบแบบแผนที่ชัดเจนสามารถปฏิบัติได้จริง เปรียบเสมือนการจัดการเรียน การสอนที่ครูจะต้องสามารถปรับบทบาทของตนเองได้หลากหลาย เพอ่ื ใหเ้ ข้ากบั บรบิ ทของเหตุการณนนั้ โดยจะตอ้ งมคี วามอดทนต่อผู้บงั คับบัญชา ตอ่ เพ่ือนครูด้วยกัน และสุดทา้ ยผเู้ รียนทจ่ี ะต้องเขา้ ใจธรรมชาติของผเู้ รยี นว่าอยใู่ นลักษณะแบบใด พยายามที่จะปรับตัว ครูก่อนท่จี ะปรบั เด็กเข้าหาครู เป็นเรื่องยากท่ีจะประสบความสำเร็จได้ทำให้กระบวนการเรียนรู้ของ ผ้เู รียนขาดตอนได้ 4. ปรับโฉมหน้าขององค์กร โดยที่ครูจะต้องทำให้เกิดองค์กรแห่งการเรียนรู้ เน้นการมี ส่วนร่วมของทุกฝ่ายและหน่วยงานที่มีหน้าที่ผู้ลิตครูจะต้องมีการทบทวนบทบาทของตนใน ด้าน กระบวนการใดท่มี ีปัญหาต้องดำเนนิ การแก้ไขทจุดของปัญหาไมใ่ ช่แกท้ ่ีปลายเหตุโดย เน้นครูให้เป็น ครขู องผู้เรียน (Teacher for Learner) ใหม้ าก 5. การสร้างแรงบันดาลใจให้ครูเกิดพลงที่จะพัฒนาตนเองหรือปรับปรุงกระบวนทัศน์ 16
ของตนเองให้เกิดการ เรียนรทู้ ีท่ ันตอ่ เหตุการณ์ใหม้ ากขึน้ สรุปการยกระดับคุณภาพครูที่สอดคลอ้ งกับคุณลักษณะทีพ่ ึงประสงคค์ รูไทยในทศวรรษ ที่ 21 นั้นเน้นที่ระบบการ ฃพัฒนาครูต้นแบบหรือการสร้างระบบครูการผู้สมผู้สำนกระบวนการ วัดผลเข้ากับกระบวนการสอนให้ยดื หยุ่นหลากหลาย การจัดการความรู้ของครูจะต้องมีระบบแบบ แผนที่ชัดเจนสามารถปฏิบัติได้จริง ปรับโฉมหน้าขององค์กร โดยที่ครูจะต้องทำให้เกิดองค์กรแห่ง การเรียนรู้และการสร้างแรงบันดาลใจให้ครูเกิดพลังที่จะพัฒนาตนเองหรือปรับปรุงกระบวนทัศน์ ของตนเอง การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของนักเรียนให้มีศักยภาพเพิ่มขึ้นเพียงใดนั้นขึ้นอยู่กับ บุคคลสำคัญทีส่ ดุ ในกระบวนการพฒั นาการศึกษาและการพัฒนาการเรยี นรู้ก็คือ ครู ครูยังคงเป็นผู้ท่ี มีความหมายและเป็นปัจจัยสำคัญมากที่สุดในห้องเรียนและเป็นผู้ที่มีความสำคัญต่อคุณภาพ การศึกษา ทั้งนี้เพราะคุณภาพของนักเรียนขึ้นอยู่กับคุณภาพของครู สอดคล้องกับ (Watanachai, 2014) ที่กล่าวว่าปัจจัยที่ทำให้การศึกษามีคุณภาพดีขึ้น คือ ครู ที่เปี่ยมด้วยศรัทธาและมากด้วย ความรู้ ความสามารถทั้งในเนือ้ หาวิชาการทีร่ ับผู้ดชอบการสอนและทักษะความเปน็ ครู ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างครูผู้สอนและนักเรียนทุกคนในชั้นเรียนทุกชั่วโมงทุกวิชาและครูดี หมายถึงครูที่มีลักษณะ ต่อไปนค้ี ือ 1. ครูดีโดยจิตวญิ ญาณ ครทู ีร่ กั ของทุกคน 2. ครทู ี่มีอดุ มการณ มีความต้งั ใจจรงิ ทจ่ี ะเป็นครูดีของลกู ศษิ ย์ 3. ครูรกั นกั เรยี นดว้ ยจิตแห่งโพธสิ ตั ว์ 4. ครูจดจ่ออยู่กับการสัง่ สอนวชิ า และอบรมจิตใจลูกศษิ ย์ตลอดเวลาทั้งในและนอกตำรำง เรียน 5. ครใู ห้ลูกศิษยโ์ ดยไม่หวังสงิ่ ตอบแทนใด ๆ 6. ครูคือผู้กล้ำหาญทางคุณธรรม ต้องคลี่คลำยความมืดบอดทางคุณธรรมของนักเรียน โดยเฉพาะนกั เรยี นทีเ่ กเร 7. ครูทส่ี อนให้นักเรียนทุกคนร้จู กั แยกแยะความผดิ ชอบชวั่ ดี 8. ครู คอื ผูล้ ำ้ งพษิ รา้ ยของสังคม และตอ้ งประพฤตเิ ป็นแบบอยา่ งแหง่ ความดี 9. ครูเป็นผสู้ ลายอวชิ ชา ทำให้นกั เรยี นรเู้ ร่อื งรำว รู้เหตุผลู้ ร้ผู ิดชอบชั่วดี และเกิดปญั ญา 10. ไม่มีนกั เรียนคนไหนที่ครสู อนไม่ได้ ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและการสื่อสารปัจจุบันบนโลกไร้พรมแดน ที่ เป็นไปอย่างต่อเนื่องรวดเร็วและรุนแรง การศึกษายังคงเป็นกลไกสำคัญในการ พัฒนาคุณภาพชีวิต มนษุ ยแ์ ละการพัฒนาประเทศทีเ่ ชอมโยงกันท่วั โลก ให้สามารถดำรง ชวี ติ ทา่ มกลำงการเปลี่ยนแปลง 17
นี้ได้ อย่างยั่งยืนทั้งที่เปน็ การศึกษาในระบบนอกระบบและตามอัธยาศัยรวมทั้งการศึกษา ตลอดชีวิต การจัดระบบการศึกษาที่ สนองตอบความต้องการของบุคคล สังคมและประเทศชาติ มากเท่าไรไร หมายถงึ การพฒั นาคุณภาพการเรียนรู้ของผ้เู รยี นใหม้ ี ศกั ยภาพเพ่มิ ข้ึนเพียงนั้น บคุ คลสำคัญที่สุดใน กระบวนการพัฒนาการศึกษาและการพัฒนาการเรียนรู้ ก็คือ ครู ซึ่งครูเป็นปัจจัยสำคัญมากที่สุดใน ห้องเรียนและเป็นผู้ที่มีความสำคัญต่อคุณภาพการศึกษา ทั้งนี้เพราะคุณภาพของผู้เรียนขึ้นอยู่กับ คุณภาพ ของครู ครูเป็นปัจจัยสำคัญในระดับโรงเรียนที่ส่งผู้เรยี นต่อการเรียนรู้ของนักเรียนมากที่สด ครูในศตวรรษที่ 21 ว่า ต้องมีความรู้และความเชี่ยวชาญศาสตร์ด้านการศึกษาเป็นนักวิเคราะห์นัก สังคมสังเคราะห์ และนักวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน เป็นครูโดยจิตวิญญาณ มีจิตวิทยาและ ศิลปะในการสอน และการถ่ายทอดความรู้ผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่สอดคล้องกับการ เรียนรู้ยุคใหม่ มี ความสามารถในการใช้ภาษาต่างประเทศเพื่อการเรียนการสอน และมีคุณธรรม จริยธรรม และเป็น แบบอย่าง ท่ดี ขี องศิษย์และสงคม มคี วามรู้ความสามารถและประสบการณ์ในการประกอบวิชาชพี ทง้ั การประพฤติปฏิบัติตนและแนว ทางการทำงาน ต้องเป็นแบบอย่างที่ดี ให้ผู้ประกอบวิชาชีพครู ประพฤตปิ ฏิบตั ิตนตาม ตอ้ งพัฒนาท้ังตนเองและดา้ นวชิ าชีพ ซ่ึงประกอบด้วยจรรยาบรรณต่อตนเอง จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ ต่อผู้รับบริการ ต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพและต่อสังคมสำหรับแนวทางการ ยกระดับคุณภาพครูที่สอดคลองกับคุณลักษณะที่พึงประสงค์ครูไทยในทศวรรษที่ 21 นั้นควร ดำเนินการดังนี้ คือ การพัฒนาครูต้นแบบหรือการสร้างระบบครู โดยการมีระบบพี่เลี้ยงและการให้ คำปรกึ ษาหารือ การ ผู้สานกระบวนการวัดผู้เรยี นเขา้ กบั กระบวนการสอนใหย้ ดื หยุน่ หลากหลาย การ จัดการความรู้ของครูจะต้องมีระบบแบบแผน ที่ชดเจนสามารถปฏิบัติได้จริง เปรียบเสมือนการ จัดการเรียนการสอนที่ครูจะต้องสามารถปรับบทบาทของตนเองได้ หลากหลายเพื่อให้เข้ากับบริบท ของเหตุการณนน้ั ครจู ะตองทำใหเ้ กดิ องค์กรแห่งการเรียนรู้ในสถานศึกษา เนน้ การมีส่วนร่วมของทุก ฝ่าย การสร้างแรงบนั ดาลใจให้ครเู กิดพลังที่จะพฒั นาตนเอง 18
เอกสารอา้ งองิ Amornviwat, S. (2012). Khu musician who's a teacher, so the teacher. Bangkok: Dhurakij Pundit University. (in Thai) Beema, M. (2016). The Relationship between Transformational Leadership of School Administrators and Morale Encouragement in Working of Teachers under Yala Primary Educational Service Area Office. Journal of Yala Rajabhat University, 11(1), 1-18. (in Thai) Jitlung, K. (2016). The Formation of Good Teacher in Heart in the Education System in Thailand. Master Thesis. Prince of Songkla University. (in Thai) Junpom, S. ( 2015). Standard Classroom of School in Primary Education Office, Lay 2. Academic Journal, 18(1), 15-20.(in Thai)Noparak, S. (2016). New Teacher [online]. Retrieved September 9, 2016, from: http//www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=218468key=hotne ws. Office for Promotion of Social Learning and Improve the Quality of Youth. (2014). Lifting Quality Teachers in Century 21. Materials Symposium Aphiwat Learning Turning point to Thailand.6-8 May 2014. N.P. Office of Professional Standards Council. (2016). Meaning of Professional Standards in Education [online].Retrieved September 9, 2016, from: http://education.dusit.ac.th/QA/articles/doc02.pdf). Office of the Education Council. (2013). Framework and Direction of Education Country (2012-2015) support education policy government. Bangkok: Limited partnership Charoenphon graphics. Sinlarat, P. (2014). Excellence for Thai Education. Bangkok: Dhurakij Pundit University. (in Thai) Students, Master of Education, Education Administration, Khon Kaen University. (2013). Characteristics of Teacher in 21st Century in Educational Primary Schools, Khon Kaen, Area 1. Khon Kaen: Education Administration, Khon Kaen University. 19
เอกสารอ้างองิ (ตอ่ ) Suwannarot, S. (2007). Teacher Royal thought or Idea. Microbiology professor, 101(4), 40. (in Thai) Tammatakool, S. (2012). Education for Teacher characteristic New Age. Phetchabun: Faculty of EducationPhetchabun Rajabhat University. (in Thai). The Secretariat of the Council. (2016). Professional Standards in Education [online]. Retrieved September 9, 2016, from: http://www.ksp.or.th/ksp2016/th/home/index.php. Vace, P. (2010). Lecture: Education Out of the crisis. Bangkok: Dhurakij Pundit University. (in Thai) Watanachai, K. (2014). Dear Teacher:He was born to be a teacher. Bangkok: Tanawat printing office. (in Thai) 20
บทที่ 2 ครูมืออาชีพสกู่ ารเรยี นร้แู บบมืออาชพี ครูเป็นบุคคลที่ได้รับการยกย่องจากสังคม ไม่ว่าจะเป็นเพื่อนร่วมงาน ผู้บังคับบัญชาหรือ หน่วยงานต้นสังกดั พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ได้พระราชทานพระบรมราโชวาท แกค่ รูอาวุโส เมื่อวันท่ี 29 ตลุ าคม 2522 มีขอ้ ความเกีย่ วกับลักษณะครูท่ีดี 3 ประการ คือ “ความเป็น ครูนั้นประกอบข้ึนดว้ ยสง่ิ ท่มี ีคุณคา่ สูงหลายอย่าง ได้แก่ 1) ปญั ญา คอื ความรทู้ ดี่ ปี ระกอบดว้ ยหลกั วิชา อนั ถูกต้อง ที่แนน่ แฟ้นกระจา่ งแจ้งในใจ รวมท้ังความฉลาดที่จะพจิ ารณาเรื่องต่าง ๆ ตลอดจนกิจที่จะ ทำ คำทจี่ ะพูดทกุ อย่างไดโ้ ดยถูกต้อง ดว้ ยเหตผุ ลอย่างหนึ่ง ไดแ้ ก่ ความดี คอื ความสจุ ริต ความเมตตา กรุณา เหน็ ใจและปรารถนาดีต่อผู้อ่ืนโดยเสมอหนา้ 2) ความสามารถ ทจี่ ะเผื่อแผ่และถ่ายทอดความรู้ ความดขี องตนเองไปยังผอู้ นื่ อยา่ งได้ผล ความเป็นครมู อี ยแู่ ล้ว ยอ่ มฉายออกให้ผอู้ ่นื ไดร้ บั ประโยชน์ด้วย ผู้ที่มีความเป็นครูสมบรู ณใ์ นตัว นอกจากจะมีความดดี ว้ ยตนเองแล้ว ยังจะช่วยให้ทุกคนที่มีโอกาสเขา้ มาสัมพนั ธ์เก่ยี วขอ้ งบรรลุถงึ ความดแี ละความเจริญไปดว้ ย” (กรมวชิ าการ, 2540 : 88) เพราะฉะน้ัน ผู้ ที่จะเป็นครูต้องเป็นผู้ที่จะรับหน้าที่อันหนัก ดังที่ มยุรีด้วงศรี(2558: 33 - 34) กล่าวว่า ค าว่า “ครู” คือผู้สั่งสอนศิษย์หรือผู้ถ่ายทอดความรู้ให้แก่ศิษย์ มาจากค าว่า คะ-รุ (ในภาษาบาลี) แปลว่า “หนัก” หมายความวา่ ความรับผดิ ชอบในการอบรมสั่งสอนของครูน้ัน นับเป็นภาระหน้าที่ทห่ี นักหนาสาหัสไม่ น้อย กว่าคน ๆ หนึ่งจะเติบโตเป็นผู้มีวิชาความรู้ และเป็นคนดีของสังคม ผู้เป็น \"ครู\" จะต้องทุ่มเท แรงกายและแรงใจไม่น้อยไปกว่าพ่อแม่ผู้ให้กำเนิดเลย ซึ่งในชีวิตของคนๆ หนึ่ง นอกเหนือไปจากพ่อ แม่ซึ่งเปรียบเสมือน “ครูคนแรก” แล้ว การที่เด็ก ๆ จะดำรงชีพต่อไปได้ในสังคม จำเป็นอย่างยิ่งท่ี จะต้องมี \"ครู\" ที่จะประสทิ ธ์ิประสาทวิชาความรู้ เพื่อปพู ื้นฐานไปสูห่ นทางทำมาหากนิ ในภายภาคหน้า ด้วย ดังนั้น \"ครู\" จึงเป็นบุคคลสำคัญที่ทุกคนควรจะได้แสดงความกตัญญูกตเวทิตาต่อท่าน เพราะครู เปน็ ผยู้ กระดับความคิดและจิตวญิ ญาณของผเู้ รยี นซ่ึงเกิดจากกระบวนการการศึกษา 21
บทนำ มาเรียม นิลพันธุ์ (2557 : 451) กล่าวว่าการศึกษาเป็นเครื่องมือสำคัญที่จะทำให้ทรัพยากร มนุษย์มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น และท าให้มีความรอบรู้ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสังคม ซึ่งเป็นปัจจัยที่สำคัญที่สุดในการสร้างความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจให้แก่สังคมประเทศชาติ เป็น การถ่ายทอดวิชาความรู้ ปลูกฝัง คุณธรรมจริยธรรม เป็นแบบอย่างที่ดีให้กับคนรุ่นหลัง สร้างความ เจริญงอกงามทางด้านร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา ส่งเสริมและรักษาวัฒนธรรมอันดีงามให้คงอยู่ ตลอดไป เพราะการศึกษาคือ “บันได” นำไปสู่ความสำเร็จทั้งในด้านส่วนตัวและส่วนรวม จึงนับเป็น ปัจจัยที่ 5 ของมนุษย์ ในกระบวนการศึกษานั้น สิ่งที่จำเป็นอีกประการหนึ่งคือการฝึกอบรมเพื่อ ปรับปรุงคุณภาพชีวิตและประสิทธิภาพในการทำงาน ดังที่ วิจิตร อาวะกุล (2540 : 37) กล่าวว่าการ ฝึกอบรมเป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลง ปรับปรุง พัฒนาพฤติกรรมของบุคคลในองค์การโดยการให้ บุคคลเรียนรู้ทำความเข้าใจ ทำให้เกิดทักษะ ก่อให้เกิดเจตคติที่ดีหรือเป็นที่พึงปรารถนาขององค์การ และในการเปล่ยี นแปลงทัง้ หลายเหล่าน้ี ย่อมขึ้นอยกู่ ับกระบวนการศึกษาท่ีมาจากนโยบายของรัฐบาล ครู คือ ผู้นำทางจิตวิญญาณและเป็นกัลยาณมิตรที่มีความสำคัญในการสั่งสอนและถ่ายทอด ความรู้ให้แก่ศิษย์มาทุกยุคทุกสมัย ครูในแต่ละยุคต้องอาศัยวิชาความรู้ที่ตนเองถนัดและสามารถ ถ่ายทอดความรใู้ ห้กบั ศิษย์ เพยี งเพอ่ื หวงั ว่าศิษยจ์ ะนำความรู้ท่ีได้ไปประกอบอาชีพทส่ี ุจริตและเป็นคน ดีของสังคม เพราะครูเป็นผู้ที่ก่อให้เกิดองค์ความรู้อันจะเป็นประโยชน์ต่อสังคมและโลก และเป็นผู้มี ความสำคัญต่อการสร้างบณั ฑิตให้มีความคดิ ท่ีดี มวี ธิ กี ารวิเคราะห์อย่างถูกต้องและมีระบบระเบียบใน การปฏิบัติงาน ตลอดจนสามารถพัฒนาบุคลิกภาพเชิงวิชาการ เชิงวิชาชีพ ซึ่งศิษย์ควรได้รับการ ปลกู ฝงั อบรมจากครูผ้สู อน นโยบายรัฐบาลกบั การศึกษา พระราชบญั ญัติการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 ซ่งึ ไดน้ ิยาม คำว่า “การศกึ ษา” ไวใ้ นมาตรา 4 ว่า “การศึกษา เป็นกระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบคุ คลและสังคม โดยการถ่ายทอด ความรู้ การฝกึ การอบรม การสืบสานทางวฒั นธรรม การสรา้ งสรรค์จรรโลงความก้าวหน้าทางวชิ าการ การสร้างองค์ความรู้อันเกิดจากการจัดสภาพแวดล้อม สังคม การเรียนรู้และปัจจัยเกื้อหนุนให้บุคคล เรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต” นอกจากนี้ ในมาตรา 6 ได้ก าหนดความมุ่งหมายไว้ว่า “การจัดการ ศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และ คณุ ธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข” จากนิยามและความมุ่งหมายดังกลา่ ว จะเหน็ ได้อยา่ งชดั เจนว่าการศึกษาเปน็ กลไกสำคัญในการพัฒนา มนษุ ย์ใหม้ คี วามสมบรู ณ์ และการเรียนร้ขู องมนษุ ยน์ ั้นสามารถเรียนรไู้ ดต้ ลอดเวลา 22
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ไดก้ ำหนดนโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต โดย ให้มีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบเพื่อพัฒนาครูตามสมรรถนะให้เป็นครูดี ครูเก่ง มีคุณภาพ คุณธรรม จึงได้จัดโครงการพัฒนาครูที่เน้นการสร้างความเข้มแข็งของสมรรถนะด้านการ จัดการเรียนการสอนในบริบทที่หลากหลายของลักษณะและขนาดของโรงเรียน โดยใช้กระบวนการ สรา้ งระบบพี่เลี้ยง coaching และให้เป็นไปตามความต้องการจำเปน็ ของสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษา/มัธยมศึกษา โดยให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา/มัธยมศึกษา ประสาน สถาบันอุดมศึกษาเพื่อร่วมเป็นคู่พัฒนา การจัดพัฒนาให้เน้นรูปแบบการพัฒนาฐานโรงเรียนในขณะ ปฏิบัติการสอน (on the Job training) และให้มีระบบสนับสนุนในรูปแบบการ coaching และ mentoring โดยให้เน้นการพัฒนาเพื่อเสริมสร้างจิตวิญญาณและอุดมการณ์ของความเป็นครู การ พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถด้าน literacy, numeracy และ reasoning ability ตาม ระดบั ชั้น ควบรวมกบั กระบวนการจัดการเรยี นร้กู ลมุ่ สาระการเรียนรู้ หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้น พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ตามแนวทางของการเรียนร้ใู นศตวรรษท่ี 21 ดว้ ยการออกแบบ จัดทำ และ พัฒนาหลักสูตร สื่อ และวิธีการพัฒนาครู ให้ครอบคลุมตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และเหมาะสมกับระดับชั้นที่สอน แล้วจึงประเมินสมรรถนะก่อนการพัฒนา และ ดำเนินการพัฒนาครูตามหลกั สูตร โดยกำหนดกรอบระยะเวลาในการพฒั นาไม่น้อยกวา่ 5 วันดังนี้ (1) กิจกรรม classroom เน้นด้านเนื้อหาและกระบวนการรวมทั้งการฝึกปฏิบัติ 2 วัน (2) กิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ณ สถานศึกษาไม่น้อยกว่า 3 ครั้ง และจะต้องมีกระบวนการนิเทศ ติดตาม ประเมนิ ผลดว้ ย หากกล่าวถึงคำว่า “ครู” หลายคนคงนึกถึง “บทบาทการเป็นผู้พัฒนาทางด้านวิชาการของ นักเรียน” ซึ่งนับเป็นบทบาทที่ทุกคนให้ความสำคัญ โดยเฉพาะนักวิชาการศึกษาที่มุ่งมั่นหาวิธีการ ใหม่ๆ หรือนวัตกรรมมาใช้ในการทำวิจัย เพื่อพัฒนาให้เกิดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนท่ีดีขึ้น อีกบทบาท หนึ่งที่สำคัญไม่แพ้กัน นั่นก็คือ “บทบาทในการพัฒนานักเรียนให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์” คำว่ามนุษยท์ ่ี สมบรู ณน์ นั้ ไม่ได้หมายถึงเฉพาะผู้ท่ีเรียนเก่ง หรืออยใู่ นโอวาทของคุณพ่อคุณแม่ ครบู าอาจารย์ เท่าน้ัน แต่หมายรวมถึงความสมบรู ณ์ทัง้ ทางรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์ สงั คม และสตปิ ัญญาด้วย กลา่ วคอื ก. ความสมบูรณ์ทางด้านร่างกาย คือ การมีสุขภาพกายดี แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ มีความรู้ ความเข้าใจและรู้จักวิธีปฏิบัติตนเพื่อป้องกันโรค และหลีกเลี่ยงอุบัติเหตุหรือภาวะเสี่ยงต่อ การบาดเจบ็ ข. ความสมบรู ณท์ างดา้ นจติ ใจ คือ การมีสุขภาพจิตดี มีความออ่ นโยน เมตตากรุณา คิดดี มี หลักคุณธรรม และจรยิ ธรรมในการดำเนนิ ชวี ิต ค. ความสมบูรณ์ทางด้านอารมณ์ คือ ความสามารถในการควบคุมอารมณ์และการแสดง อารมณไ์ ด้อยา่ งเหมาะสม และถกู กาลเทศะ 23
ง. ความสมบูรณ์ทางด้านสังคม คือ ความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับสังคมได้ดี มี ปฏสิ มั พันธท์ ่ดี ี เคารพกฎระเบยี บของสงั คม มีความรบั ผิดชอบ และสง่ เสรมิ ความสามคั คใี นหมู่คณะ จ. ความสมบูรณ์ทางสติปัญญา คือ ความสามารถในทางวิชาการ มีความรู้ มีทักษะ มี สติปญั ญา และสามารถนำไปใชเ้ พอื่ เกิดประโยชน์และสร้างสรรคไ์ ด้ ทั้ง 5 ข้อนี้ มีความสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวดที่ 1 มาตรา 6 ที่กล่าวว่า “การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อการพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้ง รา่ งกาย จิตใจ สตปิ ญั ญา ความรู้ และคณุ ธรรม มีจริยธรรมและวฒั นธรรมในการดำรงชวี ิต สามารถอยู่ ร่วมกบั ผอู้ ื่นได้อยา่ งมคี วามสขุ ” และในมาตรา 22 บญั ญัตไิ วว้ ่า การจัดการศกึ ษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียน ทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการ จดั การศกึ ษาต้องส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นสามารถพฒั นาตามธรรมชาตแิ ละเต็มตามศักยภาพ ซง่ึ ต้องอาศัยครู มืออาชพี เท่านั้น และการพัฒนาใหเ้ ปน็ ครูมอื อาชพี ต้องเริ่มที่ผู้เป็นครเู ป็นเบอื้ งต้น การพัฒนาความเป็นครูมอื อาชีพต้องเร่มิ ที่ผู้เปน็ ครู เป็นความท้าทายใหม่และเป็นโอกาสที่จะทำให้เกิดการพัฒนา การเป็นครูมืออาชีพต้องเริ่มมี การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงห้องเรียนที่รับผิดชอบให้มีบรรยากาศทางการเรียนรู้ ผู้เรียนต้องรู้สึกว่ามี แรงจูงใจในการเรียน ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวต้องเริ่มจากตัวครูเพื่อปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม เพราะง่ายกว่าการปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมและบุคคลรอบข้างให้เข้ากับสภาพที่เป็น ครูมืออาชีพต้อง เข้าใจว่าการที่จะทำให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะดังกล่าวจ าเป็นที่จะต้องปรับกระบวนทัศน์ตามหลักการ จัดการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 ทั้งด้านพุทธิศึกษา จริยศึกษา พลศึกษา และหัตถศึกษา การ เปลี่ยนแปลงสู่การเรียนรู้ (transformative learning) ทำให้กล้าที่จะรับรู้และดึงศักยภาพที่มีออกมา ใช้ในการเรยี นการสอน (Nuangchalerm and Prachagool, 2010 : 250) ซ่งึ มีเทคนคิ บางประการที่ จะเสนอ ดังนี้ เทคนคิ ที่ 1 การใช้เสียงในหอ้ งเรียนใหม้ ีความเปน็ ธรรมชาติ ต้องเป็นเสยี งพูดจาระหวา่ งครูกับ นักเรียนเชิงบวก เสียงพูดจาที่เรียบง่ายและให้ความรู้สึกเชิงบวกสามารถกระตุ้นพัฒนาการทางสมอง และสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้ได้ดีกว่าเสียงพูดที่ปนอารมณ์หรือการใช้คำพูดเชิงลบ การพูดเสียงดัง ไมใ่ ชว่ ิธีการทด่ี ีนักเพื่อใหน้ ักเรียนหนั มาสนใจในบทเรียน แตก่ ลับสรา้ งความเครียดและแลดูไม่มีคุณค่า ที่จะเร้าให้เกิดความสนใจได้อย่างต่อเนื่อง นักเรียนจะแสดงพฤติกรรมตอบสนองต่อเสยี งและคำพูดท่ี ปนอารมณ์ของครูผ่านสีหน้าหรือการแสดงออก ดังนั้น ครูมืออาชีพมักใช้คำพูดที่ดูธรรมดา เรียบง่าย และใหพ้ ลังทางบวก การชมเชยย่อมดีกว่าการวา่ กลา่ วอย่างแน่นอน ครูมืออาชพี ก็พึงเรียนรู้การพูดท่ีมี ประสิทธิภาพ รู้จักเอาใจเขามาใส่ใจเรา อยากให้คนอื่นพูดจากับเราเช่นไรควรเรียนรู้ที่จะใช้คำพูด เช่นน้นั กับผูอ้ ่ืนเชน่ กัน 24
เทคนิคที่ 2 การรู้จักรอคอยคำตอบ การถามค าถามของครูอาจสร้างความเงียบในห้องเรียน ครคู วรเรยี นรทู้ ีจ่ ะรอคอยคำตอบ (waiting time) ซงึ่ ปกติความเงยี บจะเปน็ สงิ่ กระตนุ้ ให้นักเรียนได้ขบ คิดและตอบคำถาม ครูอย่าเร่งรีบถามและตอบคำถามเอง โดยส่วนใหญ่มักใช้เวลาในการรอคอย คำตอบประมาณ 10-15 วนิ าที การถามคำถามจะชว่ ยกระตุ้นกระบวนการคิดของนักเรียน นอกจากนี้ บ่อยครั้งนักเรียนจะเงียบไม่กล้าตอบ หากครูใช้คำพูดที่ไม่เหมาะสม การโน้มน้าวให้ตอบคำถามอาจ ร่วมกันตอบทั้งชั้นเรียน หรือรายบุคคล และอย่าลืมเสริมแรงทางบวกเมื่อนักเรียนตอบคำถาม เช่น การกล่าวคำชมเชย การปรบมือ การแสดงความขอบคุณ ในปัจจุบันการสื่อสารของห้องเรียนใน ศตวรรษที่ 21 อาจเชื่อมโยงไปสู่สังคมออนไลน์ การเติมเต็มจริยธรรมในการใช้และเสริมแรงทางบวก ผา่ นสอ่ื สงั คมออนไลน์ก็จะช่วยให้การสื่อสารระหว่างครูกับนักเรียนดีข้ึน แตก่ ค็ วรแนะนำให้นักเรียนใช้ อย่างพอเหมาะพอควร และเรยี นรูท้ ี่จะส่อื สารกับเพื่อนในช้ันเรียนมากขน้ึ ด้วย เทคนิคที่ 3 การสื่อสารด้วยภาษาและท่าทาง การยืนนิ่ง ๆ หน้าชั้นเรียนโดยปราศจาก เคล่อื นไหวของรา่ งกาย ยกเวน้ ลมหายใจก็คงไมแ่ ตกตา่ งจากการฟงั วิทยุ ซ่งึ แลดขู าดอรรถรสในการฟัง และเรียนรู้ของนักเรียน การสื่อสารด้วยภาษาที่มีความหมายประกอบกับการเคลื่อนไหว การใช้มือ การสื่อสารความรู้สึกผ่านสีหน้าและสายตาระหว่างครูกับนักเรียน ย่อมสามารถตรึงตราความสนใจ และแสดงออกซึ่งความใส่ใจในชั้นเรียนของครูมืออาชีพ อย่าลืมว่าดวงตาเปรียบเสมือนหน้าต่างของ ดวงใจ การเดินและสือ่ สารควรเป็นไปตามธรรมชาติ การสบตา (eye contact) เป็นการตรวจสอบและ ติดตามพฤติกรรมของนักเรียนได้ขณะที่สอน นอกจากนี้ การตบไหล่เบา ๆ การหยิบจับอุปกรณ์การ เรียน การยิ้ม การหัวเราะ การเดินเข้าไปพูดคุย ล้วนเป็นเทคนิคง่ายๆ ที่จะเชื่อมโยงความผูกพัน ระหว่างกันและกัน การถ่ายทอดเน้อื หาสาระในบทเรียนก็จะเกดิ ขนึ้ อย่างเปน็ ธรรมชาติ เทคนิคที่ 4 การเข้าถึงความรู้สึกและพฤติกรรมของนักเรียน ครูมืออาชีพควรมีความไวต่อ ความร้สู กึ และพฤติกรรมท่ีแสดงออกของนักเรียน ความรู้สึก (feelings) เป็นส่งิ ท่ไี ปกระตุ้นให้เกิดการ รับรู้และตอบสนองออกมาทางพฤติกรรม สิ่งที่แน่นอนที่สุดคือชั้นเรียนล้วนมีความแตกต่างระหว่าง บคุ คล เม่ือไหร่กต็ ามท่เี กดิ ความขัดแย้งทางความคิดของนกั เรยี น การทำความเขา้ ใจโดยปราศจากอคติ จะช่วยให้ครูมืออาชีพสามารถแก้ไขและจัดการกับปัญหาได้ ครูควรตั้งสติเมื่อมองเห็นว่าปัญหานั้นดู เลก็ นอ้ ย ครคู วรใหน้ กั เรยี นจดั การกับปัญหาเหล่านั้นเอง อย่ารีบเขา้ ไปมบี ทบาทไปไกล่เกลยี่ จนอาจทำ ให้นักเรียนเกิดอคติต่อครู ปล่อยให้นักเรียนมีโอกาสเรียนรู้และจัดการกับปัญหาโดยตัวเองก่อน หาก เห็นว่าปัญหานั้นลุกลามใหญ่โตขึ้น ครูจึงเริ่มเข้าไปมีบทบาทเป็นคนกลางไกล่เกลี่ยเพื่อจัดการกับ ปัญหาน้นั นอกจากน้คี รูควรสอดแทรกคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์พร้อมกับให้นักเรยี นได้ต้ังกฎของช้ัน เรียนรว่ มกนั เพ่ือป้องกันการเกดิ ปญั หาน้นั ขน้ึ มาอกี เทคนิคที่ 5 การให้บทบาทนักเรียนได้มีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนการสอน การสร้าง ความรสู้ กึ ของการมีสว่ นร่วม (participation) เปน็ หลักการพ้ืนฐานทางประชาธิปไตย เม่ือมีส่วนร่วมก็ 25
จะเกิดความรู้สึกความเป็นเจ้าของและรับผิดชอบต่อสิ่งนั้น เช่น การให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมเตรียม อุปกรณ์การเรียนการสอน การนำเสนอผลงาน การร่วมกันทำโครงงาน การร่วมกันผลิตสื่อและ นำเสนอผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ฯลฯ ซึ่งครูมืออาชีพก็ต้องเรียนรู้ที่จะให้บทบาทแก่นักเรียนตาม โอกาสและความเหมาะสมของแต่ละคน การนำหลักจิตวิทยามาปรับใช้เพื่อให้นักเรียนมองเห็นภาพ การเรยี นการสอนจะช่วยใหเ้ ข้าใจจดุ มงุ่ หมายและกิจกรรมทีต่ ้องทำเพ่ือดำเนินการใหบ้ รรลุตามท่ีตั้งไว้ การเปดิ เรียนวันแรกคือ หัวใจสำคัญของการวางเง่ือนไขและนำไปสู่การสรา้ งเป้าหมายร่วมกันระหว่าง ครูกับนักเรียน การนำเสนอแผนการเรียนรู้ทั้งภาคการศึกษาจะช่วยวางแผนการเรียนและสร้าง แรงจูงใจในบทเรียน ครูมืออาชีพมักให้ความสำคัญกับคาบแรกเสมอ ซึ่งนอกจากจะเป็นการทำให้ นักเรียนเข้าใจในการดำเนินการท้ังหมด กฎ กติกาการเรียนการสอนควรกำหนดรว่ มกันในวันแรกของ การเปิดภาคเรียน เปิดโอกาสให้นักเรียนซกั ถามปรับเปลีย่ นทัศนคติตอ่ วิชาและกระบวนการเรยี นการ สอนร่วมกนั ตามสมควร การพัฒนาความเป็นครูมืออาชีพน้ัน เมื่อได้เริ่มที่ผู้เป็นครูและได้ดเนินตามเทคนิคท้ัง 5 ประการนีแ้ ลว้ ประการสำคญั เปน็ ลำดบั ตอ่ มาต้องสร้างแรงจงู ใจในการเรียนให้แกผ่ ู้เรียนดว้ ย การสรา้ งแรงจงู ใจในการเรยี นรู้ ครูมอื อาชีพตอ้ งสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้มากกว่าแค่การถ่ายทอดความรจู้ ากตำราเป็นหลัก สถานการณ์มกั สรา้ งใหน้ ักเรียนรู้จักแกป้ ัญหา เพ่ือแข่งขันกบั คนอ่นื และเอาชนะใจตนเอง การสร้างแรง ขับภายในจะดีกว่าแค่การส่งเสริมให้นักเรียนท่องจำเนื้อหาสาระ เพราะเป็นการสร้างคุณลักษณะใฝ่รู้ ใฝ่เรียนที่คงทนมากกว่าการจดจำเพื่อสอบ ความกระหายอยากที่จะรู้จะเป็นแรงกระตุ้นให้นักเรียน สร้างเครื่องมือและวิธีการสืบเสาะหาคำตอบด้วยตนเอง ซึ่งจะมีคุณค่าและความหมายในการเรียน เพอ่ื รู้ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 มุ่งสร้างแรงจูงใจใฝ่เรียนรู้แก่ผู้เรียน พร้อม ๆ กับการเสริมสร้าง ทกั ษะทจี่ ำเปน็ ต่อการพฒั นาตนเอง โดยนยั ท่ีวา่ การสรา้ งแรงจูงใจในการเรียนรชู้ ว่ ยให้ผู้เรียนเกิดความ กระหายอยากที่จะมีพลังทางการใฝ่รู้ ผู้เรียนจะมีความรู้สึกอิสระที่จะนำพาตนเองสู่การค้นคว้าหา คำตอบ ซ่งึ การสรา้ งแรงจูงใจในการเรยี นจะชว่ ยใหผ้ ู้เรียนเกิดการนำตนเอง (autonomous learner) ครูมืออาชีพในศตวรรษที่ 21 จึงมักเลือกการให้เครื่องมือทางการเรียนรู้และเสริมแรงจูงใจแก่ผู้เรียน มากกว่าแค่การส่งผ่านและถ่ายทอดเนื้อหาสาระวชิ า (ประสาท เนืองเฉลิม, 2558) การสร้างแรงจูงใจ ในการเรยี นรู้เปน็ ปรากฏการณท์ ีส่ ลับซับซ้อน ซึ่งเปน็ พน้ื ฐานในการปรับปรุงพฤตกิ รรมและเทคนิคการ เปลี่ยนพฤติกรรมของมนุษย์ วิธีการเสริมแรงตามทฤษฎีของ Skinner ดังที่ สุรางค์ โค้วตระกูล (2553: 53) ได้นำมาปรับใช้ในการเรยี นรู้ 4 วธิ ี 26
1. การเสริมแรงทางบวก (positive reinforcement) เป็นการบริหารรางวัลตอบแทนตามผล การปฏิบัติ เพอ่ื ให้เกิดพฤตกิ รรมท่ีพึงปรารถนา เชน่ การชมเชยและการยกยอ่ ง เมอ่ื ผู้เรยี นทำงานเสร็จ ตามกำหนด 2. การเรียนรู้หลีกเลี่ยงปัญหา (avoidance learning) เป็นการเสริมแรงด้านลบ (negative reinforcement) การเรียนรทู้ เี่ กิดขึ้น เพราะผู้เรยี นไมส่ ามารถปฏิบตั ิตามหน้าท่ีท่ไี ด้รับมอบหมาย เช่น ครดู ุเมอ่ื ส่งการบ้านช้ากว่ากำหนด การเรยี นรู้หลกี เล่ียงปัญหาเกิดจากสิง่ ที่ผเู้ รยี นต้องการเล่ียงผลลัพธ์ ท่ีไม่นา่ พอใจ 3. การยับยั้งพฤติกรรม (extinction) เป็นการเลิกให้รางวัลเพื่อจุดมุ่งหมายในการยับยั้ง พฤตกิ รรมอย่างใดอย่างหนึ่งในอนาคต โดยการลดการเสริมแรง เช่น ครูจะเลกิ ให้รางวลั กบั ผู้เรียนที่ทำ การบ้านเสร็จทนั เวลาแตผ่ ลงานไม่เรยี บร้อย 4. การลงโทษ (punishment) เป็นการปรับพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องภายใต้เงื่อนไขการให้ผล ลัพธ์ที่เป็นลบ จะช่วยลดหรือยับยัง้ พฤติกรรมเป็นการลบพฤติกรรม เช่น การว่ากล่าวตักเตือนเทคนิค การสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้ที่ครูมืออาชีพสามารถทำได้ คือพยายามให้ความสนใจผู้เรียนอย่าง แท้จริง การให้ความสนใจจะสร้างพลังแห่งความหวัง ความฝัน และเป็นแรงขับที่ทำให้เกิดความตั้งใจ มุ่งมั่น (Feldman, 2008 : 32) เมื่อผู้เรียนเกิดความรู้สึกและรับรู้ว่ามีคนใส่ใจ ได้รับบรรยากาศการ เรียนเชิงบวก ได้รับการเสริมแรงอย่างเหมาะสม ได้รับกำลังใจที่ดีแล้ว จะทำให้ผู้เรียนสนใจและใส่ใจ ต่อการเรียนและจะพยายามฝึกวิชาการต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความชำนาญ ที่เรียกว่า “ทักษะ ( skill)” เพราะทักษะการเรยี นรูส้ ำคัญกว่าความรู้ ทกั ษะการเรยี นรูส้ ำคัญกวา่ ความรู้ การเรียนรู้ที่มีคุณค่าและมีความหมายในสังคมยุคปัจจุบันไม่ใช่การท่องจำเนื้อหาสาระ หรือ การเรียนแบบท่องสอบตอบลืม เพราะความรู้เปลี่ยนแปลงเร็วมากและขยายตัวขึ้นอย่างรวดเร็ว การแพร่กระจายของข้อมูลข่าวสารได้รับผลกระทบจากเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้ค วามรู้ เปลี่ยนแปลงเร็วกว่าอดีตเป็นอย่างมาก (วิจารณ์ พานิช, 2555 : 12) หากครูยังคงกระบวนทัศน์การ เรียนการสอนแบบเดิม ๆ ก็มิอาจที่จะปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งตัว ผู้สอนและตัวผู้เรียนได้ การเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 นี้จึงมุ่งเน้นการสร้างทั กษะที่จำเป็นแก่ ผู้เรียนและสร้างแรงจูงใจใฝ่เรียนรู้ ซึ่งเป็นทั้งแรงขับและเครื่องมือที่จะทำให้เกิดการเรียนรู้อย่าง ต่อเน่ือง ทักษะการเรียนรูท้ ส่ี ำคญั ในศตวรรษที่ 21 มดี ังนี้ 1. การอ่าน (reading) เป็นทกั ษะที่ควรฝึกฝนให้เกดิ กับผู้เรียน เพราะการอ่านคือการเปิดโลก ทศั น์ เปดิ ความคดิ และสามารถสรา้ งแรงบนั ดาลใจได้อยา่ งมหาศาล 27
2. การเขยี น (writing) เป็นทกั ษะท่ชี ว่ ยฝึกกระบวนการคดิ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และ การสรุปความ และยงั เป็นการแสดงออกซ่ึงความรสู้ ึก และความคิดผ่านตัวอักษร 3. คณิตศาสตร์ (arithmetic) เป็นทักษะการคำนวณ รู้จักใช้ตรรกะ มีเหตุผล ซึ่งจะทำใหเ้ กดิ ความคิดเช่ือมโยงเห็นความสมั พันธ์ระหวา่ งส่ิงต่าง ๆ 4. การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (critical thinking) เป็นทักษะที่ช่วยในการวิพากษ์สิ่งต่าง ๆ ท่มี ากระทบ เน่อื งดว้ ยเทคโนโลยีสารสนเทศมากมายมหาศาล การเสพข้อมูลจึงต้องอาศัยการคิดอย่าง มวี จิ ารณญาณเพ่อื ประกอบการคิดและตัดสนิ ใจบนความถูกต้อง แมน่ ยำ และนา่ เชื่อถือมากทีส่ ดุ 5. การสรา้ งสรรค์ (creativity) เปน็ ทกั ษะที่ทำให้โลกเกิดการพัฒนาและเปลีย่ นแปลงด้วยแรง บันดาลของความสร้างสรรค์ การประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่ความ สรา้ งสรรค์ 6. การร่วมมือ (collaboration) เป็นทักษะของการทำงานเป็นทีม มีลักษณะเป็นเครือข่าย เนื่องด้วยคนยุคใหม่มีศักยภาพทั้งจากภายในตนเองและผลกระทบของเทคโนโลยี ทำให้การนำความ พิเศษของบคุ คลต่าง ๆ มารว่ มกันสรา้ งสรรคน์ วตั กรรมใหม่ใหก้ บั โลก 7. การสื่อสาร (communication) เป็นทักษะที่ช่วยให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารมี ประสิทธิภาพ ไม่ว่าจะเป็นการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน ซึ่งเป็นทักษะพื้นฐานของมนุษย์ใน การส่ือความรู้สึก ความคดิ สบู่ ุคคลอื่นได้ ดงั นัน้ การสอนของครูมืออาชีพต้องปรับเปลี่ยนจากเดิมคือเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้มาสู่การเป็น ผู้อำนวยความสะดวกในการเรียนการสอน ตอ้ งสง่ เสรมิ และสรา้ งแรงบนั ดาลใจใฝเ่ รียนรู้ เพราะสิ่งท่ีครู สอน คือทักษะที่จำเป็นแก่ผู้เรียนเพื่อใช้ในการสบื เสาะหาความรู้และต่อยอดสู่การพัฒนาตนเองอย่าง สร้างสรรค์ รวมทั้งเครื่องมือด้านการคิด การใช้ชีวิต การสื่อสาร และการอยู่ร่วมกันอย่างเป็นปกติสุข ในกระแสสังคมแห่งการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ที่เรียกกันว่า “ติดอาวุธทางปัญญา” ให้แก่ผู้เรียน เพราะฉะนนั้ ครูมืออาชีพมสี ิ่งทตี่ ้องรบี ปรับปรงุ ดังน้ี สิ่งทค่ี รมู ืออาชีพตอ้ งปรบั ปรุง การเรยี นการสอนในยุคดิจิทลั มีการเปลยี่ นแปลงหลายอย่างท้งั สภาพสังคม การเรียนรู้ วธิ กี าร คิด และการดำรงชีวิตที่มีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้น ดังนั้น ผู้ที่จะฝึกตนเองให้เป็นครูมืออาชีพจึงต้องมี การปรับเปลยี่ น ดงั น้ี 1. หลงใหลใคร่รู้ด้านการเรียนการสอน การพยายามพัฒนาตนเองด้านศาสตร์และศิลป์การ สอนจะทำให้ครูอยู่ในบรรยากาศของความเป็นวิชาการอย่างสม่ำเสมอ ชอบอ่าน ชอบคิด ชอบเขียน ชอบพูด และชอบนำความรู้และสิ่งต่าง ๆ ที่ได้รับมาปรับใช้ในห้องเรียน หมั่นทบทวนความรู้และทำ วจิ ยั เพอื่ พัฒนาการเรยี นการสอนจะทำใหค้ รรู ู้สึกหลงใหลใครร่ สู้ ง่ิ ตา่ งๆ เก่ียวกบั การเรียนการสอน 28
2. รักและยุติธรรมกับผู้เรียน ความรักมักทำให้คนเรียนรู้ที่จะให้อย่างบริสุทธิ์ใจ ปราศจาก อคติครอบงำ การแสดงความรักกับผู้เรียนทำได้ง่าย ๆ เช่น การลูบหัว การตบไหล่เบา ๆ การยิ้ม การ ใชค้ ำพดู เชิงบวก การชมเชย นอกจากมีความรักแลว้ ยังต้องยตุ ิธรรมกับผู้เรียนทุกคน ฝึกมองโลกในแง่ บวกและต้องมีความเชื่อเป็นพื้นฐานว่า ผู้เรียนทุกคนมีศักยภาพและพร้อมที่จะพัฒนาได้ ทั้งนี้ตามแต่ ศกั ยภาพความแตกต่างของแตล่ ะบุคคล 3. รกั การสอนและพัฒนาตนเองอยูต่ ลอดเวลา การเรยี นรู้ให้เท่าทนั กบั ผู้เรยี นยคุ ใหม่ต้องใส่ใจ คุณภาพการสอน รู้จกั สบื เสาะคน้ คว้าหาความรู้ เทคนิค วิธีการใหม่ ๆ มาปรับใช้ในชน้ั เรียน ซึง่ จะช่วย ใหผ้ ู้เรียนสนุกกับกจิ กรรมและผ้สู อนยงั ได้นำความรูใ้ หม่มาทดลองใชเ้ พ่ือให้เหมาะสมกับผูเ้ รียนแตล่ ะคน 4. ทำความเข้าใจปรัชญาการศึกษา เมื่อมองเห็นปรัชญาก็จะเข้าใจเป้าหมายและวิธีการที่จะ นำไปสู่การยกระดับคุณภาพการเรียนการสอน เช่น หลักสูตรการศึกษา กิจกรรมการเรียนการสอน และการวดั ผลประเมินผล ซงึ่ สงิ่ เหล่าน้เี ป็นหวั ใจสำคัญต่อการออกแบบและพัฒนาการเรียนการสอน 5. ปรับเปลี่ยนความคิด คือการปรับความเชื่อว่าการศึกษาที่ดีเริ่มจากคุณภาพครู ครูเท่าน้ัน คือผู้ที่จะเปลี่ยนโลก เปลี่ยนสังคมโดยรวมให้ดีขึ้น เพราะครูคือวิศวกรทางสังคมที่วางรากฐานให้กับ สังคมทง้ั ปจั จุบนั และอนาคต หากรากฐานไม่ดีแลว้ ยอ่ มนำไปสคู่ วามเส่ือมในท่สี ุด 6. เข้าร่วมกิจกรรมทางวิชาการอย่างสม่ำเสมอ เช่น การอบรม การสัมมนา การประชุม วิชาการ การเขียนบทความวิชาการ การสื่อสารผ่านเครือข่าย การร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับแวดวง วิชาชพี ครู และทสี่ ำคัญพยายามลดงานท่ไี มเ่ ก่ียวข้องกับการเรียนการสอน เพอ่ื ทีจ่ ะได้มีเวลาอยู่กับชั้น เรยี นและพฒั นากิจกรรมการเรียนรูข้ องผู้เรียนใหส้ อดคล้องกับศตวรรษที่ 21 การปรับเปลี่ยนความคิดของครูมืออาชีพ ต้องตระหนักถึงความสำคัญของการเรียนการสอน เป็นสำคัญ โดยต้องมุ่งพัฒนาวชิ าชีพครูเพือ่ น าไปสู่คุณภาพของผู้เรียน ซึ่งการปฏิรูปตนเองสู่การเป็น ครูมืออาชีพนั้น ต้องเริ่มจากสิ่งที่ทำได้ด้วยตนเองและปฏิบัติแบบเรียบง่าย ขอเพียงมุ่งมั่นและใส่ใจท่ี จะพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็นหลักสูตรการศึกษา การออกแบบและพัฒนากิจกรรมการ เรียนการสอน และการวัดผลประเมินผล กลไกการปฏิรูปตนเองทั้งหลายทั้งปวงเหล่านี้เริ่มที่การปรับ ความคิดของครูและนำไปลงมือปฏิบัติที่ห้องเรียน โดยให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมไม่ว่าจะเป็นการอ่าน การเขียน การคำนวณ การคิดแก้ปัญหา การร่วมมือกันทำงานผ่านการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ เช่นน้ี เรียกวา่ เป็นสภาพแห่งการเรียนรู้ในโลกแห่งการเรยี นรู้ สภาพการเรียนรู้ในโลกแหง่ การเรียนรู้ การเรียนรู้และความรู้ท่ีเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก จึงทำให้ “ครูมืออาชีพ” ที่ปรับตัวในการ ถ่ายทอดความรู้เพื่อให้ได้ “ผลผลิต” ทั้งในด้าน “ความรู้” ที่จะถ่ายทอด และ “บัณฑิต” มีคุณภาพ โดยตอ้ งปฏบิ ัติ ดังน้ี 29
1. การติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ ตรวจสอบ คุณภาพของความรู้ คุณค่าของความรู้ ความแม่นตรงของความรู้ ที่จะนำมาถ่ายทอด 2. ใชค้ วามรู้น้ัน ๆ เป็นฐาน ในการถา่ ยทอดตอ่ ผ้เู รยี น ตามระดบั ความเหมาะสมเพื่อให้ตนเอง และผู้เรียนสามารถใช้ความรู้ประยุกต์ในการแก้ปัญหา หรือหาหนทางพัฒนางานที่เกี่ยวข้อง หรือ นำไปใชเ้ พ่อื พฒั นาผลติ ภัณฑ์ กระบวนการผลิต ตลอดจนการสร้างนวัตกรรมเพื่อเพ่ิมขีดความสามารถ ในการแข่งขัน ความรู้ทีถา่ ยทอดควรถ่ายทอดทั้งด้านความรู้ (cognitive) วิธีปฏิบตั ิหรอื ความสามารถ ในการใช้ (skills) และเจตคติ (attitude) 3. ศึกษาความรู้ที่เกี่ยวเนื่องเชื่อมโยงกับความรู้ในศาสตร์เฉพาะทางแห่งตน เพราะปัจจุบัน ตอ้ งใช้ความรู้แบบองคร์ วม หรอื สหวิทยาการมากข้นึ 4. ต้องพิสูจน์และสร้างองค์ความรู้ คือทั้งพิสูจน์ความรู้ที่เรียนมาว่าเป็นจริง แม่นยำ ตรง เนื้อหาทั้งในภาพรวม และมีความถูกต้องเมื่อนำมาใช้ในแต่ละประเทศ แต่ละภูมิภาค ที่มี สภาพแวดล้อมต่างกนั รวมถึงการสรา้ งความรู้ใหมข่ ึน้ เองจากการศกึ ษาค้นคว้าวิจยั ซ่งึ อาจตอ่ ยอดจาก ความรู้ทีม่ ีผู้คน้ พบมาแล้ว รวมถึงนำความรู้ที่ได้จากการวิจัยนน้ั มาใชใ้ นการถ่ายทอดหรอื ปฏบิ ัติงาน 5. ต้องถ่ายทอดความรู้ตามแนวคิดของการเรียนรู้สมัยใหม่ ที่ผู้เรียนมีอิสระในการรับรู้ และ สร้างศักยภาพให้ผู้เรียน รู้จักหาความรู้ด้วยตนเอง และชี้นำการเรียนรู้ในลักษณะของวิธีวิทยาในการ สอนใหเ้ พ่มิ การมีปฏสิ ัมพนั ธ์กบั ผเู้ รียน 6. ต้องอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้ผู้เรียนเข้าถึงความรู้ได้แบบไม่มีขีดจำกัดว่าต้อง เรียนเฉพาะในห้องเรยี น หรอื ตอ้ งเรยี นจากครูเท่าน้ัน 7. ต้องสร้างผู้เรียนให้รู้จักคิดวิเคราะห์ อย่างมีเหตุมีผล มีจิตวิจัย ใช้ข้อมูลในการแก้ปัญหา หรือพัฒนา 8. ต้องพัฒนาตนเองให้ศึกษาและเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต รู้จักเผยแพร่ และ แลกเปลี่ยนเรียนรรู้ ว่ มกับผู้อื่น และยึดมัน่ ในหลกั บรู ณาการความรูแ้ บบสหวทิ ยาการ หากครูเข้าใจถึงปัจจัยต่าง ๆ ที่เปลี่ยนแปลงของโลกแห่งการเรียนรู้และปรับตัวให้เข้ากับ ปัจจัยที่เปลี่ยนแปลงนั้น ก็จะสามารถพัฒนาเป็น “ครูมืออาชีพ” ที่เพียบพร้อมได้รับการยอมรับ สามารถสร้าง “ผลผลิตอันมีคุณภาพและมีคุณค่า” ทำให้เกิดความเจริญก้าวหน้าทั้งต่อตนเอง อาชีพ สถาบัน และประเทศชาติได้อย่างแน่นอน เพราะ “ครู” เป็นอาชีพชั้นสูงที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา สงั คม โดยเฉพาะด้านการอบรมส่ังสอนเพื่อให้ศิษยเ์ กิดการเรียนรู้ มีความรู้ ความเขา้ ใจ มีทักษะ และมี ความรู้สึกนึกคิดใหม่ ๆ หรอื ดีมากขึน้ เหมาะสมขนึ้ ซ่งึ เปน็ ภาระทต่ี อ้ งใชค้ วามรู้ความสามารถพิเศษใน การทำงาน และสังคมก็ให้การยกย่องความสำคัญของครู (teachers) ต้องมีภาระหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติ ดงั นี้ 30
1. t (teaching) การสอน หมายถึง การอบรมสั่งสอนศิษย์ให้มีความรู้ ความสามารถใน วิชาการทั้งปวงและเกิดปัญญาในการด ารงชีวิตอย่างเป็นสุขในสังคม ซึ่งถือว่า การสอนคืองานหลัก ของครู 2. e (ethics) จริยธรรม หมายถึง ผู้ที่เป็นครูจะต้องมีบทบาทในการอบรมส่งเสริมจริยธรรม ให้แก่นกั เรียน และจะต้องประพฤติปฏิบตั ติ นให้เปน็ แบบอย่างทีเ่ หมาะสม 3. a (academic) วิชาการ หมายถึง ครูต้องมหี น้าทแ่ี ละความรับผิดชอบในทางวิชาการท้ังต่อ ตนเองและในดา้ นการสง่ เสริมความเจริญงอกงามของศษิ ย์ด้วย 4. c (cultural heritage) การสืบทอดวัฒนธรรม หมายถึง ครูจะต้องมีหน้าที่และความ รับผิดชอบเกี่ยวกบั การสบื ทอดวัฒนธรรม จากคนรุ่นหน่ึงไปสูค่ นอกี รุ่นหน่งึ 5. h (human relationship) มนุษย์สมั พนั ธ์ หมายถึง ครอู าจารยต์ อ้ งทำหนา้ ท่ีเป็นผู้มีมนุษย์ สัมพันธ์ที่ดี ทั้งในด้านส่วนตัวและส่วนรวม ซึ่งมนุษย์สัมพันธ์ของครูประกอบด้วย มนุษย์สัมพันธ์ ระหว่างครูกับนักเรียนมนุษย์สัมพันธ์ระหว่างครูกับครู และมนุษย์สัมพันธ์ระหว่างครูกับ ผู้ปกครอง/ชมุ ชน 6. e (evaluation) การประเมินผล หมายถึง การประเมินผลการเรียนของนักเรียนและการ สอนของครู ซึ่งการประเมินผลสามารถทำได้หลากหลายวิธีขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์และเนื้อหา เพื่อ นำไปพัฒนากระบวนการเรียนการสอนให้มปี ระสิทธภิ าพมากย่ิงขนึ้ 7. r (research) การวิจัย หมายถึง การที่ครูต้องเป็นนักแก้ปัญหา และศึกษาหาความรู้จาก ความจริงที่เชื่อถือได้ ซึ่งการที่จะแก้ปัญหาไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพครูจะต้องทราบสาเหตุที่แทจ้ ริงของ การปัญหา เหตุนี้ทำให้การวิจัยเป็นสิ่งที่จะช่วยให้ครูได้ข้อมูลที่เป็นจริงและน่าเชื่อถือเพื่อนำไปใช้ พัฒนากระบวนการเรียนการสอน ซึง่ การวิจยั ในเบอื้ งต้นสำหรับครูสามารถทำไดโ้ ดยการต้ังปญั หา การ ตั้งสมมุติฐานในการแก้ปัญหา การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการสรุปผล (ยนต์ ชุ่มจติ , 2546 : 20) 8. s (service) การบรกิ าร หมายถึง การบรกิ ารให้แกศ่ ษิ ย์ ผปู้ กครองและชมุ ชน ภาระหนา้ ท่ที งั้ 8 ประการดงั กล่าวน้ี เปน็ การปฏิบัตงิ านเพอื่ ความเปน็ ครูมืออาชีพ ต้องปฏิบัติ ทั้งในส่วนของการสอนในชั้นเรียน การสร้างจริยธรรมแก่ผู้เรียน การค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมด้าน วิชาการแก่ตนเองเสมอ ๆ การช่วยสังคมสืบทอดวัฒนธรรมท้องถิ่น การสร้างมนุษย์สัมพันธ์แก่ชุมชน และสังคม การประเมินผลการปฏิบัติงาน การวิจัยในชั้นเรียน และงานบริการสังคม ซึ่งถือเป็นงาน สร้างอดุ มการณ์ความเป็นครมู อื อาชีพ 31
อุดมการณ์ความเปน็ ครมู ืออาชพี คำว่า “อุดมการณ์” (ideology) เป็นหลักการที่วางระเบียบไว้เป็นแนวปฏิบัติเพื่อให้บรรลุ เป้าหมายที่กำหนดไว้ผู้ท่ีจะเป็นครูมืออาชีพต้องยึดไวป้ ระจำใจ 5 ประการ คือ เต็มรู้ เต็มใจ เต็มเวลา เตม็ คน และเต็มพลงั (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน, 2553 : 10-13) 1.1 เตม็ รู้ คอื มีความรู้บริบรู ณ์ ด้วยความรู้ 3 ประการคือ 1.1.1 ความรู้ด้านวิชาการและวิชาชีพ ครูจะต้องแสวงหาความรู้ที่เป็นประโยชน์และ เหมาะสมใหผ้ ู้เรียน เรยี นอยา่ งครบถ้วนเหมาะสมตามระดบั ความรนู้ ้ัน 1.1.2 ความรู้ทางโลก นอกเหนือจากตำราวิชาการแล้ว ครูต้องแสวงหาความรู้รอบตัว ดา้ นอ่ืน ๆ ให้บรบิ ูรณ์โดยเฉพาะความเป็นไปของระเบยี บ ประเพณี สงั คม วฒั นธรรม 1.1.3 ความรู้เรื่องธรรมะ ครูที่มีความรูด้ ้านธรรมะจะสามารถหยิบยกเรื่องธรรมะมาเปน็ อทุ าหรณ์ สำหรบั ส่ังสอนศิษย์ได้ เชน่ จะสอนใหศ้ ษิ ย์ประสบผลสำเรจ็ ด้านการศึกษาเล่าเรียนไดด้ ี ก็ยก หัวข้อธรรมะอย่างอิทธิบาท 4 คือ (1) พอใจในการศึกษา รักและสนใจในวิชาที่ตนเรียน (2) มีความ เพียรที่จะเรียนไม่ย่อท้อ (3) เอาใจใส่ในบทเรียน การบ้าน รายงาน และ (4) หมั่นทบทวนอยู่เสมอ เป็นต้น 1.2 เต็มใจ คือความมีใจเป็นครูพุทธศาสนาถือว่า “ใจนั้นเป็นใหญ่ ทุกสิ่งทุกอย่างเกิดจากใจ ทั้งนั้น” คนจะเป็นครูที่มีอุดมการณ์ต้องสร้างใจที่เต็มบริบูรณ์ด้วยการมีใจเป็นครู การทำใจให้เต็มมี ความหมาย 2 ประการ คือ 1.2.1 ใจครู การทำใจให้เต็มบรบิ ูรณ์ตอ้ งถึงพรอ้ มดว้ ยองคป์ ระกอบ ดังนี้ 1) รกั อาชีพ ครูตอ้ งมที ัศนคติทด่ี ีต่ออาชีพ เหน็ วา่ อาชีพครูมีเกียรติ มกี ศุ ล ได้ความ ภมู ใิ จ แสวงหาวิธีสอนท่ดี ีเพื่อศิษย์ 2) รักศษิ ย์มีใจคิดอยากให้ศษิ ยท์ ุกคนมีความสขุ และเสียสละเพ่ือศิษย์ได้ 1.2.2 ใจสูง ครูควรพยายามทำให้ใจสงู สง่ มีจิตใจท่ีดงี าม 1.3 เตม็ เวลา คือการรบั ผดิ ชอบ การทุ่มเทเพอ่ื การสอน มี 3 ส่วน คอื 1.3.1 งานสอน ครูต้องใช้เวลาในการเตรียมการสอนอย่างเต็มที่ วางแผนการสอน ค้นควา้ หาวธิ กี ารทจ่ี ะสอนศิษยใ์ นรปู แบบตา่ ง ๆ 1.3.2 งานครู นอกเหนอื ไปจากการสอน ครูตอ้ งให้เวลาแก่งานธุรการ งานบรหิ าร บริการ และงานทีจ่ ะทำให้สถาบันก้าวหนา้ 1.3.3 งานนกั ศึกษา ใหเ้ วลาในการอบรม แนะนำสัง่ สอนศิษย์เมื่อศษิ ย์ต้องการคำแนะนำ หรอื ตอ้ งการความช่วยเหลอื 1.4 เต็มคน คือการพัฒนาตนเองให้มีความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ การพัฒนาตนเองให้เป็น แม่พมิ พ์หรือพอ่ พมิ พ์ทีค่ นในสังคมคาดหวังไว้สูง ครูจงึ จำเปน็ ต้องมคี วามบริบรู ณ์ เปน็ มนษุ ยท์ ้งั รา่ งกาย 32
จิตใจ อารมณ์ สังคม สำรวมกาย วาจา ใจ ให้มีความมั่นคงเป็นแบบอย่างทีด่ ี ปฏิบัติงานถูกต้อง หม่ัน คดิ พจิ ารณาตนเองเพือ่ หาทางแก้ไขปรับปรงุ ตนเองใหม้ ีความบรบิ รู ณอ์ ยู่เสมอ 1.5 เต็มพลงั คือการทุ่มเทพลงั สตปิ ัญญาและความสามารถเพื่อการสอนวิชาการแก่ศิษย์ และ อุทศิ ตนอยา่ งเต็มที่ เพ่ือผลงานทีส่ มบูรณ์ ครูมืออาชีพต้องสร้างอุดมการณ์ให้ตนเองเสมอ ๆ เริ่มตั้งแต่การเติมเต็มความรู้คือการ แสวงหาความรู้ใหม่ ๆ เสมอ ๆ การเติมเต็มให้ใจเข้มแข็ง การเติมเต็มเวลาคือการเสียสละความสุข ส่วนตัว การเติมเต็มคนคือการสร้างมนุษย์สัมพันธ์กับชุมชน และการเติมเต็มพลังคือทุ่มเทกำลัง กาย และกำลังใจให้แก่ลูกศิษย์อย่างเต็มกำลังความสามารถ การทำงานด้วยอุดมการณ์เช่นนี้แล้ว จะเป็น การสร้างความผกู พนั ต่อองค์กรของตนเอง 5 ประการ ดังน้ี 1) ความผกู พันตอ่ องค์กรจะทำให้ลดอัตรา การออกจากงาน 2) เป็นแรงผลักดันให้ผู้ปฏิบัติงานในองค์กรสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มากยง่ิ ขึ้น 3) เปน็ ตวั เชือ่ มประสานระหว่างความต้องการของบุคคลในองค์กรกับเป้าหมายขององค์กร 4) มีส่วนช่วยในการเสริมสร้างประสิทธิภาพและประสิทธิผลขององค์กร และ 5) ช่วยลดการควบคุม จากภายนอก ซง่ึ เปน็ ผลมาจากการทีส่ มาชิกในองค์กรมีความรักความผกู พันต่อองค์กรของตน (นพดล ฤทธโิ สม, 2559 : 751) สรุป การสร้างครมู ืออาชพี มิได้ต้องการครทู ่ีเกง่ กาจเกินมนุษย์แต่อยา่ งใด แตต่ ้องการครทู ่ีตระหนัก ถงึ ภาระหนา้ ท่ีของค าวา่ “ครู (teachers)” ครทู ีม่ ีสัมผัสทดี่ ีกบั ศิษย์ เขา้ ใจธรรมชาติของศิษย์ และทำ ให้ศักยภาพที่มีอยู่อย่างเต็มที่ในตัวศิษย์แต่ละคนได้ฉายแววออกมาอย่างเต็มที่ ซึ่งครูทุกคนทุกระดับ สามารถพัฒนาตนเองเป็นครูมืออาชีพได้ หากครูมีการตื่นตัวในการพัฒนาตนและเตรียมความพร้อม เพื่อยอมรับการเปลี่ยนแปลง เปิดใจให้กว้าง มีใจเป็นกลาง พยายามเรียนรู้อย่างเท่าทันและ รอบรู้ มีมุมมองอย่างเชื่อมโยงในการสังเคราะห์ วิเคราะห์ ถึงความเป็นจริงในสังคม มีโลกทัศน์ท่ี กว้างไกล และความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับกระบวนการเรียนรู้ ที่สำคัญยิ่งอีกประการสำหรับครูมือ อาชีพคือจะต้องมีความอดทน เพราะผลงานของครูจะบังเกิดผลแก่ศิษย์และงานที่ยิ่งใหญ่ของครูคือ การสอนคนซึ่งเป็นงานเพื่อสังคมมนุษย์ ด้วยภาระท่ีหนกั หน่วงเชน่ นี้ครูมืออาชีพจึงควรเชือ่ และนับถือ ตนเอง เช่ือในคุณคา่ ของส่งิ ท่ีครูมืออาชพี กำลังพยายามทำให้สำเรจ็ น้นั คือสอนใหผ้ ูอ้ น่ื ได้เรียนรู้เพื่อจะ สามารถปฏบิ ตั ติ นได้อย่างเหมาะสมกบั สภาพการณ์ทั้งหลายท้ังปวง ดงั นัน้ ครมู อื อาชีพตอ้ งเป็นครูด้วย ใจรัก มีความพร้อมในทุก ๆ ด้านที่จะเป็นครู ประพฤติตัวดี วางตัวดี เอาใจใส่และดูแลศิษย์ ปฏิบัติ หนา้ ท่ดี ว้ ยจติ วิญญาณของความเปน็ ครู 33
เอกสารอ้างองิ ภาษาไทย กรมวชิ าการ. (2540). ประทปี แหง่ การศึกษา : พระบรมราโชวาทและพระราชดำรสั ด้านการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พค์ ุรุสภาลาดพร้าว. กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2550). พระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542, และทีแ่ กไ้ ขเพิ่มเตมิ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 พร้อมกฎกระทรวงที่เกี่ยวข้องและพระราชบัญญัติการศึกษาภาค บงั คบั พ.ศ. 2545. กรุงเทพมหานคร: องคก์ ารรับสง่ สนิ คา้ และพัสดุภณั ฑ์ (ร.ส.พ.). นพดล ฤทธิโสม. (2559). กลยุทธ์การเสริมสร้างความผูกพันต่อองค์กรของข้าราชการครูสังกัด กรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, Silpakorn University ปีที่ 9 ฉบับท่ี 2 (พฤษภาคม–สงิ หาคม) : 751. ประสาท เนืองเฉลิม. (2558). การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในศตวรรษท่ี 21. กรุงเทพมหานคร: สำนักพมิ พแ์ ห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. มยุรี ด้วงศรี. (2558). ครูมืออาชีพยุคอาเซียน.วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ฯ. 2,1 (มกราคม – เมษายน): 33 –34. มาเรยี ม นลิ พนั ธ.ุ์ (2557). การประเมนิ โครงการพฒั นาครโู ดยใช้กระบวนการสร้างระบบพี่เลีย้ งของ สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษากาญจนบุรี เขต 3. วารสารวิชาการ Veridian E- Journal. 7, 1(มกราคม – เมษายน) : 451. ยนต์ ชุม่ จติ . (2546). การศกึ ษาและความเป็นครไู ทย. กรุงเทพฯ : โอเดยี นสโตร์. วิจารณ์ พานชิ . (2555). วถิ กี ารสรา้ งการเรยี นรูเ้ พอ่ื ศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพมหานคร : มูลนธิ ิ สดศรี-สฤษดิ์วงศ์. วจิ ิตร อาวะกลุ . (2540). การฝกึ อบรม. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553) . เส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พช์ มุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำกดั . สุทธพิ ร จิตตม์ ติ รภาพ. (2553). การเปล่ยี นแปลงโลกของการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 และการพัฒนาสู่ “ครูมืออาชีพ” ใน สุดาพร ลักษณียนาวิน (บรรณาธิการ). การเรียนรู้สู่การเปล่ียนแปลง. สมาคมเครือข่ายการพัฒนาวิชาชีพอาจารย์และองค์กรอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย. สำนกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ. สุรางค์ โค้วตระกูล. (2553). จิตวิทยาการศึกษา. (พิมพ์คร้ังท่ี 9). กรุงเทพมหานคร : ศูนย์หนังสือ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย. เสริมศกั ดิ์ วิสาลากรณ์. (2555). ความเปน็ ครมู ืออาชีพ. มหาวิทยาลัยราชภฎั ยะลา : บันลอื การพมิ พ์. 34
เอกสารอา้ งองิ (ตอ่ ) ภาษาต่างประเทศ Feldman, R.S. (2008). Understanding psychology. 8th ed. New York: McGraw-Hill. Nuangchalerm, P. and Prachagool, V. (2010). “Promoting transformative learning of preservice teachers through contemplative practices”. Asian Social Science. 6(1): 95-99 35
บทที่ 3 ครูกบั เทคโนโลยกี ารสอนในศตวรรษท่ี 21 ประเทศไทยได้พฒั นาเพอ่ื กา้ วเขา้ สยู่ ุคเศรษฐกิจ 4.0 ไปแลว้ ด้านภาคการศกึ ษา ถือวา่ เป็นยุค ท่ีตอ้ งสรา้ งนวตั กรรม โดยส่งเสรมิ ใหผ้ ู้สอนและผู้เรียน เปน็ นักคิดและนักสร้างนวัตกรรม ตามนโยบาย การขบั เคล่อื นประเทศไทยดว้ ยเทคโนโลยี ปัจจุบัน ข้อมูลและสื่อต่าง ๆ มีการเผยแพร่ ค้นหาและส่งต่อได้อย่างอิสระ จนถึงขั้นกล่าว เปรียบเปรยว่า “ข้อมูล” เปรียบเสมือนตัวแปรต้น “นักเรียนนักศึกษา” เปรียบดังตัวแปรตาม โดยท่ี “ครู”นั้น เสมือนหนึ่งตัวแปรควบคุม การจะพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามวัตถุประสงค์ในศตวรรษท่ี 21 นี้ ครูและนักเรียนต้องสามารถเปลี่ยนแปลงข้อมูลต่าง ๆ ในสังคมออนไลน์หรืออินเตอร์เน็ตให้ กลายเป็นสารสนเทศและองค์ความรู้ในที่สุด โดยครูและนักเรียนต้องสัมพันธ์อิงอาศัยกันและกัน โดยเฉพาะ“ครู”ตอ้ งมีคุณลักษณะประกอบดว้ ย (1) ต้อง“เป็นผสู้ รา้ งและผผู้ ลติ ” ต้องแสดงให้เหน็ แนว ทางการพัฒนาทักษะความเป็นครูได้ ต้องผ่านทักษะกระบวนการฝึกอบรมและเรียนรู้ด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ อีกทั้งต้องตระหนักในตนเองถึงบทบาทความเป็นครู ฝึกฝนพัฒนาตนเองโดยใช้ กระบวนการวิจัยเป็นฐานการพัฒนา แก้ไขปัญหาส่วนพร่องและขจัดปัญหาส่วนเกิน คอยตรวจสอบ ประเมินผลจากรูปแบบการส่งเสริมและพัฒนาเป็นระยะเวลาอย่างต่อเนื่อง และ (2) ต้อง“เป็นผู้คิด รเิ รมิ่ และสร้างสรรค์” มคี วามร้แู ลความสามารถเกี่ยวกับเทคโนโลยปี ระยกุ ต์เข้ากับเนื้อหาการสอนเพ่ือ เพิ่มประสิทธิภาพการสอนและทักษะทางสารสนเทศในการจัดการเรียนการสอน รองรับการสร้าง นวัตกรรม บริหารจัดการชั้นเรียน รวมถึงสามารถถ่ายทอดความรู้ไปสู่ศิษย์ในแนวใหม่ในทักษะด้าน ตา่ ง ๆ ทีจ่ ำเป็นเพ่ือการดำเนนิ ชวี ติ และการใช้ทักษะอาชีพผา่ นเทคโนโลยี ครู ในศตวรรษที่ 21 นี้ เน้นแบ่งปันองค์ความรู้เสริมสร้างประสบการณ์ พัฒนาศักยภาพด้าน ความรู้ ทักษะ ความสามารถ รังสรรค์องค์ความรู้สร้างคุณค่าให้ตนเองส่งต่อให้ผู้เรียน ผ่านรูปแบบ จัดการเรียนการสอนแนวใหม่โดยใช้เทคโนโลยีเป็นสื่อ ส่งเสริมทักษะใหม่ให้กับผู้เรียน ทักษะด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นทักษะที่จำเป็นสำหรับการรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกและสังคมใน อนาคต “ครู” จึงเป็นดุจผู้นำสังคมตามลักษณะ “ตัวแปรควบคุม” ในศตวรรษที่ 21 นี้ กอปรยุค ประเทศไทย 4.0 ครูถือว่าเป็นบุคลากรที่สำคัญของประเทศที่สามารถนำทาง ชี้ช่องทางนำมาซึ่งองค์ ความรไู้ ด้ ดังนั้น ครูจงึ ต้องมีความรูร้ อบและทักษะครอบคลมุ ความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ทั้ง 4 มิติ ได้แก่ การใช้ การเข้าใจ การสร้าง และการเข้าถึง สามารถนำมาจัดการเรียนการสอน ได้ อย่างมีประสิทธิภาพสงู สุดในยุคทถี่ ูกกล่าวถงึ วา่ “โลกไรพ้ รมแดน” 36
บทนำ ในยุคปัจจุบันประเทศไทยถูกเรียกขานว่า “ประเทศไทย 4.0” เป็นยุคที่ทุกสิ่งอย่างจับต้อง สมั ผัสได้ ไม่ใช่เพียงแค่ “โมเดล” เหมอื นในอดีตต่อไป เมอื่ สงั คมเราในวนั น้ี เดินมาถึงตรงจุดท่ีเรียกว่า “ประเทศไทย 4.0” แบบเลยี่ งไมไ่ ด้ ประชากรทกุ สาขาอาชีพจึงต้องปรับตวั ให้เข้ากบั เจเนอเรชั่นใหม่นี้ ในขณะที่ประเทศไทยยังไม่สามารถก้าวพ้นกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลางไปได้เลย ทางเลือก ปัจจุบันจึงมีเพียงการทำให้ประเทศมีรายได้ที่สูงขึ้น ไม่เช่นนั้นแล้ว เราจะตกอยู่ในภาวะที่เรียกว่า “ทศวรรษแหง่ ความว่างเปล่า”ภายใต้ศตวรรษท่ี 21 ไปอกี นาน (สวุ ิทย์ เมษินทรยี ์, 2562) การปรับตัว ในยคุ เทคโนโลยี 4.0 น้จี งึ เป็นสิง่ สำคัญยิ่ง สรา้ งคุณลกั ษณะและทักษะเพ่ือรองรับการเข้าถึงนวัตกรรม (Innovation) อย่างเร่งด่วน จะค่อยๆปรับทีละขั้นทีละตอนทีละน้อยเหมอื นในอดีตคงไมไ่ ด้แลว้ การ ปรับตัวต้องปรับชนิดทีเ่ รียกว่า “หักศอก” (ปรับแบบทันทีทันใด) นั่นหมายความว่า ในยุคนี้ประชากร ในทุกสาขาอาชีพต้องเรยี นรู้การปรบั ตัวให้สอดคล้องและเหมาะกบั สาขาอาชีพของตนท่ีมีความถนัดให้ มากที่สุด และที่สำคัญต้องมีความเข้าใจในเรื่องของ Digital literacy เพิ่มเข้ามาด้วย เช่น การนำ เทคโนโลยีในปัจจุบันมาทำให้เกิดประโยชน์กับอาชีพของตน เป็นต้น “ครู”ก็เป็นอีกอาชีพหนึ่งที่มี ความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องศึกษาเรียนรู้เทคโนโลยีเพื่อนำมาใช้ในด้านการสร้างสื่อการเรียนการสอน เพื่อให้นักเรียนเกิดความเข้าใจและทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกที่รวดเร็ว พร้อมให้เกิดประโยชน์ สูงสุดกับนักเรียน ทั้งนี้ ก็เพื่อให้ประชากรในวัยเรียนมีทักษะความพร้อมในการดำรงชีวิตในศตวรรษ ที่ 21 มีทักษะครอบคลุมครบถ้วนในสาระวิชารวมถึงทักษะที่จำเป็น 3 ด้าน ได้แก่ (1) ทักษะการ เรียนรู้ด้านนวัตกรรม 2) ทักษะด้านสื่อสารสนเทศและเทคโนโลยี และ (3) ทักษะชีวิตและอาชีพ(การ ดำรงชีพ) ซึ่งทักษะทั้ง 3 ที่กล่าวมานี้ นับเป็นทักษะที่จำเป็นที่ทุกคนต้องเรียนรู้เพื่อปรับตัวให้เข้ากับ ศตวรรษที่ 21 โดยเฉพาะอย่างยิ่งทักษะการเรียนรู้ด้านคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีและสื่อสารสนเทศ นับว่าเป็นหนึ่งในทักษะที่สำคัญในการพัฒนาการเรียนรู้ตามรูปแบบ 7 C ได้แก่ Communications, Information & Media literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศและรูเ้ ท่าทันสื่อ), Computing & ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) (วิจารณ์ พานิช, 2555) ดังนั้น อาชีพครูหรือผู้ทำหน้าที่สอนและอบรมจะอยู่นิ่งเฉยอีกไม่ได้ในยุคนี้ที่เรียกว่า “ยุค ประเทศไทย 4.0” นับต้ังแต่ปี พ.ศ. 2562 เป็นต้นไป ประเทศไทยและโลกจะกา้ วสูย่ ุคทีม่ ีการเปล่ียนแปลงอันจะ นำมาสู่ความปั่นป่วนสับสนอลหม่านทางเทคโนโลยี (ชัชวีรย์ สุวรรณสวัสด์ิ, 2562) เกิดช่องว่างขึ้นใน สังคมที่เรียกว่า “ช่องว่างดิจิทัล” ช่องว่างที่สังคมควรให้ความสำคัญคือ “ช่องว่างด้ านทักษะและ ความรู้ในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลของคนกลุ่มต่าง ๆ” เพราะถึงให้ประชากรเข้าถึง อินเทอร์เน็ตได้เท่าเทียมกันมากขึ้น ความเหลื่อมล้ำด้านทักษะและความรู้ย่อมนำไปสู่ความเหลื่อมล้ำ ในการใช้ประโยชน์จากอินเทอร์เน็ตทีแ่ ตกต่างกันอยู่ดี ยกตัวอย่าง เช่น เด็กที่เคยเรียนรู้การเขียนโคด้ 37
คอมพิวเตอร์ย่อมได้ประโยชน์จากการใช้อินเทอร์เนต็ มากกวา่ เด็กที่ไมเ่ คยเรียนเลย หรือประชากรที่มี การศึกษา ก็ย่อมสามารถใชป้ ระโยชน์จากบริการอเิ ล็กทรอนิกส์ของภาครฐั ได้มากกว่า ข้อเท็จจริงท่ีแย่ กวา่ นน้ั กค็ อื ในโลกทมี่ ีประชากรราว 1 ใน 5 ยงั ไมส่ ามารถอา่ นออกเขยี นได้ คนกลมุ่ น้จี ะไม่สามารถใช้ ประโยชน์จากการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตตามที่ควรจะเป็นได้ รัฐมีข้อเสนอด้านการศึกษาโดยการ เสรมิ สรา้ งความรู้เทา่ ทันสื่อและสารสนเทศให้กับพลเมืองท่ีต้องเผชิญกับโลกแห่งความป่ันปว่ นจากการ เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี การเตรียมความพร้อมกับอาชีพในอนาคตที่จะต้องใช้องค์ความรู้ด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมากขึ้น มหาวิทยาลัยจะต้องปรับตัวโดยมีการจัดอบรมหลักสูตรระยะ สั้น ๆ ในเรื่องที่เก่ียวข้องกบั เทคโนโลยี เช่น การเรียนรู้ปัญญาประดิษฐ์ การเรียนรูก้ ารใชอ้ ินเตอร์เน็ต ประยุกต์ เป็นต้น พร้อมกับปรับกระบวนการจัดการเรียนการสอนของตนเอง จากเดิมที่เคยเรียนใน ห้องเรียน (ลักษณะแบบประมวลผลและให้เหตุผลกับขอ้ มูล) เป็นการจัดการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ ปัจจุบนั ให้มากย่ิงขึ้น อาจนับได้ว่าตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2562 เป็นต้นไปนี้ จะก้าวสู่ยุคแห่งการเปลี่ยนแปลงของโลก ดจิ ิตอลแบบท่ีเรียกว่า “หักศอกเทคโนโลย”ี ในหลากหลายมิติเลยทเี ดยี ว หากประชากรและภาครัฐไม่ ตื่นตัวเตรียมความพร้อมและปรับตัวอย่างรวดเร็วให้ทันกับการรับมือกับโลกแห่งยุคดิจิตอลแล้ว เม่ือ นั้นเราจะเริ่มรู้สึกถึงภัยของเทคโนโลยีเข้ามาแทนที่ (รุกล้ำ) ยกตัวอย่าง เช่น ภัยจากปัญญาประดิษฐ์ และภัยอื่น ๆที่ส่งผลกระทบก็จะตามมา ยกตัวอย่าง เช่น 1) ปริมาณนักเรียนที่เข้าศึกษาต่อในระดับ มหาวิทยาลัยลดน้อยลง (มหาวิทยาลัยก็เริ่มทยอยปิดตัว) เนื่องจากผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้เองจาก ชอ่ งทางทหี่ ลากหลายมากขนึ้ (2) จำนวนทนี่ งั่ ในมหาวิทยาลยั ที่เปิดรบั (จากการขยายตัวของหลักสูตร ที่เปิดรับที่ผ่านมา) มีมากกว่าจำนวนนักเรียนท่ีสมัครเข้าศึกษาเป็นเท่าตัว และ (3) ภัยจากเทคโนโลยี รุกล้ำในทุก ๆ รูปแบบ ในทุก ๆ สาขาอาชีพ ทำให้ความต้องการอัตรากำลังคนขององค์กรและ หน่วยงานต่าง ๆ ลดจำนวนความต้องการลงตามไปด้วย ส่งผลต่ออัตราการจ้างแรงงานในอนาคต (ชชั วรี ย์ สวุ รรณสวสั ดิ์, 2561) อย่างไรก็ดี กระทรวงการอุดมศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม ก็ได้กำหนดทำสัญญา ประชาคมเพื่อเตรียมพร้อมการพัฒนาและการแก้ไขปัญหาอันอาจจะเกิดขึ้นนี้ โดยได้กำหนดเป็น นโยบายการสร้างพัฒนาคน ในส่วนของนวัตกรรมได้ยกระดับประเทศขึ้นสู่ฐานนวัตกรรม (Innovation Nation) ตามทปี่ รากฏในแผนยุทธศาสตร์ชาติการปรับเปล่ียนหลักสตู รและกระบวนการ เรียนรู้ การปรับจุดเน้นการผลิตให้สอดคล้องเหมาะแต่ละมหาวิทยาลัยตามอัตรากำลังคน7 ยุบรวม หลกั สตู ร/สาขา พรอ้ มกำหนดรูปแบบเทคโนโลยีการเรียนรู้ใหช้ ัดเจน รวมถึงกำหนดการวัดสัมฤทธ์ิผล ใหม่ด้วย (สุวิทย์ เมษินทรีย์, 2562) ให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถในการปรับตัวให้ทันต่อการ เปลยี่ นแปลงของโลกและทันต่อการเติบโตแบบ “รุกคบื ” ของเทคโนโลยีสมัยใหม่ ในศตวรรษที่ 21 นี้ จากปญั หาและความจำเปน็ ท่ีกลา่ วมา เร่มิ จะเหน็ เคา้ ลางของความเปน็ ไปในศตวรรษที่ 21 น้ี (ยุคใหม่) 38
เริ่มปี พ.ศ. 2563 เป็นต้นไป สิ่งหนึ่งที่จะเกิดข้ึนอย่างเลี่ยงไม่ได้และเริม่ เดน่ ชัดขึ้นเรื่อย ๆ คือ “ความ ปั่นป่วนทางเทคโนโลยี” เมื่อเกิดเหตุการณ์เช่นนี้ ไม่ใช่เพียงข้าราชการครูเท่านั้นทีต่ ้องปรับตัวเพื่อให้ สอดรับกับเทคโนโลยีแห่งอนาคตสถาบันการศึกษาหลักโดยเฉพาะมหาวิทยาลัย ก็ต้องปรับตัวอย่าง รุนแรงทส่ี ุดเท่าท่เี คยมีมา กล่าวกันว่าศาสตร์และศิลป์ต้องบูรณาการรว่ มกัน สะลายความเป็นคณะวิชา ลงให้มากสอนแบบข้ามศาสตร์และเชื่อมโยงศาสตร์ ทำงานร่วมกัน ปรับหมวดวิชาบังคับให้น้อยลงใน ขณะที่หมวดวิชาเลือกยังมีความจำเป็นและอาจจะมากขึ้นด้วย เพื่อให้สอดรับกับนักศึกษาเจนเนอร์ เรชนั่ ใหม่ ท่ตี ้องการมีความรอบรู้และมีความเป็นอสิ ระในการเลือกเรียนรู้ให้มากท่ีสุด ที่สามารถหาได้ ทุกที่ (พรชัย ภู่ประเสริฐ, 2561) ดังนั้น ในอนาคตมีความเป็นไปได้ที่มหาวิทยาลัยจะเปิดสอนใน ลักษณะตลาดวิชา (ออนไลน์หรือนอกเวลา) มากขึ้น เพื่อให้นักศึกษาที่จบการศึกษาไปแลว้ หรือคนวยั ทำงานกลบั สู่กระบวนการเรียนรู้อกี ครง้ั เพือ่ ใหเ้ ท่าทนั ตอ่ ความเปลย่ี นแปลงปจั จบุ นั สถาบันการศึกษา หรือมหาวิทยาลัยเองก็ต้องปรับลักษณะการสอนให้เป็นรูปแบบ Project base Learning เพื่อเพิ่ม ทักษะให้กับผู้เรียน “ครู” และ“เทคโนโลยีการสอน” จึงเป็นกำลังปัจจัยทีส่ ำคัญและจำเป็นต้องสร้าง อย่างเร่งด่วนเพื่อ (1) เตรียมคนรุ่นใหม่ให้มีความพร้อมรองรับเทคโนโลยีแห่งอนาคต (2) สร้าง/ปรับ หลักสูตรให้มคี วามผสมผสาน มคี วามยืดหยุ่นมากขน้ึ ใหส้ อดรับกบั ประชากรวัยเรียนเจนเนอเรช่ันใหม่ ลำพังการจัดการเรียนการสอนแบบเดิมนั้นไม่สามารถสร้างคนให้อยู่ได้ในยุคแห่งการลุกล้ำทาง เทคโนโลยีเชน่ น้ี ดังนั้น เมื่อโลกแห่งเทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว สถาบันการศึกษา โรงเรียนรวมถึง มหาวิทยาลัยจำเป็นต้องปรับตัวตามบริบทของสังคมโลกให้เท่าทัน ทั้งการจัดการเรียนการสอนที่ ทนั สมยั เพอื่ รองรับผเู้ รยี นทุกเพศทุกวยั ทัง้ วัยเรียน วยั ทำงาน รวมถงึ วัยผูส้ ูงอายุทีจ่ ะเพิ่มปริมาณมาก ขึ้นเรื่อย ๆ ด้วย (อุดม คชินทร, 2562) แม้ขณะนี้สถาบันอุดมศึกษาจะยังไม่ถึงขั้นล่มสลาย แต่เลี่ยง ไม่ได้ที่จะเกิดความปั่นป่วนของเทคโนโลยี อันเนื่องมาจากการเจรญิ เติบโตที่รวดเร็วของโลกดจิ ทิ ัล ซึ่ง ครูเอง อาจารย์และผทู้ ี่ทำหนา้ ที่สอน ก็ตอ้ งเตรียมตวั ให้พร้อมเพื่อรองรับความป่นั ป่วนที่จะเกิดข้ึน ครู จะอยูไ่ ด้หรือมหาวทิ ยาลยั จะอยูร่ อด ต้องตอบโจทย์ความต้องการของสังคมให้ได้ในยุคน้ีหรือในอนาคต ดังนั้น สิ่งที่“ครู”ต้องทำ ได้แก่ (1) ต้องปรับตัวให้ทันต่อความรวดเร็วแห่งเทคโนโลยี (2) ต้องหาวิธี รับมือจากผลกระทบที่จะตามมา (3) ต้องหามูลค่าเพิ่มจากผลกระทบนั้นมาสร้างให้เกิดผลในเป็น รูปธรรมชัดเจน (สร้างวิกฤติให้เป็นโอกาส) น่ันหมายความว่า สิ่งที่ “ครู”ต้องเปลี่ยน ได้แก่ 1)ต้อง เปล่ยี นแปลงกระบวนการสอนใหเ้ ป็นกระบวนการเรยี นรู้ 2) ตอ้ งเปลย่ี นคุณค่าท่เี คยเนน้ ผลลัพธ์ให้เป็น คณุ คา่ ท่เี กดิ จากการเรยี นรู้ โดยเปลี่ยนไปเน้นทกี่ ระบวนการแทน (บณั ฑิต เออื้ อาภรณ์, 2562) และ 3) ต้องเปลี่ยนรูปแบบการสอนด้วยสื่อเทคโนโลยีในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้ผูเ้ รียนเกดิ ทกั ษะ สรุปได้ว่า ครู ในอนาคตต้องสามารถปรับตัวเข้ากับโลกสมัยใหม่และใช้เทคโนโลยีในการสร้างบทเรียนและเนื้อหา (Enabler) ทั้งยังเป็นผู้ใช้เทคโนโลยีได้หลากหลายและเป็นผู้ใช้ปลายทางได้เปน็ อย่างดี (End – User) 39
ใช้เทคโนโลยีได้อย่างมีประสิทธิภาพให้เกิดประสิทธิผล (Efficient and Effective) (สมใจ เดชบำรุง, 2561) ดังท่ี Michael Poh ได้กล่าวถึงลกั ษณะของเทคโนโลยีท่ีจะเปลี่ยนแปลงอนาคต และครูต้องนำ เทคโนโลยีเหลา่ น้มี าใชใ้ นการเรียนการสอน มอี ยู่ 8 ขอ้ ดว้ ยกนั และใน 8 ขอ้ นัน้ มี 2 ขอ้ ท่เี ป็นลักษณะ ในเชิงเรียนรู้และศึกษาให้ทันในยุค 4.0 ได้แก่ 1) Online Social Networking การสร้างสื่อการสอน แบบสร้างความเชื่อมต่อความสัมพันธ์ทางสังคม (Social Classroom) การทำกิจกรรมร่วมกัน ครูและ นักเรียนสามารถสั่งงานและส่งงานในรูปแบบออนไลน์ผ่านหน้าเว็บไซต์ได้ (Michael Poh, 2017) ยกตัวอย่างรายวิชาท่ีจัดการเรยี นการสอนด้วยเว็บไซต์ เช่น http://buddhisminthai.eu5.org (อุดม ตะหน่อง, 2560) หรือ การจัดอบรมโครงการต่าง ๆ โดยบรรจุเนื้อหาลงในเว็บไซต์ เช่น http://departmentsecretary.freeoda.com/Marayatthai/index.html (ฐิติวัสส์ สุขป้อม, 2561) 2) Game Base Learning, (GBL) คือการสร้างสื่อเพื่อให้เกิดความสนุกสนานสอดแทรกเนื้อหาและ ความรู้เอาไว้ ผู้เล่นจะได้รับทั้งทักษะและความรู้ ที่ต้องมองไปถึงการเรียนในหลักสูตรออนไลน์หรือ หลักสูตรดิจิทัล ที่ต้องพัฒนาอย่างจริงจัง เพื่อให้ครอบคลุมกลุ่มผู้เรียนได้มากขึ้น จากที่กล่าวมา องค์กรหลักที่ดูแลด้านการศึกษาของประเทศ ต้องส่งเสริมและสนับสนุนครูให้ทำงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง กับการจัดการเทคโนโลยีให้มากขึ้น ยกเลิกงานวิจัยที่ขึ้นหิ้งใช้จริงไม่ได้ เพื่อที่จะทำให้ “ครู” คือ ต้นแบบแห่งผู้นำพาประเทศไปสู่ความเป็นเจ้าแห่งนวัตกรรม (The Master of Innovation) การ จดั การเรยี นการสอนต่อไปในอนาคต ดงั ทตี่ งั้ ใจและได้กำหนดในยุทธศาสตร์ชาตติ อ่ ไป ความสำคัญของเทคโนโลยีการสอน (ICT)กับบทบาทครูและรูปแบบสร้างสื่อการสอน ในปจั จุบัน 1. เทคโนโลยกี ารสอน: เทคโนโลยีการสอน ก็เปน็ สว่ นหนึ่งของ ICT ย่อมาจาก “Information and Communication Technology” หมายถึง “เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร” เป็นเทคโนโลยสี ำหรับการ ประมวลผลสารสนเทศ ซึ่งครอบคลุมถึงการรับ-ส่ง แปลง จัดเก็บ ประมวลผล และการค้นคืน สารสนเทศ ให้ได้ผลลัพธ์ที่เป็นประโยชน์ เพื่อจะนำไปเผยแพร่ต่อไปยังผู้บริโภค หรือผู้ใช้ ให้สามารถ ได้ใช้ผลผลิตนั้น อย่างถูกต้อง ทันเวลาและตรงกับความต้องการ จุดเริ่มต้นของการนำ ICT มาใช้ เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนนั้น เริ่มจากรัฐได้กำหนดนโยบายให้ครูต้องบูรณาการ ICT เข้าสู่ ห้องเรียน เน้นทักษะการใช้งานทางด้านคอมพิวเตอร์ เป็นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) หรือเขียนโดยย่อว่า IT แต่ในปัจจุบันขยายความหมายเพิ่มเป็น ICT (Information and Communication Technologies) ซึ่งมีความหมายตามที่กล่าวข้างต้น จากนโยบายดังกล่าว ทำให้ นักวิชาการ นกั วิจยั ผบู้ ริหารและครูได้ตงั้ คำถามและพยายามท่ีจะค้นหาคำตอบด้าน ICT ศึกษา ผลงานวจิ ยั การประยกุ ต์ ICT เขา้ กบั การเรยี นการสอนในรายวิชาต่าง ๆ บ้าง ในดา้ นอืน่ ๆ บ้าง เพื่อให้ 40
รองรบั ไดว้ า่ บทบาทของครูเป็นตวั กำหนดความสำเร็จของบทเรียนที่มกี ารใช้ ICT บูรณาการ ประเด็น สำคัญต่อความสำเร็จก็ คือ ทักษะการสอนของครู (pedagogical skill) ที่ต้องเชื่อมโยงอย่างมากกับ กิจกรรมอน่ื ๆ นน่ั เอง (จุฬารตั น์ ธรรมประทีป, 2562) ในบทความนี้ ผู้เขียนจะนำเสนอประเภทเทคโนโลยีในยุคดิจิตอลที่ครูควรนำมาจัดการเรียน การสอน 2 รูปแบบหลัก ๆ ได้แก่ (1) Smart Classroom (2) E-Learning จะเห็นว่า Smart classroom (ห้องเรียนอัจฉริยะ)นั้น ก็จะมีการตั้งชื่อที่แตกต่างกันออกไปบ้างแล้วแต่โรงเรียน เช่น ห้อง ESC – Enrichment Science Classroom (ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และ สิ่งแวดลอ้ ม) หรือ หอ้ ง AP : Academic Proficiency Program (โครงการเสริมสร้าง ศักยภาพความเป็นเลิศทางวชิ าการวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยแี ละส่ิงแวดล้อม) เป็นต้น โดย ความหมายก็คือการผนวกผู้สอน สื่อการสอน และผู้เรียน เข้ากับเทคโนโลยีการสอน เพื่อให้เกิดการ เรียนรู้นั่นเอง ในหัวข้อเทคโนโลยีการสอนนี้ ผู้เขียนจะนำเสนอในส่วนของ Smart classroom (ห้องเรียนอัจฉริยะ) ก่อนส่วน E-Learning หมายถึงการเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่การ นำเสนอเนื้อหาทางคอมพิวเตอร์ในรูปของสื่อมัลติมีเดีย เช่น ข้อความอิเล็กทรอนิกส์ ภาพน่ิง ภาพกราฟิก วิดีโอ ภาพเคลื่อนไหว ภาพสามมิติ เป็นต้น ผ่านสัญญาณเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เกิดการ เรียนรู้ได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ ไม่จำกัดอยู่แต่ในห้องเรียน หรือในโรงเรียนเท่านั้น ซึ่งจะกล่าวในหัวข้อ รูปแบบสื่อ/เทคโนโลยกี ารสอนต่อไป Smart Classroom: ห้องเรยี นอจั ฉริยะ ภาพท่ี 1 ผังแนวคดิ โครงสร้างห้องเรียนอจั ฉรยิ ะ (Smart Classroom) (อนศุ ร หงสข์ นุ ทด, 2558) 41
Smart Classroom เป็นหนึ่งในรูปแบบที่ได้รับความนิยมอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นรูปแบบ หอ้ งเรียนทีผ่ นวกเข้ากับเทคโนโลยีท่ีมีอยู่ในปจั จบุ ัน มีประโยชน์ต่อการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ มี ทั้งในรูปแบบของห้องเรียนในอาคารเรียนปกติที่ผู้เรียนและผู้สอนส่ือสารกันโดยตรง (Face to Face) หรือรูปแบบห้องเรียนเสมือน (Virtual Classroom) ที่เป็นพ้นื ท่ีให้ผู้เรียนสามารถสนทนา แลกเปลี่ยน ถามตอบกบั ผูส้ อนได้ทง้ั แบบกลุ่มและเด่ียว สามารถแบง่ ปนั (Share) ขอ้ มลู กบั ผู้อ่นื ได้ทุกเวลา ภายใน ห้องเรียนจะใหค้ วามสำคัญกับส่วนหลักๆ คือ ผู้สอน ผู้เรียน และสภาพแวดล้อมของการเรียนรู้ทีม่ ีสอ่ื เป็นองค์ประกอบ จุดเน้นสำคัญคือกระบวนการจัดการเรียนรู้ของผู้สอนที่จะต้องสร้างบรรยากาศใน หอ้ งเรียนให้เหมาะตอ่ การเรยี นรู้ เปน็ ห้องเรยี นที่เปดิ โอกาสให้ผู้เรียนได้มีบทบาทมากข้นึ ไดเ้ รียนรูต้ าม ความต้องการหรือความสนใจของตนเองผ่านการทำกิจกรรมที่จะทำให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะ ได้แก่ (1) ทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ (2) ทักษะการสื่อสาร (3) ทักษะการร่วมมือกันทำงาน (4) ทักษะการ คิดสร้างสรรค์ คิดเป็น และแก้ปัญหาด้วยตนเองเป็นการจัดการห้องเรียนอัจฉริยะจั ดเป็นการสร้าง เสริมประสบการณ์ด้วยตนเองในยุคประเทศไทย 4.0 การเรียนรู้เน้นประสิทธิผลของผู้เรียน ต้องนำ เทคโนโลยีมาเป็นตัวช่วยเสริมแรง สร้างแรงจูงใจ เพิ่มช่องทางการเข้าถึงตัวผู้เรียนให้ได้มากที่สุด ครู ต้องคิดสร้างสรรค์ คิด (ผลิต) ต่อยอดนวัตกรรม บริหารจัดการอุปกรณ์การสื่อสารและเทคโนโลยีใน ปัจจุบันให้เกิดประโยชน์ต่อผู้เรียนให้มากที่สุด ผ่านเทคโนโลยีที่ชื่อว่า “ Smart Classroom” (นิรมิษ เพียรประเสริฐ, 2560) ซึ่งวิธีการผู้เขียนจะกล่าวในหัวข้อ E-Learning : การเรียนรู้ผ่านส่ือ อเิ ล็กทรอนิกส์ ใหส้ อดคลอ้ งกบั ห้องเรยี นเครือข่ายอัจฉรยิ ะต่อไป อนั จะไปสกู่ ารตดิ ตามตรวจสอบและ ประเมนิ ผลการเรยี นของผูเ้ รยี นได้ทันที จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ชัดว่าเทคโนโลยีจะเข้ามีความสำคัญมากขึ้นเรื่อย ๆ ดังท่ี คณะกรรมการด้านเทคโนโลยีการศึกษาได้สรุปความสำคัญของเทคโนโลยีการศึกษาไว้หลากหลาย ประเด็น ได้แก่ (1) ผู้เรียนสามารถเรียนได้อย่างกวา้ งขวาง เรียนรู้ได้เร็วขึ้น ผู้สอนมีเวลาให้กับผู้เรยี น มากขึ้น ทำให้การเรียนมีความหมาย (2) ตอบสนองต่อความแตกต่างของผู้เรียน สามารถเรียนไดต้ าม ความสามารถของผู้เรียน การเรยี นการสอนจะเปน็ การตอบสนองความสนใจและความต้องการของแต่ ละบุคคลได้ดี (3) ทำให้การจัดการศึกษา เป็นระบบและเป็นขั้นตอนตั้งบนรากฐานของวิธีการทาง วทิ ยาศาสตร์ (4) ช่วยใหก้ ารศึกษามีพลังมากข้ึน การนำเทคโนโลยีดา้ นสื่อเป็นเคร่ืองมืออย่างหนึ่งท่ีจะ ทำใหก้ ารศกึ ษามีพลัง (5) ทำใหผ้ เู้ รยี นสามารถเรยี นรู้ได้อย่างกว้างขวาง และได้พบกบั สภาพความจริง ในชีวิตมากที่สุด (6) เกิดการเปิดโอกาสทางการศึกษา (ในระบบ, นอกระบบ และตามอัธยาศัย) อย่างไรกด็ ี แมเ้ ครือ่ งมือจะดีเลศิ ขนาดไหน หากผู้นำไปใช้ไม่สามารถใช้งานได้เต็มศักยภาพ เทคโนโลยี นั้น ๆ ก็ไมต่ า่ งจากเครื่องจักรกลเกา่ ๆ ท่ีไรค้ า่ หาราคาไม่ได้ เชน่ เดียวกัน ครูแม้จะเก่งขนาดไหน แต่ไม่ รวู้ ธิ ใี ชเ้ ทคโนโลยแี ละล้าหลัง กป็ ่วยการ ดงั นน้ั “ครู” คือตัวจกั รทสี่ ำคญั ต่อไปในการพฒั นาในศตวรรษ น้ี 42
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219