Version July 2022 เอกสารน้จี ดั ทาํ เพ่ือใชเ ปน การภายในเทานั้น
สารบญั หน้าทข่ี องตัวแทนประกนั ชีวติ 1 1 ››› ขอ้ กาหนดในการเสนอขายกรมธรรมป์ ระกนั ภยั ผ่านตัวแทนประกันชวี ิต 2 ››› การเสนอขายกรมธรรมป์ ระกนั ภยั ผ่านตัวแทนประกันชีวิต จะต้องปฏิบัติ 3 ››› การเสนอขายกรมธรรมป์ ระกันชวี ิตผ่านตัวแทน ใหต้ วั แทน ละเว้นการปฏบิ ตั ิ 13 จรรยาบรรณตัวแทนและบทกาหนดโทษ (Agency Sales Disciplinary Matrix) 13 ››› พฤติกรรมทผี่ ิดจรรยาบรรณของตวั แทนประกนั ชวี ติ 17 18 คมู่ ือการสมัครเป็ นตัวแทนประกันชีวติ 18 19 ››› การสมคั รสอบตัวแทนประกันชวี ิต 1. คุณสมบัตผิ สู้ มัครสอบ 2. ขนั้ ตอนการสมคั รสอบ 3. การตรวจสอบรายชอื่ ผสู้ มัครสอบ ››› การขอรบั ใบอนุญาตเป็ นตวั แทนประกนั ชวี ติ และการออกรหสั ตวั แทน 1. คุณสมบตั ิตวั แทน 2. เอกสารการขอรับใบอนุญาตเป็ นตวั แทนประกันชีวติ และการออกรหสั ตัวแทน 3. หลกั เกณฑก์ ารทาสญั ญาคา้ ประกัน 4. การนาสง่ เอกสาร 5. ระยะเวลาดาเนินการ ››› การตอ่ อายุใบอนุญาตตวั แทนประกันชีวติ 1. คุณสมบตั ติ ัวแทน 2. เอกสารการตอ่ อายุใบอนุญาตเป็ นตัวแทนประกนั ชวี ติ ››› การขาดต่อ-ขอรบั ใบอนุญาตเป็ นตวั แทนประกนั ชวี ิต (ฉบบั ใหม่) 1. คุณสมบตั ติ ัวแทน 2. เอกสารขาดต่อ-ขอรับใบอนุญาตเป็ นตัวแทนประกนั ชีวิต (ฉบบั ใหม่) ››› การขอใบแทน (กรณีใบอนุญาตตัวแทนสญู หาย) 1. คุณสมบตั ิตวั แทน 2. เอกสารการขอรับใบแทนใบอนุญาตเป็ นตวั แทนประกันชีวติ กรณีใบอนุญาตตวั แทนสญู หาย ››› การชาระคา่ ธรรมเนียม 1. ขนั้ ตอนการชาระผ่าน Mobile Application 2. การนาสง่ หลักฐานการชาระเงนิ
การขอแต่งตัง้ เปิ ดสานักงานตัวแทน (Genaral Agency Office) 20 20 ››› คุณสมบัติของผทู้ จ่ี ะขอเปิ ดสานักงานตัวแทน 20 ››› รูปแบบอาคารทส่ี ามารถนามาขอเปิ ดสานักงานตวั แทน ››› เง่ือนไขและข้อบงั คบั สาหรบั การจัดตงั้ สานักงานตวั แทน 21 21 1. คุณสมบัตขิ องผขู้ ออนุญาตจดั ตงั้ สานักงานตัวแทน 21 2. การขออนุญาตเปิ ดสานักงานตัวแทน 21 3. หน้าทที่ ว่ั ไปของผไู้ ดร้ ับอนุญาตใหเ้ ปิ ดสานักงานตวั แทน 22 4. สถานทที่ ต่ี งั้ และตัวอาคารสานักงานตัวแทน 22 5. มาตรฐานสานักงาน 22 ››› การประกนั ความเสียหาย 22 ››› วนั เวลา เปิ ดทาการ 22 ››› การบรกิ ารบุคคลภายนอก 22 ››› การใหบ้ ริการแก่บุคคลภายในสานักงาน 23 ››› การใชส้ านักงานรว่ มกนั 24 ››› การใช้โทรศพั ท์ ››› การใชเ้ คร่ืองโทรสาร (FAX) 24 ››› การใชห้ อ้ งประชุม ››› การบรกิ ารรับและส่งเอกสารหรอื ไปรษณียภ์ ณั ฑ์ 25 ››› กจิ กรรมสานักงาน 26 ››› แบบฟอรม์ การขอแต่งตงั้ เปิ ดสานักงานตวั แทน (GA) 26 คู่มือการขายแบบประกนั ยนู ิต ลิงค์ ช่องทางตัวแทน 27 ประกันสุขภาพมาตรฐานใหม่ (New Health Standard) 27 28 ››› เอกสารประกอบการอบรม VDO แบบทดสอบ 29 30 การบรกิ ารติดต่อสอบถามข้อมูล สาหรบั ตัวแทน 31 ››› ชอ่ งทางในการติดต่อกบั บรษิ ทั ฯ และการเขา้ ถงึ ePos ผา่ น PRUPrompt ››› ชอ่ งทางตดิ ตอ่ ประสานงาน และสอบถามสว่ นงาน Agency ››› ชอ่ งทางตดิ ตอ่ ประสานงาน และติดต่อสอบถามส่วนงานทเี่ กย่ี วข้องอน่ื ๆ การนาส่งธุรกิจใหม่ และหลักเกณฑก์ ารพิจารณารบั ประกนั ภยั ››› นาสง่ ธุรกจิ ใหม่อยา่ งไร เพอื่ ใหอ้ อกกรมธรรมไ์ ดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ››› คาแนะนาการใชง้ านใบคาขอเอาประกนั ชวี ิต ››› การกรอกใบคาขอเอาประกนั ภยั ใหถ้ ูกตอ้ งไดอ้ ย่างไร ››› หลกั เกณฑก์ ารพจิ ารณารบั ประกันภัย ››› วิธกี ารกรอกใบคาขอเอาประกันชีวิตและการนาสง่ เอกสารทใี่ ช้ประกอบการขอเอาประกนั ภัย ››› ขอ้ กาหนดทว่ั ไปในการพิจารณารับประกันภยั 1. การคานวณอายุผเู้ อาประกนั และชาระเบยี้ ประกนั ภัยปี แรกใหถ้ กู ต้องไดอ้ ย่างไร 2. การคานวณเบยี้ ประกนั ภัย 3. การชาระเบยี้ ประกนั ภยั งวดแรก 4. ผรู้ ับประโยชน์ และความสมั พนั ธ์
››› การพิจารณาทางการเงนิ 34 ››› การรบั ประกันภยั แบบไมต่ รวจสุขภาพ 35 ››› หลักเกณฑก์ ารตรวจสุขภาพ 38 ››› กฎเกณฑก์ ารตรวจ Anti-HIV 42 ››› ข้อจากดั ในการรบั ประกันภยั ของบุคคลพิเศษบางประเภท 42 ››› การพจิ ารณาชนั้ อาชีพของชวี ิต และทพุ พลภาพ 46 ››› ผลการพจิ ารณารับประกนั ภัย 47 1. กรณีบริษทั ฯ อนุมัตกิ ารรับประกนั ภยั 48 2. กรณีบรษิ ทั ฯ ไมอ่ นุมัติการรับประกันภัย 51 ››› ประเภทเอกสาร และรายละเอียดของเอกสาร 51 ››› ระยะเวลาการใหบ้ รกิ าร และการรอคอยเอกสาร 55 ››› การตรวจสุขภาพประกอบการพจิ ารณารับประกันภยั 64 ››› กลุม่ ลกู ค้าทต่ี อ้ งกรอกแบบฟอรม์ เพอ่ื แสดงตัวตน 66 ช่องทางการชาระเบยี้ ประกนั ภยั และระเบยี บวธิ ีการปฏบิ ตั ิเกยี่ วกบั ใบรบั เงินช่ัวคราว 66 67 ››› วธิ กี าร และช่องทางการชาระเบยี้ ประกันภยั 67 1. ชอ่ งทางการชาระเงนิ ผ่าน ePOS 2. ช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ 74 3. ช่องทางเคานเ์ ตอรธ์ นาคาร 74 4. ช่องทางเคานเ์ ตอรต์ ัวแทนรบั ชาระ 75 5. ชอ่ งทางบัตรเครดิต ออนไลน์ 6. ช่องทางอตั โนมัตติ ลอดไป- ระบบหกั บญั ชีเงนิ ฝาก/บตั รเครดติ ››› วิธีการสมัครหกั บญั ชีเงนิ ฝากอัตโนมตั ิ ››› ตารางนาสง่ ขอ้ มูลเพอื่ หกั บญั ชเี งนิ ฝาก/บัตรเครดิต ››› เง่ือนไขและขอ้ กาหนดชาระเงนิ ด้วยบัตรเครดิต/บญั ชีเงนิ ฝาก ››› ระเบยี บ และวิธีปฏบิ ตั เิ กย่ี วกับการเบิก, การใช,้ การยกเลิก และการคนื ใบรับเงนิ ชว่ั คราว 1. ผทู้ ม่ี ีสิทธเ์ิ บิกใบรบั เงนิ ชว่ั คราว 2. หน้าที่ และความรับผดิ ชอบของผเู้ บิกใบรับเงนิ ช่วั คราว 3. ระเบยี บการใช้ใบรบั เงนิ ช่วั คราว 4. ระเบียบการรบั คนื และยกเลกิ ใบรบั เงนิ ชว่ั คราว 5. วธิ ีการปฏิบัตใิ นการแจง้ ความ กรณีใบรบั เงนิ ช่วั คราวสญู หายบางส่วน หรือสูญหายทงั้ เลม่ 6. การกระทาทถ่ี อื เป็ นความผดิ ในเร่ืองการไมป่ ฏบิ ัติตามระเบียบการใชใ้ บรบั เงนิ ชว่ั คราว 7. บทลงโทษ การไม่ปฏบิ ตั ิตามกฎระเบียบ การเบกิ การใช้ การคืนใบรับเงนิ ช่วั คราว บริการต่างๆ หลังการออกกรมธรรม์ ››› การใช้สิทธย์ิ กเลกิ กรมธรรมภ์ ายในระยะเวลาทกี่ าหนด (Free Look Period) ››› ทาอยา่ งไรใหไ้ ด้รับค่าบาเหน็จปี แรกเร็วทส่ี ุด ››› การบรกิ ารการใช้สิทธต์ิ ามเง่ือนไขกรมธรรม์ 1. การแปลงกรมธรรมเ์ ป็ นแบบขยายระยะเวลา
2. การแปลงกรมธรรมเ์ ป็ นแบบใชเ้ งนิ สาเรจ็ ››› การบรกิ ารขอเปลย่ี นแปลงและตอ่ อายุกรมธรรมป์ ระกนั ภัย 76 1. การเปลย่ี นแปลงกรมธรรมท์ ไี่ มม่ ผี ลกระทบกบั เบยี้ ประกนั ภัย 76 1.1 เปลย่ี นชอ่ื -นามสกุลผเู้ อาประกันภยั /ผชู้ าระเบยี้ ประกนั ภยั 1.2 เปลย่ี นชอ่ื -นามสกุลผรู้ ับประโยชน/์ เปลย่ี นแปลงผรู้ บั ประโยชน์ 1.3 เปลย่ี นแปลงสถานทต่ี ิดต่อ 2. การเปลย่ี นแปลงกรมธรรมท์ มี่ ผี ลกระทบกับเบยี้ ประกนั ภยั 77 2.1 การเปลย่ี นงวดการชาระเบยี้ ประกนั ภัย 2.2 เปลย่ี นแปลงลดทุนประกนั ภัยของสญั ญาหลกั 2.3 เปลย่ี นแปลงวนั เดอื น ปี เกิด 3. การจา่ ยเงนิ ตามเงื่อนไขของสญั ญาฯ/การขอใช้สทิ ธต์ิ ามกรมธรรม์ 78 3.1 การจ่ายเงนิ คืนตามเง่ือนไข 3.2 การจา่ ยเงนิ ครบกาหนดสญั ญา 3.3 การจ่ายเงนิ บานาญตามเง่ือนไข 3.4 การเวนคืนกรมธรรม์ 3.5 การขอกเู้ งนิ ตามกรมธรรม์ กรณียนื่ กผู้ า่ น PRUConnect กรณียนื่ กดู้ ว้ ยตนเอง กรณีโอนสทิ ธปิ์ ระโยชนต์ ามกรมธรรมแ์ ล้ว 4. การออกหนังสอื แจง้ ผเู้ อาประกนั ภยั 81 4.1 หนังสอื เตือนชาระเบยี้ ประกนั ภัยก่อนครบกาหนดชาระ 30 วนั 4.2 หนังสือเตือนชาระเบยี้ ประกันหลังวนั ครบกาหนดชาระ 15 วนั 4.3 หนังสือแจ้งสถานะเปลยี่ นแปลงสถานะกรมธรรมก์ รณีกรมธรรมข์ าดอายุกรมธรรม์ ขยายระยะเวลาอตั โนมตั ิ กรมธรรมใ์ ชเ้ งนิ สาเรจ็ อตั โนมตั ิ และกรมธรรมก์ อู้ ัตโนมัติ 5. การตอ่ อายุกรมธรรม์ 82 5.1 การต่ออายุแบบไมเ่ ลอ่ื นวันทาสัญญาโดยย้อนการชาระเบยี้ ประกนั ภัย (Reinstatement) 5.2 การต่ออายุฟื้นกรมธรรมแ์ บบเลอ่ื นวนั ทาสญั ญาใหม่ (Redating) การเรียกรอ้ งค่าสินไหมทดแทน ››› ประเภทการเรยี กร้องคา่ สินไหม 84 1. การเรียกรอ้ งสนิ ไหมทดแทน โดยใช้บริการตามโครงการพรูเมดิแคร์ (Fax Claims) 84 2. การเรยี กร้องสินไหมโดยวธิ ีปกติ 85 ››› ขนั้ ตอนการเรียกรอ้ งคา่ สนิ ไหมทดแทน 89 ››› ชอ่ งทางการขอเอกสารแบบฟอรม์ การเรยี กร้องสนิ ไหม 90 ››› วิธีการสง่ เอกสารเรียกรอ้ งคา่ สนิ ไหม 90 การบรกิ ารติดต่อสอบถามข้อมูล สาหรับลูกค้า >>PRUpolicy 91 1. วธิ เี ข้าใช้ PRUpolicy 2. ขนั้ ตอนการสมัคร PRUPolicy
>>PRUconnect 94 ขนั้ ตอนการสมคั ร PRUConnect 95 >>IVR Service 96 >>Agency Call Center 97 97 คาศัพทอ์ ินชัวรันส์ 104 >>ระยะเวลาบอกล้างสัญญา (Incontestable Period) >>การใชส้ ิทธเ์ิ กย่ี วกบั มลู คา่ กรมธรรม์ รายชื่อโรงพยาบาลเครือข่าย
หน้าท่ขี องตัวแทน ข้อกาหนดท่ใี ช้กับการเสนอขายกรมธรรม์ประกันภยั ตามประกาศคณะกรรมการกากบั และส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกนั ภยั เร่ือง กาหนดหลกั เกณฑ์ วิธีการออก การเสนอขาย กรมธรรม์ประกนั ภยั ของบริษัทประกนั ชีวติ และการปฏบิ ตั ิหน้าทข่ี องตวั แทนประกนั ชวี ิต นายหน้าประกนั ชีวติ และธนาคาร พ.ศ. 2563 การเสนอขายกรมธรรม์ประกนั ภัยผ่านตัวแทนประกันชีวิต จะต้องปฏบิ ัติ ดงั ต่อไปนี้ 1) แจ้งช่อื ตวั ชื่อสกลุ บริษัทท่ตี นสงั กดั (ถ้าม)ี พร้อมทงั้ แสดงใบอนญุ าตเป็นตวั แทนประกนั ชวี ติ 2) แจ้งวตั ถปุ ระสงค์ในการตดิ ตอ่ กบั ลกู ค้า ซง่ึ ต้องแสดงให้ปรากฏชดั แจ้งวา่ เป็นการเสนอขายกรมธรรม์ประกนั ภัย 3) ระบแุ จ้งชดั วา่ กรมธรรม์ประกนั ภยั ท่ีเสนอขายเป็นกรมธรรม์ประกนั ภยั ของบริษทั ใด 4) เม่อื ได้รับอนญุ าตให้เสนอขายกรมธรรม์ประกันภยั จากลกู ค้า ตวั แทนประกนั ชีวิตจะต้องอธิบายเก่ียวกบั กรมธรรม์ประกนั ภยั ทเี่ สนอขาย โดยใช้เอกสารประกอบการเสนอขายทไ่ี ด้รับความเหน็ ชอบจากบริษัทฯ เท่านนั้ 5) สอบถามความต้องการ วตั ถปุ ระสงค์ในการซอื ้ กรมธรรม์ประกนั ชวี ติ เพือ่ แนะนาให้ลกู ค้าทาประกนั ชีวิตให้ เหมาะสมกบั ความเส่ยี งและความสามารถในการชาระเบยี ้ ประกนั ภยั (suitability requirement) 6) เม่อื ลกู ค้าประสงคจ์ ะทาประกนั ชวี ติ ตวั แทนประกนั ชวี ิตจะต้องสง่ มอบใบคาขอเอาประกนั ภยั ให้แก่ลกู ค้า และ ให้ลกู ค้ากรอกรายละเอียดลงในใบคาขอเอาประกนั ภยั และลงลายมอื ชื่อในฐานะผ้ขู อเอาประกนั ภยั ด้วยตนเอง หากตวั แทนประกนั ชวี ติ เป็นผ้กู รอกรายละเอยี ดให้ตามคาร้องขอของลกู ค้า ตวั แทนประกนั ชีวติ จะต้องกรอก รายละเอียดให้ถกู ต้องตามทไี่ ด้รับข้อมลู จากลกู ค้า หรือจากทต่ี นทราบข้อมลู และตวั แทนประกนั ชวี ิตนนั้ จะต้อง อ่านรายละเอียดใบคาขอเอาประกนั ภยั ทีก่ รอกข้อมลู ครบถ้วนแล้วให้ลกู ค้าฟัง ก่อนให้ลกู ค้าลงลายมอื ชือ่ ใน ฐานะผ้ขู อเอาประกนั ภยั 7) เมอื่ ได้รับคาขอเอาประกนั ภยั และลกู ค้าได้ชาระเบยี ้ ประกนั ภยั แล้ว ให้ตวั แทนประกนั ชวี ิต สง่ มอบเอกสารเสนอ ขายกรมธรรม์ประกนั ภยั รายบคุ คลทีล่ งรายการครบถ้วนให้แกล่ กู ค้า พร้อมแจ้งระยะเวลาซงึ่ ลกู ค้าจะได้รับ กรมธรรม์ประกนั ภยั จากบริษทั ฯ หรือได้รับการตดิ ตอ่ จากบริษทั ฯ เก่ียวกบั กรมธรรม์ประกนั ภยั 8) ตวั แทนประกนั ชีวิตจะต้องสง่ คาขอเอาประกนั ภยั พร้อมเบยี ้ ประกนั ภยั ท่ีได้รับจากลกู ค้าไปยงั บริษทั ฯ ในโอกาส แรกท่ีกระทาได้ แตไ่ มเ่ กนิ วนั ทาการถดั ไป 9) ตวั แทนประกนั ชวี ติ จะต้องแจ้งให้ลกู ค้าทราบว่า เม่อื ลกู ค้าได้รับกรมธรรม์ประกนั ภยั แล้ว ลกู ค้ามีสิทธิตรวจสอบ เนอื ้ หาตามกรมธรรม์ประกนั ภยั หากไม่เป็นทพี่ อใจลกู ค้ามีสิทธิขอยกเลกิ กรมธรรม์ประกนั ภยั นนั้ ภายใน 15 วนั 10) อธิบายหลกั การเปิดเผยข้อความจริงในใบคาขอเอาประกนั ภยั และผลที่จะเกดิ ขนึ ้ หากมกี ารแถลงข้อความอนั เป็นเท็จ หรือปกปิดข้อความจริงอนั เป็นสาระสาคญั 11) ไมก่ ระทาการใดๆ อนั เป็นการรบกวน หรือก่อความราคาญให้แกล่ กู ค้า และต้องยตุ ิการเสนอขายกรมธรรม์ ประกนั ภยั ทนั ที หากลกู ค้าแสดงเจตนาวา่ ไมป่ ระสงค์จะซือ้ ไม่วา่ การแสดงเจตนานนั้ จะเกดิ ขนึ ้ ในขนั้ ตอนใด 1
12) แสดงให้เห็นอย่างชดั เจนวา่ เป็นการเสนอขายกรมธรรม์ประกนั ภยั ไม่ใชก่ ารฝากเงนิ และห้ามใช้คาทสี่ อ่ื ความหมายให้สาคญั ผดิ เชน่ ใช้คาวา่ “ฝาก” หรือ “ฝากเงนิ ” แทนคาวา่ “ชาระเบยี ้ ประกนั ภยั ” หรือคาอ่ืนใดท่ี ทาให้ลกู ค้าเข้าใจวา่ เป็นการฝากเงิน ทงั้ นี ้หากมกี ารระบวุ า่ เป็นการออม ให้ระบชุ ดั เจนวา่ เป็นการออมในรูปแบบ การประกนั ชวี ติ 13) แจ้งให้ลกู ค้าทราบถงึ สทิ ธิการมหี รือไมม่ ี เก่ียวกบั เงอ่ื นไขการขอยกเลกิ กรมธรรม์ประกนั ภยั (free look period) หากมีสิทธิต้องแจ้งจานวนวนั ทลี่ กู ค้ามีสทิ ธิขอยกเลกิ ประกนั ภยั ด้วย และแจ้งสทิ ธิของลกู ค้าทสี่ ามารถ ดาเนนิ การตา่ งๆ ภายหลงั การขายเพอื่ ให้ได้รับความเป็นธรรม เชน่ สิทธิการเวนคนื กรมธรรม์ประกนั ภยั สิทธิการ ยกเลิกกรมธรรม์ประกนั ภยั สิทธิเรียกร้องคา่ สินไหมทดแทน ตลอดจนกระบวนการในการเรียกร้องให้ชดใช้เงนิ หรือค่าสินไหมทดแทนตามสญั ญาประกนั ภยั เป็นต้น ในการนี ้ต้องอธิบายด้วยวา่ ผ้เู อาประกนั ภยั อาจได้รับเงิน คืนไมเ่ ตม็ จานวนที่ได้ชาระไว้แล้วเมอ่ื มกี ารเวนคนื กรมธรรม์ประกนั ภยั หรือยกเลิกกรมธรรม์ประกนั ภัย 14) บริหารจดั การกรณีเกิดการขดั กนั ทางผลประโยชน์ เพอ่ื ให้มน่ั ใจวา่ ลกู ค้าได้รับข้อมลู อยา่ งถกู ต้องเพยี งพอ ประกอบการตดั สนิ ใจทาสญั ญาประกนั ภยั 15) แจ้งลกู ค้าทราบจานวนเบยี ้ ประกนั ภยั ทผ่ี ้เู อาประกนั ภยั จะต้องชาระ ระยะเวลาเอาประกนั ภยั ระยะเวลาชาระ เบยี ้ ประกนั ภยั ความจาเป็นต้องชาระเบยี ้ ประกนั ภยั อยา่ งตอ่ เนือ่ งตลอดระยะเวลาเอาประกนั ภยั และผลกระทบ ที่เกิดจากการไมส่ ามารถชาระเบยี ้ ประกนั ภยั ได้อยา่ งต่อเน่อื ง 16) เมอื่ ลกู ค้าต้องการทราบการได้มาซง่ึ ข้อมลู ของตนเอง ผ้เู สนอขายต้องแจ้งให้ลกู ค้าทราบวา่ ได้รับข้อมลู เกี่ยวกบั ลกู ค้ามาได้อยา่ งไรด้วย การเสนอขายกรมธรรม์ประกนั ชวี ติ ผ่านตัวแทน ให้ตวั แทน ละเว้นการปฏิบตั ิ ดังต่อไปนี้ 1) ชกั ชวนให้ผ้เู อาประกนั ภยั ยกเลิกกรมธรรม์ประกนั ภยั เพ่อื มาซือ้ กรมธรรม์ประกนั ภยั ใหม่ 2) ให้ข้อความทเี่ ป็นเทจ็ หรือปกปิดความจริง ซง่ึ ควรแจ้ง เพ่อื ม่งุ หวงั ให้ทาสญั ญาประกนั ภยั กบั บริษัทฯ 3) ให้คาแนะนาซง่ึ อาจจะกอ่ ให้เกิดความเข้าใจผิด หรือละเว้นการเปิดเผยข้อมลู อนั เป็นสาระสาคญั ซง่ึ อาจจะ กอ่ ให้เกดิ ความเข้าใจผิด 2
จรรยาบรรณตวั แทน และบทลงโทษ พฤตกิ รรมท่ผี ิดจรรยาบรรณของตวั แทนประกนั ชีวติ มีผลบงั คบั ใชว้ นั ท่ี 1 กรกฎาคม 2565 เอกสารฉบบั นี้ จดั ทาขนึ้ เพ่อื ใหค้ ณะกรรมการตดั สนิ โทษทางวนิ ยั และคณะกรรมการยอ่ ยตดั สินโทษทางวินยั ใชป้ ระกอบการ พิจารณาลงโทษตวั แทนประกนั ชวี ติ ของบรษิ ทั ฯ (“ตวั แทนขาย”) ทง้ั นี้ เพ่อื ใหเ้ กิดความโปรง่ ใสและเป็นธรรม พฤตกิ รรมทผี่ ิด คาอธบิ าย ความผดิ ครั้งที่ 1 ความผิดครัง้ ที่ 2 ความผิดครัง้ ที่ 3 จรรยาบรรณ ใหพ้ น้ สภาพตวั แทน 1.1 พฤติกรรมท่ตี วั แทนขายปลอมแปลง หรือยินยอมให้ ไม่มี ไม่มี 1. การปลอมแปลง บคุ คลอน่ื ปลอมแปลงลายมือช่อื ของผมู้ ่งุ หวงั ลกู คา้ ผถู้ ือ ขาย ลายมอื ชื่อ ขอ้ มูล กรมธรรม์ หรอื บคุ คลอื่น ไม่ว่าจะไดร้ บั การยินยอมจาก หรอื เอกสาร ที่ เจา้ ของลายมือช่อื หรือไมก่ ็ตาม ซง่ึ ทาใหบ้ รษิ ัทฯ อาจหรอื การดาเนินการเพ่มิ เตมิ เกีย่ วข้องกบั การ ไดร้ บั ความเสยี หาย ประกันภัย ตวั อย่าง • ขนึ้ บญั ชดี าของ บริษัทฯ • ปลอมแปลง หรอื ยนิ ยอมใหบ้ คุ คลอ่ืนปลอมแปลงลายมอื ช่อื ลงในเอกสาร เชน่ ใบเสรจ็ รบั เงนิ ช่วั คราว (TR) ใบคาขอ • เรยี กคืนค่าบาเหน็จ เอาประกันภยั ใบเสรจ็ ค่ารกั ษาพยาบาล มรณบตั ร สาเนา และผลประโยชน์ บตั รประชาชนของลกู คา้ หลกั ฐานการสง่ มอบกรมธรรม์ ตวั แทนอนื่ ๆ (Free-Look) เป็นตน้ • รายงานหนว่ ยงาน 1.2 พฤติกรรมทตี่ วั แทนขาย หรือรว่ มกบั บคุ คลอ่นื จดั ทา ของรฐั เอกสารปลอมทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั การเสนอขายหรือขนั้ ตอนหลงั การขาย ไม่ว่าจะเป็นของผมู้ งุ่ หวงั ลกู คา้ ผถู้ ือกรมธรรม์ หรอื (กรณีมเี หตจุ าเป็น) บคุ คลอน่ื รวมถึงจดั ทาเอกสารปลอมในนามบรษิ ัทฯ หรือ บคุ คลอื่นทมี่ ีสิทธิรบั ผลประโยชนต์ ามกรมธรรม์ • ดาเนินคดีทาง กฎหมาย ตวั อย่าง (กรณีมีเหตจุ าเป็น) • ปลอมแปลงหลกั ฐานที่เกี่ยวขอ้ งกบั การเรยี กเก็บเบยี้ ประกนั ภยั • แกไ้ ขหรอื เปล่ยี นแปลงใบสมคั รประกนั ฉบบั ใหม่ แบบฟอรม์ แกไ้ ขกรมธรรม์ ใบรบั รองแพทย์ ใบเสรจ็ ค่า รกั ษาพยาบาล มรณบตั ร สาเนาบตั รประชาชนลกู คา้ ฯลฯ • เปล่ยี นแปลงเง่อื นไขของกรมธรรม์ โดยผถู้ ือกรมธรรมไ์ ม่ ทราบ เชน่ งวดในการชาระเบยี้ ประกนั ภยั ท่ีอยลู่ กู คา้ และ/หรือรายละเอียดการตดิ ตอ่ เป็นตน้ 3
พฤติกรรมทผี่ ิด คาอธบิ าย ความผดิ ครัง้ ที่ 1 ความผดิ ครัง้ ที่ 2 ความผดิ ครัง้ ที่ 3 จรรยาบรรณ 1.3 พฤตกิ รรมของตวั แทนขาย ใชข้ อ้ มลู ตนเองหรือตวั แทนท่ี จดหมายแจง้ เตอื น ใหพ้ น้ สภาพตวั แทน ไม่มี 2. การยักยอกเบีย้ ยงั มีใบอนญุ าตท่านอ่นื เช่นหมายเลขโทรศพั ท์ อีเมล ท่ีอยู่ ขาย ประกันภัย หรอื แทนที่จะใชข้ อ้ มลู ของผมู้ งุ่ หวงั ลกู คา้ หรอื ผถู้ ือกรมธรรม์ การกระทาทไ่ี ม่ สุจริตกบั เบีย้ ตวั อยา่ ง การดาเนนิ การเพ่มิ เติม ประกันภัย หรือ วิธีการรบั เบีย้ • ใชข้ อ้ มลู ตวั แทนขาย เชน่ หมายเลขโทรศพั ท์ อีเมล ท่อี ยู่ • ขนึ้ บญั ชดี าของ ประกันภัยท่ไี ม่ แทนที่จะใชข้ อ้ มลู ของผมู้ งุ่ หวงั ลกู คา้ หรือผถู้ ือกรมธรรม์ บริษทั ฯ ถูกตอ้ ง ซง่ึ ในปัจจบุ นั หมายเลขโทรศพั ทถ์ ือเป็นขอ้ มลู สาคญั ทใ่ี ช้ ในการยนื ยนั ตวั ตนของผเู้ อาประกนั ภยั ผ่าน OTP (ชดุ • เรียกคนื คา่ บาเหน็จ รหสั ผ่านครง้ั เดยี ว) อย่างไรกต็ าม การใชห้ มายเลข และผลประโยชน์ โทรศพั ทข์ องตวั แทนจะยกเวน้ สาหรบั ผถู้ ือกรมธรรมท์ เ่ี ป็น ตวั แทนอ่นื ๆ ผเู้ ยาว์ หรอื บตุ รที่ชอบดว้ ยกฎหมายของตวั แทนขาย • รายงานหนว่ ยงาน ของรฐั (กรณีมเี หตจุ าเป็น) 2.1 พฤติกรรมทตี่ วั แทนขายรบั ชาระเบยี้ ประกนั ภยั แลว้ ไม่ ใหพ้ น้ สภาพตวั แทน ไมม่ ี ไม่มี นาสง่ บรษิ ัทฯ ตามระเบียบของบรษิ ัทฯ และ/หรอื ตาม ขาย ประกาศท่ี คปภ. กาหนด หรือมีพฤตกิ รรมยกั ยอกเงินหรอื ผลประโยชนอ์ ืน่ ใดของผมู้ ่งุ หวงั ลกู คา้ ผถู้ ือกรมธรรม์ หรือผู้ การดาเนินการเพ่ิมเตมิ ชาระเบยี้ ประกนั ภยั • ระงบั ผลประโยชน์ ตวั อย่าง ในระหวา่ ง กระบวนการ • เก็บคา่ เบีย้ ประกนั ภยั จากผถู้ ือกรมธรรม์ หรอื ผมู้ งุ่ หวงั แต่ สอบสวน ไมไ่ ดน้ าสง่ เขา้ บรษิ ทั ฯ เตม็ จานวน หรือนาส่งแตเ่ พยี ง บางสว่ น • ขนึ้ บญั ชีดาของ บรษิ ัทฯ • แจง้ เทจ็ ว่าใบเสรจ็ รบั เงนิ ช่วั คราวสญู หาย หรอื นาสง่ ใน รูปแบบอนื่ ที่แตกต่างไปจากรูปแบบคา่ เบยี้ ประกนั ภยั ที่ • เรยี กคนื ค่าบาเหนจ็ รบั มาแตแ่ รก โดยไมม่ ีเหตผุ ลอนั สมควร และผลประโยชน์ ตวั แทนอ่นื ๆ • เกบ็ คา่ เบีย้ ประกนั ภยั ในจานวนท่ีสงู กวา่ คา่ เบีย้ ประกนั ภยั จรงิ โดยมีเจตนาทจุ ริต • รายงานหน่วยงาน ของรฐั และสมาคม • เก็บคา่ เบีย้ ประกนั ภยั โดยไม่ออกใบเสรจ็ รบั เงนิ ช่วั คราว ประกนั ชีวติ โดยมเี จตนาทจุ ริต (กรณีมเี หตจุ าเป็น) • เกบ็ คา่ เบีย้ ประกนั ภยั แตเ่ ปลีย่ นรูปแบบเป็นเช็คเงินสด หรือบตั รเครดิตของบคุ คลอืน่ 4
พฤตกิ รรมทผี่ ิด คาอธบิ าย ความผิดครั้งที่ 1 ความผิดครัง้ ที่ 2 ความผดิ ครัง้ ที่ 3 จรรยาบรรณ • เกบ็ คา่ เบีย้ ประกนั ภยั แต่เปล่ยี นงวดชาระ สง่ ผลใหม้ ีการ • ดาเนินคดที าง ใหพ้ น้ สภาพตวั แทน ไมม่ ี นาสง่ เบยี้ ประกนั นอ้ ยลง กฎหมาย ขาย (กรณีมเี หตจุ าเป็น • เกบ็ คา่ เบีย้ ประกนั ภยั ผ่านบตั รเดรดิตของผเู้ อาประกนั ภยั โดยไม่ไดร้ บั อนญุ าตจากผเู้ อาประกนั ภยั จดหมายแจง้ เตือน 2.2 พฤตกิ รรมที่ตวั แทนขายนาส่งเบยี้ ประกนั ภยั ล่าชา้ โดย ไมม่ เี หตผุ ลอนั สมควร ตวั อย่าง การดาเนินการเพมิ่ เติม • เก็บคา่ เบีย้ ประกนั ภยั จากผถู้ ือกรมธรรม์ หรอื ผมู้ งุ่ หวงั แต่ • ขนึ้ บญั ชดี าของ ไม่นาส่งค่าเบยี้ ประกนั ภยั ทนั ที หรอื ภายในวนั ทาการ บรษิ ทั ฯ ถดั ไป ตามระเบียบขอ้ บงั คบั ว่าดว้ ยการใชใ้ บเสรจ็ รบั เงนิ ช่วั คราว และ/หรือตามท่ีกฎหมายกาหนด โดยไม่มเี หตผุ ล • เรียกคืนคา่ บาเหนจ็ อนั สมควร ซ่งึ หมายรวมถึงการไมช่ ีแ้ จงขอ้ รอ้ งเรียนใหแ้ ก่ และผลประโยชน์ บริษัทฯ ทราบตามกาหนด ตวั แทนอน่ื ๆ 2.3 พฤติกรรมท่ีตวั แทนขายสารองจ่ายค่าเบีย้ ประกนั ภยั • รายงานหนว่ ยงาน หรอื การสนบั สนนุ ทางการเงิน ของรฐั และสมาคม ประกนั ชีวติ ตวั อย่าง (กรณีมเี หตจุ าเป็น) • ตวั แทนขายสารองจ่ายค่าเบยี้ ประกนั ภยั หรอื ใหก้ าร สนบั สนุนทางการเงนิ ในการชาระค่าเบยี้ ประกนั ภยั แก่ผถู้ ือ ตกั เตือนดว้ ยวาจา จดหมายแจง้ เตอื น ใหพ้ น้ สภาพ กรมธรรม์ หรอื ผมู้ งุ่ หวงั ตวั แทนขาย • ตวั แทนขายใชบ้ ตั รเครดิตของตนเองในการจ่ายค่าเบีย้ การดาเนินการ ประกนั ภยั แทนผเู้ อาประกันภยั หรอื ผมู้ งุ่ หวงั เพอ่ื ให้ เพิ่มเตมิ ตนเองไดร้ บั ประโยชน์ • ขนึ้ บญั ชีดาของ 2.4 พฤตกิ รรมที่ตวั แทนขายนาค่าเบยี้ ประกนั ภยั เขา้ บญั ชี บริษทั ฯ ของตวั แทน หรือบญั ชีอื่นใด แทนท่ีจะนาเขา้ บญั ชีของ บริษทั ฯ โดยตรง 2.5 พฤตกิ รรมทต่ี วั แทนขายรบั ชาระเบยี้ ประกนั ภยั เป็นเงนิ สดจากลกู คา้ 5
พฤติกรรมทผี่ ิด คาอธบิ าย ความผิดครัง้ ที่ 1 ความผิดครัง้ ที่ 2 ความผิดครั้งที่ 3 จรรยาบรรณ ไมม่ ี ไม่มี 3. การกระทาผิดที่ พฤตกิ รรมที่ตวั แทนขายกระทาการใดๆ และ/หรอื รว่ มมอื กบั ใหพ้ น้ สภาพตวั แทน เกี่ยวกบั การ บคุ คลอื่น โดยเจตนาหรือไม่เจตนากต็ าม เพอื่ ปิดบงั ขอ้ มลู ท่ี ขาย พจิ ารณา ใชใ้ นการพจิ ารณารบั ประกนั หรือการเรยี กรอ้ งค่าสินไหม รบั ประกนั หรอื การเรยี กร้องค่า ตวั อยา่ ง การดาเนินการเพมิ่ เตมิ สนิ ไหม • จงใจปิดบงั ขอ้ มลู ระหว่างกระบวนการพิจารณาประกนั ภยั • ขนึ้ บญั ชีดาของ 4. การบิดเบือน หรือเรียกรอ้ งสนิ ไหมโดยเออื้ ประโยชนใ์ หแ้ ก่ผมู้ งุ่ หวงั หรอื บรษิ ทั ฯ ลกู คา้ หรอื ผรู้ บั ผลประโยชน์ ข้อเทจ็ จริง • รายงานหนว่ ยงาน • สนบั สนนุ ใหผ้ ถู้ ือกรมธรรมไ์ ม่เปิดเผย หรอื ปิดบงั หรือ ของรฐั และสมาคม แถลงขอ้ ความเป็นเทจ็ ไม่วา่ จะทง้ั หมด หรือบางส่วน ประกนั ชีวติ (กรณีมเี หตจุ าเป็น) • ดาเนนิ คดีทาง กฎหมาย (กรณีมีเหตจุ าเป็น) 4.1 พฤติกรรมทีต่ วั แทนขายปกปิด หรอื บิดเบอื นขอ้ เท็จจรงิ จดหมายแจง้ เตือน ใหพ้ น้ สภาพตวั แทน ไม่มี โดยการใหข้ อ้ มลู อนั เป็นเท็จ หรอื บิดเบือนขอ้ เท็จจริง เพ่ือ ขาย หลอกลวง ผถู้ ือกรมธรรม์ หรือผมู้ งุ่ หวงั ใหด้ าเนินการใดๆ อนั เป็นเหตใุ หต้ นเองไดร้ บั ผลประโยชน์ การดาเนินการเพิ่มเตมิ ตวั อยา่ ง • ขนึ้ บญั ชดี าของ บริษัทฯ • การบิดเบอื นขอ้ มลู เก่ียวกบั ผลิตภณั ฑ์ เช่น เง่อื นไข เบยี้ ประกนั ภยั งวดการชาระเบยี้ ประกนั ภยั ความคมุ้ ครอง • เรยี กคืนค่าบาเหน็จ ผลประโยชนต์ ามแผนประกันภยั หรอื ผลประโยชน์ และผลประโยชน์ นอกเหนอื จากทไ่ี ดร้ ะบไุ วใ้ นกรมธรรม์ ตวั แทนอื่นๆ • การไม่เปิดเผยขอ้ มลู ท่ถี ูกตอ้ ง หรือการปกปิด หรอื การให้ • รายงานหนว่ ยงาน ขอ้ มลู ทีเ่ ป็นเท็จ ของรฐั และสมาคม ประกนั ชวี ติ • การทาแบบประเมินความเหมาะสม (Suitability (กรณีมีเหตจุ าเป็น) Assessment) และ/หรือ แบบสอบถามความตอ้ งการ ทางการเงนิ ของลกู คา้ ประกนั ชีวิตท่ีไมถ่ กู ตอ้ ง หรือ หลกั ฐาน และการบนั ทกึ ขอ้ มลู สาคญั ที่ไมเ่ หมาะสม หรือ วิธีการขายที่ไม่ถกู ตอ้ ง ใหค้ าแนะนาการขาย และ/หรอื คาแนะนาผลติ ภณั ฑท์ ่ีไม่เหมาะสม 6
พฤติกรรมทผี่ ิด คาอธบิ าย ความผิดครั้งที่ 1 ความผิดครัง้ ที่ 2 ความผดิ ครัง้ ที่ 3 จรรยาบรรณ 4.2 พฤติกรรมท่ตี วั แทนขายอนญุ าตใหผ้ มู้ ่งุ หวงั ลงลายมือช่อื เพยี งอยา่ งเดยี วในใบคาขอเอาประกนั ภยั ทไี่ มม่ ีการกรอก ขอ้ มลู หรอื ใบคาขอเอาประกนั ภยั ทม่ี ีการกรอกขอ้ มลู ลว่ งหนา้ แลว้ โดยไม่มกี ารสอบถามขอ้ มลู จากผมู้ ่งุ หวงั ซง่ึ ให้ เหตผุ ลว่าเพอื่ ความสะดวกในการจดั การเอกสาร ถงึ แมจ้ ะได้ รบั คายินยอมจากผมู้ ่งุ หวงั ก็ตาม 5. การขายโดยไม่มี พฤติกรรมท่ตี วั แทนขายนาเสนอ หรือชกั ชวนผมู้ งุ่ หวงั ใหซ้ อื้ จดหมายแจง้ เตอื น ใหพ้ น้ สภาพตวั แทน ไม่มี ใบอนุญาต กรมธรรมป์ ระกนั ชีวติ โดยทไี่ มม่ ีใบอนญุ าตตวั แทนประกนั ชีวติ ขาย ตวั แทนประกัน ซง่ึ ออกใหโ้ ดยสานกั งานคณะกรรมการกากับและสง่ เสริมการ การดาเนนิ การเพ่ิมเตมิ ชีวิต การขาย ประกอบธุรกิจประกนั ภยั (คปภ.) หรือสานกั งาน • เรียกคืนคา่ บาเหนจ็ กอ่ นการทา คณะกรรมการกากบั หลกั ทรพั ยแ์ ละตลาดหลกั ทรพั ย์ สัญญาแต่งตั้ง (ก.ล.ต.) ในกรณีของผแู้ นะนาการลงทนุ หรือผวู้ างแผน และผลประโยชน์ ตวั แทนประกนั ทางการเงนิ การไม่มีสญั ญาตวั แทนของบริษัทฯ หรือสญั ญา ตวั แทนอน่ื ๆ ชวี ติ หรอื การขาย ตวั แทนของบรษิ ัทฯ หมดอายุ โดยสญั ญา หมดอายุ 6. การขาย พฤตกิ รรมที่ตวั แทนขายชักชวนใหล้ กู คา้ ยกเลิกกรมธรรมเ์ พ่อื จดหมายแจง้ เตอื น ใหพ้ น้ สภาพตวั แทน ไม่มี กรมธรรมใ์ หม่ แทนทีด่ ว้ ยกรมธรรมฉ์ บบั อ่ืนของบรษิ ทั ฯ ซง่ึ สรา้ งความ ขาย เพ่อื แทนที่ เสียหายใหแ้ กผ่ ถู้ ือกรมธรรม์ (เม่ือเปรยี บเทยี บกบั กรมธรรม์ ผลประโยชนท์ ่ีดีทสี่ ดุ ของผถู้ ือกรมธรรม)์ หรอื บริษัทฯ ณ การดาเนินการเพ่มิ เติม ปัจจบุ นั เวลาใดเวลาหนง่ึ ซง่ึ เป็นพฤติกรรมทข่ี ดั ต่อขอ้ กาหนดของ บริษทั ฯ • ขนึ้ บญั ชดี าของ บรษิ ัทฯ • เรยี กคนื ค่า บาเหนจ็ และ ผลประโยชน์ ตวั แทนอืน่ ๆ • รายงานหนว่ ยงาน ของรฐั และสมาคม ประกนั ชวี ติ (กรณีมเี หตจุ าเป็น) 7
พฤติกรรมทผี่ ิด คาอธบิ าย ความผิดครั้งที่ 1 ความผดิ ครัง้ ที่ 2 ความผิดครั้งที่ 3 จรรยาบรรณ 7. การใช้สือ่ โฆษณา พฤติกรรมท่ตี วั แทนขายตพี มิ พ์ หรือเผยแพรส่ อื่ โฆษณา สือ่ จดหมายแจง้ เตือน ใหพ้ น้ สภาพตวั แทน ไม่มี ขาย สื่อผลิตภัณฑแ์ ละ ผลิตภณั ฑแ์ ละสื่อทางการตลาด เอกสารประกอบการขาย การตลาด และ ภาพประกอบการ (sales illustration) เครอื่ งหมายทางการคา้ โลโกบ้ รษิ ัทฯ การดาเนนิ การเพิม่ เติม ขาย ทีไ่ ม่ได้รบั หรอื ขอ้ ความในสอ่ื สิง่ พิมพ์ หรอื สื่อดิจิทลั ทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั อนุญาตหรอื บรษิ ัทฯ หรือธรุ กจิ ของบรษิ ัทฯ โดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าตจาก • ขนึ้ บญั ชีดาของ บริษัทฯ อนุมตั ิ เจา้ หนา้ ที่ผมู้ ีอานาจของบรษิ ัทฯ รวมถงึ พฤตกิ รรมทตี่ วั แทนขายใชซ้ อฟตแ์ วรค์ อมพวิ เตอรท์ กุ • เรียกคนื ค่าบาเหนจ็ รูปแบบท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การคาดการณม์ ลู ค่าอนาคตของ และผลประโยชน์ กรมธรรมข์ องบริษทั ฯ โดยไม่ไดร้ บั การอนมุ ตั ิจากบรษิ ัทฯ ตวั แทนอื่นๆ 8. การทาใหบ้ ริษัทฯ พฤติกรรมทตี่ วั แทนขายกระทาหรอื ไมก่ ระทาการอนั ส่งผล จดหมายแจง้ เตือน ใหพ้ น้ สภาพตวั แทน ไม่มี เสยี ชื่อเสียง หรือ กระทบตอ่ ช่อื เสยี งและภาพลกั ษณข์ องบรษิ ทั ฯ ไมว่ ่าทางตรง ขาย สญู เสยี ทาง หรือทางออ้ ม เช่น การวิพากษ์วิจารณบ์ รษิ ัทฯ ในวงกวา้ งผา่ น การเงิน ส่อื สาธารณะ หรอื สื่อสงั คมออนไลน์ ต่อสาธารณชน หรอื การดาเนินการเพิม่ เตมิ หน่วยงานกากบั ดแู ลของรฐั ฯ ใหร้ วมถึงการกระทาใดๆ ท่ี สง่ ผลกระทบใหบ้ ริษัทฯ มคี วามเส่ียงกบั การสญู เสียทางการ • ดาเนนิ คดที าง เงินและธรุ กิจ กฎหมาย (กรณีมเี หตจุ าเป็น) การกระทาอื่นใดของตวั แทนที่ทาใหบ้ รษิ ทั ฯ ไดร้ บั ผลกระทบ ทงั้ ช่อื เสียง หรอื ทางการเงิน ซ่งึ เป็นพฤติกรรมทีข่ ดั ตอ่ สญั ญา ตวั แทน กฎระเบยี บขอ้ บงั คบั ของบรษิ ทั ฯ และทางนโยบาย ของบริษทั ฯ หรอื จรรยาบรรณประกนั ชวี ิต 9. การกระทาผิดต่อ พฤตกิ รรมทต่ี วั แทนขายนาขอ้ มลู ท่ีเป็นความลบั หรือขอ้ มลู จดหมายแจง้ เตอื น ใหพ้ น้ สภาพตวั แทน ไมม่ ี ขอ้ กาหนดเรอ่ื ง ของผมู้ ่งุ หวงั /ลกู คา้ ไปใชใ้ นทางท่ผี ิด ซง่ึ ถือเป็นการละเมดิ ขาย การเก็บรักษา การเก็บรกั ษาขอ้ มลู เป็นความลบั และขอ้ มลู สว่ นตวั (ตวั แทน ข้อมูลเป็ น ขายตอ้ งรกั ษาขอ้ มลู ทง้ั หมดทไ่ี ดจ้ ากผมู้ งุ่ หวงั /ลกู คา้ ไวเ้ ป็น การดาเนนิ การเพม่ิ เติม ความลบั ความลบั และใหเ้ ปิดเผยขอ้ มลู กบั บริษัทฯ เทา่ ทจ่ี าเป็นเพอื่ การดาเนินการทางธรุ กจิ เท่านนั้ ) • ขนึ้ บญั ชดี าของ บรษิ ัทฯ • รายงานหนว่ ยงาน ของรฐั และสมาคม ประกนั ชีวิต (กรณีมเี หตจุ าเป็น) 8
พฤติกรรมทผี่ ิด คาอธิบาย ความผดิ ครัง้ ที่ 1 ความผดิ ครั้งที่ 2 ความผิดครัง้ ที่ 3 จรรยาบรรณ ไมม่ ี ไมม่ ี 10. การกระทาผิด พฤตกิ รรมทต่ี วั แทนขายกระทาการใดๆ และ/หรือ รว่ มมือกบั ใหพ้ น้ สภาพตวั แทน ต่อทรัพยส์ ิน บคุ คลอน่ื โดยมีเจตนาทาลายหรอื ก่อความเสยี หายใหก้ บั ขาย ของบริษัทฯ ทรพั ยส์ ินของบรษิ ัทฯ การดาเนินการเพมิ่ เตมิ • ดาเนนิ คดีทาง กฎหมาย (กรณีมเี หตจุ าเป็น) 11. การขายขา้ ม พฤติกรรมทต่ี วั แทนขายขายกรมธรรมใ์ หแ้ กผ่ ทู้ ่ไี มไ่ ดม้ ีถ่นิ ท่ี จดหมายแจง้ เตอื น ใหพ้ น้ สภาพตวั แทน ไมม่ ี ประเทศ อยแู่ ละอาศยั อย่ใู นประเทศไทย ณ เวลาทท่ี าการเสนอขาย ขาย ไม่มี และเซ็นรบั รองในใบเสนอขายกรมธรรม์ การดาเนนิ การเพ่ิมเตมิ ไมม่ ี • เรียกคนื ค่าบาเหน็จ และผลประโยชน์ ตวั แทนอน่ื ๆ 12. การเสนอหรอื 12.1 การเสนอส่วนลด สนิ บน หรือผลประโยชนอ์ นื่ ๆ จดหมายแจง้ เตอื น ใหพ้ น้ สภาพตวั แทน รบั ผลประโยชน์ ขาย พฤติกรรมทต่ี วั แทนขายเสนอใหส้ ่วนลดเบยี้ ประกนั ภยั สนิ บน หรอื ผลประโยชนอ์ ่ืนใดใหแ้ ก่ผมู้ งุ่ หวงั หรือลกู คา้ ไม่ การดาเนินการเพิ่มเตมิ ว่าโดยทางตรงหรอื ทางออ้ ม • เรยี กคืนค่าบาเหน็จ 12.2 การรบั ส่วนลด สินบน หรือผลประโยชนอ์ นื่ ๆ และผลประโยชน์ ตวั แทนอื่นๆ พฤติกรรมที่ตวั แทนขายรบั สินบน หรอื ผลประโยชนอ์ ่นื ใดจาก บคุ คลหนึ่งบคุ คลใดสาหรบั การบรกิ ารทเ่ี ก่ียวกบั กรมธรรม์ หรือการเรียกรอ้ งคา่ สนิ ไหมทดแทน ไม่วา่ โดยทางตรงหรือ ทางออ้ ม 13. การขาย พฤติกรรมท่ีตวั แทนขายนาส่งผลงานภายใตช้ ่อื ของตวั แทน จดหมายแจง้ เตอื น ใหพ้ น้ สภาพตวั แทน กรมธรรมร์ ว่ ม ขายอกี รายหน่งึ โดยที่ตวั แทนขายที่ไดร้ บั ผลงานไมไ่ ดเ้ ขา้ รว่ ม ขาย หรืออย่ใู นกระบวนการเสนอขายใหแ้ ก่ผมู้ ่งุ หวงั และเม่ือใบ เสนอขายไดร้ บั การเซน็ รบั รอง การดาเนนิ การเพ่มิ เติม พฤตกิ รรมการขายกรมธรรมร์ ว่ มครอบคลมุ ถงึ กรณีท่ตี วั แทน • เรียกคนื คา่ บาเหน็จ ขายคนหนึง่ คนใดไมใ่ ช่ตวั แทนขาย (ไมม่ ีใบอนญุ าตหรอื และผลประโยชน์ ใบอนญุ าตหมดอาย)ุ และขายกรมธรรม์ ตวั แทนอื่นๆ 9
พฤติกรรมทผี่ ิด คาอธบิ าย ความผิดครัง้ ที่ 1 ความผดิ ครัง้ ที่ 2 ความผิดครัง้ ที่ 3 จรรยาบรรณ 14. ตัวแทนเชิด พฤติกรรมของการทาตวั แทนเชิดมีลกั ษณะคลา้ ยคลงึ กบั การ จดหมายแจง้ เตอื น ใหพ้ น้ สภาพตวั แทน ไม่มี หรือตัวแทน ขายกรมธรรมร์ ว่ ม แตกต่างกนั ทตี่ วั แทนขายคนที่สอง จะเป็น (ตวั แทนเชิดและ ขาย ดมั มี่ ตวั แทนเชิด โดยตวั แทนขายคนทหี่ นง่ึ คอื หวั หนา้ หนว่ ยหรอื ตวั แทนผเู้ สนอขาย) เจา้ ของสานกั งานรบั สมคั รตวั แทนท่ีมใี บอนญุ าตมาเป็น (ตวั แทนเชิดและ ตวั แทนเชิดภายใตท้ ีมของตนเอง ตวั แทนเชดิ อาจจะประกอบ ตวั แทนผเู้ สนอขาย) อาชพี อืน่ หรือไม่กไ็ ด้ แตต่ วั แทนเชิดจะไมใ่ ชต่ วั แทนขาย เหมอื นตวั แทนขายท่วั ไป โดยหวั หนา้ หนว่ ยหรือเจา้ ของ การดาเนนิ การเพ่มิ เตมิ สานกั งานท่รี บั สมคั รตวั แทนเชิดเขา้ มา จะเป็นคนเสนอขาย กรมธรรมใ์ หแ้ กล่ กู คา้ แต่นาสง่ ผลงานภายใตช้ ่อื ของตวั แทน • เรยี กคืนค่าบาเหนจ็ เชดิ และผลประโยชน์ ตวั แทนอืน่ ๆ (ตวั แทนเชดิ และ ตวั แทนผเู้ สนอขาย) 15. การขาย พฤตกิ รรมทีต่ วั แทนขาย ขายกรมธรรมใ์ หแ้ ก่ตวั แทนอกี คนที่ ตกั เตือนดว้ ยวาจา จดหมายแจง้ เตือน ใหพ้ น้ สภาพ กรมธรรม์ เป็นเพื่อนรว่ มทมี คสู่ มรสของตวั แทนที่เป็นเพื่อนรว่ มทีม บตุ ร (ตวั แทนผซู้ อื้ และ ตวั แทนขาย ระหว่างตวั แทน ของตวั แทนที่เป็นเพอ่ื นรว่ มทีม หรือญาตใิ กลช้ ิดของตวั แทน (ตวั แทนผซู้ อื้ และ ตวั แทนผเู้ สนอขาย) ขายด้วยกนั ท่เี ป็นเพื่อนรว่ มทีม (พอ่ แม่ หลาน) โดยมเี จตนาใหผ้ ลงาน ตวั แทนผเู้ สนอขาย) (ตวั แทนผซู้ อื้ และ ของตวั แทนคนดงั กลา่ วบรรลเุ ง่อื นไขและขอ้ กาหนด เพือ่ ให้ การดาเนินการเพ่มิ เติม ตวั แทนผเู้ สนอ ไดม้ าซ่งึ ผลประโยชนต์ วั แทน • เรยี กคนื คา่ บาเหนจ็ ขาย) และผลประโยชน์ ตวั แทนอื่นๆ (ตวั แทนผซู้ อื้ และ ตวั แทนผเู้ สนอขาย) 16. การละเลยการ พฤติกรรมที่ตวั แทนขายละเลยการใหบ้ รกิ ารหลงั การขายกบั ตกั เตอื นดว้ ยวาจา จดหมายแจง้ เตือน จดหมายแจง้ เตือน ให้บรกิ ารหลัง ลกู คา้ หรือผรู้ บั ผลประโยชนอ์ ยา่ งต่อเน่อื ง การไมใ่ หบ้ รกิ าร การขาย ลกู คา้ อย่างเป็นมอื อาชีพ และการใหบ้ รกิ ารลา่ ชา้ โดยไม่มีเหตุ การดาเนนิ การ อนั สมควร เพ่มิ เตมิ • ไม่ไดร้ บั พจิ ารณา เลื่อนตาแหนง่ • เปลยี่ นตวั แทน ผใู้ หบ้ ริการ และ โอนคา่ บาเหนจ็ ปี ต่อไปยงั ตวั แทน ขายใหมท่ ่ีรบั โอน 10
พฤติกรรมทผี่ ิด คาอธบิ าย ความผิดครัง้ ที่ 1 ความผิดครั้งที่ 2 ความผิดครัง้ ที่ 3 จรรยาบรรณ ตกั เตอื นดว้ ยวาจา จดหมายแจง้ เตือน 17. การแยง่ ชิง พฤตกิ รรมทต่ี วั แทนขายแยง่ ชงิ ตวั แทนขาย หรือตวั แทนขาย ใหพ้ น้ สภาพ ตัวแทน ในระดบั ผบู้ รหิ าร หรือผทู้ ่กี าลงั จะเป็นตวั แทนขาย ภายใน ตวั แทนขาย ทีมงานเดยี วกนั หรือต่างทมี งานกัน 18. การใช้ พฤตกิ รรมที่ตวั แทนขายละเมิดกฎการใชใ้ บเสรจ็ รบั เงิน ตกั เตือนดว้ ยวาจา จดหมายแจง้ เตือน ใหพ้ น้ สภาพ ช่วั คราว เช่น การใชใ้ บเสรจ็ รบั เงนิ ช่วั คราวไม่เรียงตามลาดบั จดหมายแจง้ เตือน ตวั แทนขาย ใบเสร็จรับเงิน การใชใ้ บเสรจ็ รบั เงนิ ช่วั คราวทห่ี มดอายเุ พอื่ เก็บเบีย้ ช่วั คราวในทาง ประกนั ภยั จากผถู้ ือกรมธรรมห์ รอื ผจู้ ่าย การแกไ้ ขขอ้ มลู วนั ที่ ใหพ้ น้ สภาพ ทผี่ ิด หรอื จานวนเงินในใบเสรจ็ รบั เงิน ตวั แทนขาย 19. การไม่ให้ความ พฤติกรรมที่ตวั แทนขาย หรือหวั หนา้ หน่วย/สงั กดั ไม่ใหค้ วาม ตกั เตือนดว้ ยวาจา ร่วมมือใน รว่ มมอื ในกระบวนการตรวจสอบ หรอื ไม่ใหข้ อ้ มลู หรอื ไม่ กระบวนการ ตอบขอ้ ซกั ถาม โดยไมม่ เี หตอุ นั สมควร ระหวา่ งการ ตรวจสอบ / ตรวจสอบเพื่อหาขอ้ เท็จจริง ไม่ให้ขอ้ มูล 20. ไม่ได้นาเสนอ พฤติกรรมทีต่ วั แทนขายไม่ไดน้ าเสนอหรอื ชกั ชวน ผถู้ ือ จดหมายแจง้ เตือน ใหพ้ น้ สภาพตวั แทน ไมม่ ี หรอื ชกั ชวน กรมธรรมห์ รอื ผมู้ ่งุ หวงั โดยตรง และไมไ่ ดร้ บั ความยินยอม ขาย ไม่มี ผูถ้ ือกรมธรรม์ จากผถู้ ือกรมธรรมห์ รอื ผมู้ ่งุ หวงั หรอื ผู้มุง่ หวัง การดาเนินการเพ่มิ เตมิ โดยตรง และ ไม่ได้รบั ความ • ขนึ้ บญั ชีดาของ ยินยอมจาก บริษัทฯ ผู้ถอื กรมธรรม์ หรอื ผูม้ ุง่ หวัง • เรียกคืนค่าบาเหนจ็ และผลประโยชน์ ตวั แทนอ่นื ๆ • รายงานหนว่ ยงาน ของรฐั และสมาคม ประกนั ชวี ติ (กรณีมีเหตจุ าเป็น) 21. การเกี่ยวข้อง พฤติกรรมท่ตี วั แทนขายมีส่วนเกี่ยวขอ้ งกบั กจิ กรรมการฟอก ใหพ้ น้ สภาพตวั แทน ไมม่ ี กับกิจกรรมการ เงิน ซง่ึ รวมไปถงึ ชว่ ยเหลอื ผขู้ อเอาประกนั ภยั หรอื ผเู้ อา ขาย ฟอกเงิน ประกนั ภยั โดยใชก้ รมธรรมป์ ระกนั ภยั เป็นเครอื่ งมอื ในการ เปล่ยี นสถานะของเงิน หรอื ทรพั ยส์ ินทไ่ี ดม้ าโดยผิดกฎหมาย การดาเนนิ การเพมิ่ เตมิ 11
พฤตกิ รรมทผี่ ิด คาอธิบาย ความผิดครั้งที่ 1 ความผดิ ครัง้ ที่ 2 ความผดิ ครัง้ ที่ 3 จรรยาบรรณ หรือเกี่ยวขอ้ งกบั การกระทาทีผ่ ดิ กฎหมาย ใหก้ ลายเป็นเงินที่ • ขนึ้ บญั ชดี าของ ใชไ้ ดโ้ ดยถกู ตอ้ งตามกฎหมาย บริษัทฯ • รายงานหนว่ ยงาน ของรฐั และสมาคม ประกนั ชีวติ (กรณีมีเหตจุ าเป็น) หมายเหตุ : 1) บริษัทฯ จะดาเนินการลงโทษทางวินัยกับตัวแทนตามลาดับขั้นของความผิดท่ีระบุไวใ้ นบทลงโทษทางวินัยนี้ อย่างไรก็ตาม หากมีเหตุอันควร คณะกรรมการตดั สนิ โทษทางวินยั (คณะกรรมการฯ) หรือคณะกรรมการย่อยตดั สินโทษทางวินยั สามารถพิจารณาลดหย่อนโทษตามลาดบั ขั้นของ บทลงโทษที่กาหนดไว้ โดยจะตอ้ งมกี ารบนั ทกึ เหตผุ ลของการตดั สินไว้ 2) บริษทั ฯ มีอานาจท่จี ะพิจารณาลงโทษทางวินยั กบั ตวั แทนระดบั ผบู้ รหิ ารซ่งึ มสี ว่ นรว่ ม หรอื สนบั สนนุ การกระทาผดิ ของตวั แทนขาย โดยบริษทั ฯ จะ ลงโทษทางวนิ ยั ใหเ้ หมาะสมกบั พฤติกรรมการกระทาความผดิ 3) บรษิ ทั ฯ จะดาเนนิ การเรยี กคนื คา่ บาเหน็จและผลประโยชนต์ วั แทนอนื่ ๆ เฉพาะในสว่ นของกรมธรรม์ ท่ถี กู ยกเลกิ หรอื บอกลา้ งกรมธรรม์ 4) พฤติกรรมที่ผิดจรรยาบรรณตง้ั แต่ขอ้ 1 ถึง 14, 20 และ 21 ถือว่าเป็นพฤติกรรมรา้ ยแรงซ่ึงเกิดจากการที่ตวั แทนขายละเมิดกฎหมายหรือสรา้ ง ผลกระทบตอ่ บรษิ ทั ฯ บทลงโทษต่างๆ แบง่ เป็นลาดบั ขนั้ ของความผดิ ซง่ึ มีความแตกต่างไปตามความรุนแรงของความผดิ ทก่ี ระทา 12
คู่มือการสมคั รเป็ นตวั แทนประกันชีวิต การสมคั รสอบตวั แทนประกันชีวติ 1. คุณสมบัติผ้สู มคั รสอบ - เป็นผ้มู สี ญั ชาตไิ ทย - อายุ 20 ปีบริบรู ณ์ - ไม่เป็นผ้ปู ระพฤติผดิ จรรยาบรรณตวั แทน 2. ขัน้ ตอนการสมคั รสอบ ตวั แทนสามารถสมคั รสอบ ผา่ นทาง - Link : https://forms.gle/iBMwKo6BYmi3eVXh7 หรือ - QR Code หลงั จากทด่ี าเนินการสมคั รสอบเรียบร้อยแล้ว ให้ส่งเอกสาร - แนบสาเนาบตั รประชาชน - สาเนาการชาระคา่ ธรรมเนยี มทา่ นละ 200 บาท (ชาระผา่ น Bill Payment ของบริษัทฯ) - ส่งหลกั ฐานการสมคั รสอบมาท่ี อเี มล : [email protected] 3. การตรวจสอบรายช่ือผ้สู มคั รสอบ - สามารถตรวจสอบรายชอ่ื ได้จาก ผ้บู ริหารทมี งานของท่าน แผนกฯ แจ้งรายชื่อผ้มู ีสทิ ธิ์สอบทางอีเมล ของต้นสงั กดั ( E-mail : @thaipruagency.com ) การขอรับใบอนุญาตเป็ นตวั แทนประกันชีวติ และการออกรหสั ตัวแทน 1. คุณสมบตั ติ ัวแทน - เป็นผ้มู ีสญั ชาติไทย - อายุ 20 ปีบริบรู ณ์ แตไ่ ม่เกนิ 60 ปีบริบรู ณ์ - ไมเ่ ป็นผ้ปู ระพฤติผดิ จรรยาบรรณตวั แทน - * ผา่ นการสอบความรู้เป็นตวั แทนประกนั ชวี ติ (ผลสอบมีอายไุ มเ่ กิน 2 ปี นบั จากวนั ท่สี อบ หากผลสอบ เกนิ 2 ปี และใบอนญุ าตตวั แทนประกนั ชีวติ หมดอายแุ ล้ว ต้องสอบใหม่ทกุ กรณี) - * ผา่ นอบรม OIC (New License) - * ผ่านอบรม FTS (Foundation to Success) - * ผา่ นอบรม AML (Anti Money Laundering) ภาคบงั คบั ของ ปปง. 13
หมายเหตุ * ผลการอบรมมีอายไุ ม่เกิน 1 ปี นบั จากวนั ที่อบรม และสาหรับตวั แทนท่ีย้ายบริษัท ต้องแนบสาเนาการอบรม AML (Anti Money Laundering) หากไม่มเี อกสารยนื ยนั ผลการอบรม จะต้องอบรมใหมท่ กุ กรณี * ผลสอบความรู้เป็นตวั แทนประกนั ชวี ติ มีอายไุ ม่เกนิ 2 ปี นบั จากวนั ทีส่ อบ หากผลสอบเกิน 2 ปี และใบอนญุ าต ตวั แทนประกนั ชวี ติ หมดอายแุ ล้ว ต้องสอบใหม่ทกุ กรณี 2. เอกสารการขอรับใบอนุญาตเป็ นตวั แทนประกนั ชวี ิตและการออกรหัสตัวแทน เอกสารท่ใี ช้ จานวน หมายเหตุ 1. ใบสมคั รตวั แทนประกนั ชวี ติ (แผ่นท่ี 2) 1 (ชาระผา่ น Bill Payment บริษทั ฯ) 2. รูปถา่ ย 1 นวิ ้ (หน้าตรง/ไมย่ มิ ้ เห็นฟัน/พนื ้ หลงั ไม่มลี าย) 4 3. สาเนาบตั รประชาชน พร้อมรับรองสาเนาถกู ต้อง 2 4. สาเนาทะเบยี นบ้าน พร้อมรับรองสาเนาถกู ต้อง 2 5. คาขอรับใบอนญุ าตเป็นตวั แทนประกนั ชีวติ (ตช.1) 1 6. หนงั สอื แสดงความต้องการของบริษัทฯ ให้เป็นตวั แทนประกนั ชวี ติ (ตช.5) 1 7. คา่ ธรรมเนียมการยื่นขอรับใบอนญุ าตฯ 300 บาท 1 8. ใบอนญุ าตตวั แทน / นายหน้าประกนั ชีวติ ฉบบั จริง 1 9. หนงั สืออนมุ ตั ลิ าออก / สาเนาใบลาออกจากบริษทั เดิม พร้อมรบั รองสาเนา 1 ถกู ต้อง 10. ไปรษณีย์ตอบรับ (AR) 1 11. สาเนาผ่านการอบรมขอรับ (OIC) พร้อมรับรองสาเนาถกู ต้อง 1 12. สาเนาผลการผ่านการอบรม AML (ปปง.) พร้อมรับรองสาเนาถกู ต้อง 1 14
13. สาเนาใบเปลย่ี นคานาหน้า / ช่ือ / นามสกลุ (ถ้าม)ี พร้อมรับรองสาเนาถกู ต้อง 2 14. สาเนาสมดุ บญั ชีเงินฝากธนาคาร พร้อมรับรองสาเนาถกู ต้อง – เพื่อใช้ในการ 1 จา่ ยผลประโยชน์ตวั แทน 15. หนงั สือสญั ญาคา้ ประกนั พร้อมเอกสารประกอบการคา้ ประกนั 1 ชดุ 1 16. สญั ญาแตง่ ตงั ้ ตวั แทนประกนั ชีวติ (AG) 2 17. หนงั สอื อนมุ ตั แิ ต่งตงั ้ เป็นผ้บู ริหารตวั แทน 1 กรณีเสนอแตง่ ตงั ้ เป็นผ้บู ริหาร 18. ชดุ ตรวจประวตั ิบคุ คล + แนบสาเนาบตั รประชาชน และสาเนาทะเบยี นบ้าน 1 ตวั แทน (EAD, AD, DM, UM) 19. สญั ญาแตง่ ตงั ้ ผ้บู ริหารตวั แทนประกนั ชวี ิต 2 20. หนงั สือขอคืนสภาพตวั แทน 1 กรณีเสนออนมุ ตั ิกลบั มาเป็น 22. สาเนาเบยี ้ ประกนั ภยั 12,000 บาท (FYP) 1 ตวั แทนใหม่ (ไมเ่ กิน 1 ปี) 23. ผ้ดู แู ลพนื ้ ท่ีให้ความเหน็ ชอบ 1 กรณี แตง่ ตงั้ ตำแหนง่ ตวั แทน (Agt) - นาส่งชดุ ขอรับใบอนญุ าตเป็นตวั แทนประกนั ชวี ติ (ทงั้ ชดุ ) พร้อมเอกสารประกอบของตวั แทน สามารถ Download ได้จาก PRUprompt กรณี แตง่ ตง้ั ตำแหนง่ ผูบ้ ริหำรตวั แทน (UM/DM/AD/EAD) - นาส่งชดุ ขอรับใบอนญุ าตเป็นตวั แทนประกนั ชวี ติ (ทงั้ ชดุ ) พร้อมเอกสารประกอบของตวั แทน สามารถ Download ได้จาก PRUprompt - นาส่งชดุ เอกสารการแตง่ ตงั ้ ผ้บู ริหารตวั แทน (External) (ทงั้ ชดุ ) พร้อมเอกสารประกอบของตวั แทน สามารถ Download ได้จาก PRUprompt หมายเหตุ กรณี โอนย้ายบริษัท แตใ่ บอนญุ าตฯ เดมิ ยงั ไม่หมดอายุ ต้องนาสง่ เอกสาร โดยเลอื กเอกสารประกอบการ ลาออกจากบริษทั เดิม แบบใดแบบหนึง่ ดงั นี ้ เอกสารประกอบการลาออกจากบริษทั เดิม แบบท่ี 1 เอกสารประกอบการลาออกจากบริษัทเดมิ แบบท่ี 2 1. ใบอนญุ าตฯ ตวั แทนฉบบั จริง หรือใบแจ้งความ 1. ใบอนญุ าตฯ ตวั แทนฉบบั จริง หรือใบแจ้งความ 2. สาเนาใบลาออกเดมิ พร้อมรับรองสาเนาถกู ต้อง 2. หนงั สอื อนมุ ตั ิการลาออก จากบริษัทเดิม 3. ไปรษณีย์ตอบรับ (AR) * มรี ะยะเวลารอคอยนาส่งคปภ. โดยนบั จากวนั ท่ี ไปรษณีย์ประทบั ตรา 30 วนั 3. หลกั เกณฑ์การทาสัญญาคา้ ประกัน ประเภทของการคา้ ประกนั 15
- การคา้ ประกนั ประเภท 1 หมายถงึ การคา้ ประกนั โดยผ้บู ริหารตวั แทนต้นสงั กดั (สงู กวา่ 1 ตาแหน่ง) - การคา้ ประกนั ประเภท 2 หมายถงึ การคา้ ประกนั โดยบคุ คลภายนอก คณุ สมบตั ิของผ้คู า้ ประกนั - ข้าราชการหรือพนกั งานรฐั วสิ าหกิจ ระดบั ซี 3 ขนึ ้ ไป จานวน 1 คน - พนกั งานบริษัทมีเงินเดอื นประจาตงั ้ แต่ 10,000 บาทขนึ ้ ไป จานวน 1 คน - ผ้ปู ระกอบธุรกจิ สว่ นตวั ทีเ่ ชอ่ื ถือได้และมฐี านะการเงนิ ดี เชน่ เป็นเจ้าของกจิ การ, ร้านค้า ฯลฯ โดย บริษัทฯ จะเป็นผ้พู ิจารณาคณุ สมบตั ขิ องบคุ คลดงั กล่าว - ผ้บู ริหารตวั แทนสามารถลงนามเป็นผ้คู า้ ประกนั ได้ตามแบบฟอร์มหนงั สือการคา้ ประกนั (ประเภท 1) ระดบั ตาแหนง่ วงเงนิ คา้ ประกนั และเอกสารประกอบการคา้ ประกนั ตาแหน่ง วงเงนิ คา้ ประกนั เอกสารท่ใี ช้คา้ ประกนั ตวั แทน (AG) 50,000 บาท ประเภท 1 หรือ ประเภท 2 ผ้บู ริหารหนว่ ย (UM, DM) 100,000 บาท ประเภท 1 และ ประเภท 2 ผ้อู านวยการขยายงานตวั แทน (AD, EAD) 200,000 บาท ประเภท 1 และ ประเภท 2 หลกั ฐานประกอบสญั ญาคา้ ประกนั - สาเนาบตั รประชาชนหรือสาเนาบตั รข้าราชการ (ท่ยี งั ไมห่ มดอาย)ุ - สาเนาทะเบียนบ้าน พร้อมแผนท่ี ท่ีอย่ขู องผ้คู า้ ประกนั โดยละเอยี ด - กรณีเป็นพนกั งานบริษัท ต้องมหี นงั สือรับรองเงินเดือนท่ีได้รับในปัจจบุ นั จากนายจ้าง - กรณีเป็นผ้ปู ระกอบธรุ กิจสว่ นตวั ต้องมหี ลกั ฐานแสดงฐานะดงั กลา่ ว เชน่ สาเนาใบทะเบยี นการค้า, Bank Statement, สาเนาโฉนดทด่ี นิ ฯลฯ หมายเหตุ หลกั เกณฑ์กำรทำสญั ญำค้ำประกนั ดงั นี ้ - เอกสารสาเนาทกุ ฉบบั ของผ้คู า้ ประกนั จะต้องลงนามรับรองสาเนาถกู ต้องโดยผ้คู า้ ประกนั เอง - ไม่เป็นสามหี รือภรรยาของตวั แทน - ตวั แทนผ้ถู กู คา้ ประกนั จะต้องลงนามเป็นพยานในสญั ญาคา้ ประกนั - ผ้คู า้ ประกนั จะต้องมภี มู ลิ าเนาหรือสถานทปี่ ระกอบธุรกจิ ในเขตท้องทห่ี รือจงั หวดั ทตี่ วั แทนสงั กดั อยู่ 4. การนาส่งเอกสาร สามารถนาส่งเอกสาร ได้ 2 ชอ่ งทาง ได้แก่ - นาส่งด้วยตนเอง : บมจ.พรูเด็นเชยี ล ประกนั ชีวติ (ประเทศไทย) มิตรทาวน์ ออฟฟิศ ทาวเวอร์ ชนั้ 30 - นาส่งทางไปรษณีย์ : บมจ.พรูเดน็ เชยี ล ประกนั ชวี ติ (ประเทศไทย) แผนกปฏบิ ตั กิ ารตวั แทน (AOP) 944 มิตรทาวน์ ออฟฟิศ ทาวเวอร์ ชนั้ 10, 29-31 ถ.พระราม 4 แขวงวงั ใหม่ เขตปทมุ วนั กรุงเทพฯ 10330 16
5. ระยะเวลาดาเนินการ - วนั ที่ 1 : แผนกฯ รับและตรวจสอบเอกสาร ** มปี ระกาศแจ้งข้อมลู การรับเอกสาร / การตดิ ขดั เอกสารทไ่ี มส่ ามารถดาเนินการได้ (NC Pending) ใน PRUprompt / สง่ แจ้งทางอีเมลของต้นสงั กดั ( E-mail : @thaipruagency.com ) - วนั ที่ 2 : ดาเนนิ การย่ืนขอรับใบอนญุ าตฯ กบั คปภ. และออกรหสั ตวั แทน ** ข้อมลู เลขใบอนญุ าตฯ จะแสดงหน้าเว็บไซต์ คปภ. 1-2 วนั ทาการ - วนั ที่ 3 : ดาเนนิ การจดั ส่งใบอนญุ าตฯ ไปยงั สานกั งานตวั แทน ** กรณีสงั กดั สานกั งานใหญ่ จดั สง่ ให้เจ้าหน้าท่ขี องบริษทั ฯ ท่ีดแู ลพนื ้ ท่ี การต่ออายุใบอนุญาตเป็ นตวั แทนประกันชวี ิต 1. คณุ สมบัตติ ัวแทน - รหสั ตวั แทนสถานะปกติ - ใบอนญุ าตเป็นตวั แทนประกนั ชวี ิต มีผลบงั คบั ใช้ ยงั ไม่หมดอายุ - ผ่านการอบรมหลกั สตู รขอตอ่ อายใุ บอนญุ าตฯ เรียบร้อยแล้ว 2. เอกสารการต่ออายุใบอนุญาตเป็ นตัวแทนประกนั ชวี ิต เอกสารท่ใี ช้ จานวน หมายเหตุ 1. คาขอต่อใบอนญุ าตเป็นตวั แทนประกนั ชีวติ (ตช.7) 1 2. หนงั สอื แสดงความต้องการของบริษทั ฯ ให้เป็นตวั แทนประกนั ชวี ิต (ตช.5) 1 3. รูปถ่าย 1 นวิ ้ (หน้าตรง/ไมย่ มิ ้ เห็นฟัน/พนื ้ หลงั ไมม่ ีลาย) 2 4. สาเนาบตั รประชาชน พร้อมรับรองสาเนาถกู ต้อง 1 5. สาเนาทะเบยี นบ้าน พร้อมรับรองสาเนาถกู ต้อง 1 6. สาเนาใบเปลย่ี นคานาหน้า / ชอ่ื / นามสกลุ (ถ้าม)ี พร้อมรับรองสาเนาถกู ต้อง 1 7. ใบอนญุ าตตวั แทนฉบบั จริง หรือใบแจ้งความ กรณีบตั รหาย 8. ค่าธรรมเนียมการยน่ื ต่ออายใุ บอนญุ าตฯ ประเภท 1 ปี 200 บาท หรือ 1 (ชาระผา่ น Bill Payment บริษทั ฯ) ประเภท 5 ปี 800 บาท 9. สาเนาผ่านการอบรมตอ่ อายใุ บอนญุ าตฯ พร้อมรับรองสาเนาถกู ต้อง 1 นาสง่ ชดุ คาขอต่ออายใุ บอนญุ าตเป็นตวั แทนประกนั ชวี ติ (ทงั้ ชดุ ) พร้อมเอกสารประกอบของตวั แทน สามารถ Download ได้จาก PRUprompt 17
การขาดต่อ-ขอรับใบอนุญาตเป็ นตวั แทนประกันชีวิต (ฉบับใหม่) 1. คณุ สมบตั ติ ัวแทน - รหสั ตวั แทนสถานะปกติ - ใบอนญุ าตเป็นตวั แทนประกนั ชวี ติ หมดอายุ - ผ่านการอบรมหลกั สตู รขอรับใบอนญุ าตฯ (OIC) เรียบร้อยแล้ว 2. เอกสารขาดต่อ-ขอรับใบอนุญาตเป็ นตวั แทนประกันชวี ติ (ฉบับใหม่) เอกสารท่ใี ช้ จานวน หมายเหตุ 1. คาขอรับใบอนญุ าตเป็นตวั แทนประกนั ชีวิต (ตช.1) 1 ทาเคร่ืองหมาย / สว่ นหวั “ขาดตอ่ ” 2. หนงั สอื แสดงความต้องการของบริษัทฯ ให้เป็นตวั แทนประกนั ชวี ติ (ตช.5) 1 3. รูปถ่าย 1 นวิ ้ (หน้าตรง/ไมย่ มิ ้ เหน็ ฟัน/พนื ้ หลงั ไมม่ ลี าย) 2 (ชาระผา่ น Bill Payment บริษัทฯ) 4. สาเนาบตั รประชาชน พร้อมรับรองสาเนาถกู ต้อง 1 5. สาเนาทะเบียนบ้าน พร้อมรับรองสาเนาถกู ต้อง 1 6. สาเนาใบเปลี่ยนคานาหน้า / ชอื่ / นามสกลุ (ถ้าม)ี พร้อมรับรองสาเนาถกู ต้อง 1 7. คา่ ธรรมเนยี มการยื่นขอรับใบอนญุ าตฯ 300 บาท 1 8. สาเนาผ่านการอบรมขอรับใบอนญุ าตฯ (OIC) พร้อมรับรองสาเนาถกู ต้อง 1 นาส่งชดุ คาขอรับใบอนญุ าตเป็นตวั แทนประกนั ชวี ติ ประเภทขาดต่อ (ทงั้ ชดุ ) พร้อมเอกสารประกอบของตวั แทน สามารถ Download ได้จาก PRUprompt การขอใบแทน (กรณีใบอนุญาตตัวแทนสูญหาย) 1. คุณสมบตั ติ ัวแทน - รหสั ตวั แทนสถานะปกติ - ใบอนญุ าตเป็นตวั แทนประกนั ชวี ติ ยงั ไมห่ มดอายุ แต่สญู หาย 2. เอกสารการขอรับใบแทนใบอนุญาตเป็ นตวั แทนประกนั ชวี ติ กรณีใบอนุญาตตวั แทนสญู หาย เอกสารท่ใี ช้ จานวน หมายเหตุ 1. คาขอรับใบอนญุ าตเป็นตวั แทนประกนั ชีวิต (ตช.1) 2. หนงั สอื แสดงความต้องการของบริษัทฯ ให้เป็นตวั แทนประกนั ชวี ิต (ตช.5) 1 ทาเคร่ืองหมาย / ส่วนหวั “ใบแทน” 3. รูปถ่าย 1 นวิ ้ (หน้าตรง/ไมย่ มิ ้ เหน็ ฟัน/พนื ้ หลงั ไมม่ ีลาย) 4. สาเนาบตั รประชาชน พร้อมรับรองสาเนาถกู ต้อง 1 5. สาเนาทะเบียนบ้าน พร้อมรับรองสาเนาถกู ต้อง 6. สาเนาใบเปลีย่ นคานาหน้า / ชอ่ื / นามสกลุ (ถ้าม)ี พร้อมรับรองสาเนาถกู ต้อง 2 1 1 1 18
7. ค่าธรรมเนียมการย่ืนขอรับใบอนญุ าตฯ 200 บาท 1 (ชาระผา่ น Bill Payment บริษัทฯ) 8. ใบแจ้งความ (ฉบบั จริง) หรือสาเนาใบแจ้งความ พร้อมรับรองสาเนาถกู ต้อง 1 กรณีใบอนญุ าตฯ สญู หาย นาส่งชดุ คาขอรับใบอนญุ าตเป็นตวั แทนประกนั ชวี ิต ประเภทใบแทน (ทงั้ ชดุ ) พร้อมเอกสารประกอบของตวั แทน สามารถ Download ได้จาก PRUprompt การชาระค่าธรรมเนียม 1. ขัน้ ตอนการชาระผ่าน Mobile Application ดงั นี้ - ขนั้ ตอนท่ี 1 เลอื กจา่ ยบลิ / ชาระเงนิ - ขนั้ ตอนที่ 2 ค้นหา “พรูเดน็ เชยี ล” Payment No. 010753700189711 - ขนั้ ตอนท่ี 3 ระบรุ ายละเอยี ดการชาระเงนิ : รหสั อ้างองิ 1 (Ref.1) ใส่ 11111 รหสั อ้างอิง 1 (Ref.2) ใส่ หมายเลขโทรศพั ท์ ระบจุ านวนเงนิ เชน่ 200 / 300 / 800 - ขนั้ ตอนท่ี 4 ยนื ยนั การจา่ ยบลิ (บนั ทึกชว่ ยจา ระบุ ชอ่ื -นามสกลุ ของตวั แทน) 2. นาส่งหลักฐานการชาระเงนิ มาท่ี E-Mail [email protected] โดยระบุข้อมลู ตวั แทน ดังนี้ - ชื่อ-นามสกลุ ตวั แทน - รหสั ตวั แทน - แจ้งการชาระในเร่ืองใด เช่น สมคั รสอบ, ขอรับใบอนญุ าตฯ, ตอ่ อาย,ุ ใบแทน 19
การขอแต่งตัง้ เปิ ดสานักงานตัวแทน (GA) คณุ สมบัตขิ องผ้ทู ่ีจะขอเปิ ดสานักงานตวั แทน - ผ้บู ริหารตวั แทนระดบั DM ขนึ ้ ไปเท่านนั้ - มปี ระสบการณ์การทางานไม่น้อยกวา่ 12 เดือน - มผี ลผลิตเบยี ้ ประกนั ภยั รับปีแรกของทงั้ หน่วย (ประเภทสามญั ย้อนหลงั 12 เดอื น) ไมต่ า่ กวา่ 2,000,000 บาท - จานวนตวั แทน ไม่น้อยกวา่ 15 คน - อตั ราความยงั่ ยืนของหนว่ ยงานไมน่ ้อยกว่า 70% ณ เดือนสดุ ท้ายก่อนการขอแต่งตงั ้ สานกั งานตวั แทน - ต้องไมม่ ปี ระวตั ิ Blacklist, Penalty, Criminal, Suspicious Agent, Bankruptcy รูปแบบอาคารท่ีสามารถนามาขอเปิ ดสานักงานตวั แทน - เป็นอาคารคอนกรีตขนาดมาตรฐาน 1 คหู า 2 ชนั้ ขนึ ้ ไป - เป็นอาคารคอนกรีตขนาดมาตรฐาน 2 คหู า 2 ชนั้ ขนึ ้ ไป เง่อื นไขและข้อบงั คบั สาหรับการจดั ตงั้ สานักงานตัวแทน 1. มีคณุ สมบตั ิครบตามหลกั เกณฑ์ที่จะขอจดั ตงั ้ สานกั งานตวั แทน 2. การขออนญุ าตเปิดสานกั งานตวั แทน o ชือ่ ของหวั หน้าสานกั งานและชือ่ ทมี งาน o แผนพฒั นาสานกั งานตวั แทน เชน่ แผนการขาย จานวนบคุ ลากร และจานวนทีมงานเป็นต้น o การตกแต่งสานกั งาน การติดตงั ้ ต้องเป็นไปตามข้อกาหนดและเงอ่ื นไขของบริษัทฯ o เจ้าหน้าท่ีแคชเชียร์ประจาสานกั งานตวั แทน 3. หน้าท่ีทวั่ ไปของผ้ไู ด้รับอนญุ าตให้เปิดสานกั งานตวั แทน o รับผดิ ชอบค่าใช้จา่ ยในการบริหาร และค่าดแู ลรักษาสานกั งานทงั้ หมดทงั้ สนิ ้ o ปฏิบตั ติ ามเง่ือนไข กฎเกณฑ์ และข้อบงั คบั ของผ้วู ่าจ้าง o ให้ความร่วมมอื กบั บริษัทฯ เป็นอยา่ งดี o อนญุ าตให้เจ้าหน้าทตี่ รวจสอบภายในของบริษัทผ้วู า่ จ้าง เข้าตรวจสอบการดาเนนิ งานของ สานกั งานตวั แทน และสภาวะทางการเงนิ ของสานกั งานตวั แทน 4. สถานท่ีตงั ้ และตวั อาคารสานกั งานตวั แทน o สถานที่ตงั ้ และรายละเอยี ดเก่ียวกบั อาคารทีต่ งั ้ สานกั งาน อยใู่ นแหลง่ ชมุ ชน 5. มาตรฐานสานกั งาน 20
o ต้องเป็นอาคารคอนกรีตขนาดมาตรฐานไม่น้อยกวา่ 1 คหู า 2 ชนั้ ขนึ ้ ไป หรือขนาด 2 คหู า 2 ชนั้ ขนึ ้ ไป หากเป็นอาคารเอกเทศ โดยเฉพาะตวั อาคารต้องมพี นื ้ ทใี่ ช้สอยไมน่ ้อยกวา่ 192 ตารางเมตร หรือ Community mall โดยทใี่ ช้สอยไม่น้อยกวา่ 53 ตารางเมตร o มีเครื่องปรับอากาศในสานกั งาน o บริเวณด้านหน้าอาคารสานกั งานต้องตกแตง่ ตามแบบท่ีผ้วู า่ จ้างกาหนดไว้ o ปา้ ยสานกั งาน การประกนั ความเสียหาย - ผ้ไู ด้รับอนญุ าตเปิดสานกั งาน จะต้องจดั ให้มปี ระกนั อคั คีภยั สาหรับอาคาร ทรัพย์สินในสานกั งาน การ ประกนั การโจรกรรม และการสญู หายของเงินสดภายใน / ภายนอกสานกั งาน เตม็ มลู คา่ ทบ่ี ริษทั ฯ จะ กาหนดให้ตลอดระยะเวลาทไ่ี ด้รับอนญุ าตให้เปิดสานกั งานตวั แทนนี ้ - ได้รับอนญุ าตให้เปิดสานกั งานตวั แทน จะต้องรับผิดชอบตามความเสยี หายที่เกดิ ขึน้ ต่ออาคาร ทรัพย์สนิ ของสานกั งานตวั แทนสว่ นบคุ คลดงั กลา่ ว เว้นแต่การสญู เสยี อนั เกดิ จากบคุ คลภายนอก วนั เวลา เปิ ดทาการ - วนั เปิดทาการ วนั จนั ทร์ ถงึ วนั ศกุ ร์ เปิดทาการเวลา 08.30 น. – 16.30 น. - วนั หยดุ ทาการ ให้ปิดทาการวนั อาทติ ย์ และวนั หยดุ ตามท่ีบริษัทฯ กาหนดไว้ การบริการบคุ คลภายนอก - ต้องให้บริการแกผ่ ้มู งุ่ หวงั ผ้ถู ือกรมธรรม์ ผ้มู าตดิ ตอ่ องคก์ ร บริษทั ห้างร้านตา่ งๆ อย่างมีประสทิ ธิภาพ และด้วยอธั ยาศยั ไมตรีอนั ดยี ่ิง - ห้ามมใิ ห้ปฏิเสธ หรือละเว้นการรับเบยี ้ ประกนั จากผ้ถู ือกรมธรรม์ และผ้มู งุ่ หวงั โดยไมม่ เี หตผุ ลอนั สมควร - ให้บริการแก่ตวั แทนจากสานกั งานอ่ืน เว้นแต่จะมรี ะเบยี บกาหนดห้ามไว้ การให้บริการแก่บคุ คลภายในสานกั งาน - ต้องให้บริการตวั แทน หวั หน้าหนว่ ย และบคุ คลภายในสานกั งาน ด้วยความเป็นธรรม เสมอภาค และ อธั ยาศยั ไมตรีทด่ี ี - เอกสารตา่ งๆ ท่ีผ้วู า่ จ้าง (บริษทั ) อนมุ ตั ใิ ห้เบิกใช้ ให้ถือวา่ เป็นสว่ นกลาง เพือ่ ใช้ในการบริการ ห้ามขาย จาหนา่ ย หรือคิดคา่ ตอบแทนด้วยประการใดๆ โดยเด็ดขาด 21
การใช้สานกั งานร่วมกนั - การใช้ห้องทางานของผ้บู ริหารตวั แทน และตวั แทน - ให้ผ้ไู ด้รับอนญุ าตให้เปิดสานกั งานตวั แทน เปิดอาคารสานกั งานให้ผ้บู ริหารตัวแทนอื่นใช้นอกเวลาทา การตามคาขอ การใช้โทรศัพท์ - ต้องมโี ทรศพั ท์ประจาสานกั งาน - ให้บริการรับโทรศพั ท์จากภายนอก และตอ่ โทรศพั ท์ การใช้เคร่ืองโทรสาร (FAX) - ตงั ้ ในบริเวณเคาน์เตอร์เพอ่ื ส่วนกลางใช้ ทงั้ นคี ้ วรจะมบี คุ คลผ้รู ับผดิ ชอบดแู ลด้วย การใช้ห้องประชุม - ขนาดตามมาตรฐานของอาคารและสถานที่ - ต้องจดั ให้มโี ต๊ะ เก้าอี ้แท่นยืนพดู เครื่องขยายเสียงอย่างเพียงพอและเหมาะสม - ต้องจดั ให้มอี ปุ กรณ์ในการประชมุ เพ่ิมเติม เชน่ เครื่องฉาย แผ่นใสพร้อมจออปุ กรณ์ การฉายวิดีโอ การบริการรับและส่งเอกสารหรือไปรษณีย์ภัณฑ์ - รับ และส่งเอกสาร ผา่ นช่องทางการจดั สง่ ท่ีอานวยความสะดวก ณ ปัจจุบนั - หวั หน้าสานกั งานตวั แทนต้องรับผดิ ชอบในการรับเอกสารไปรษณยี ์ เคร่ืองบนิ รถไฟ และ/หรือ รถยนต์ แล้วแตก่ รณี - หวั หน้าสานกั งานตวั แทนต้องรับผิดชอบในการรวบรวมเอกสาร หรือไปรษณีย์ภณั ฑ์ภายในวนั และ เวลา ซงึ่ ทกุ หนว่ ยตวั แทนได้ตกลงกาหนดไว้ และนาสง่ ยงั ท่ีทาการท่ีต้องการส่ง (แล้วแต่กรณี) ให้ ทนั เวลา - การรับและส่งเอกสารถงึ สานกั งานใหญ่ (กรุงเทพฯ) ผ้รู ับผิดชอบต้องปฏบิ ตั ิตรงตามเวลาซง่ึ ได้ตกลงกนั ไว้ กิจกรรมสานักงาน - จดั ให้มีการประชมุ หวั หน้าหนว่ ยในสานกั งานอยา่ งน้อยเดอื นละ 1 ครัง้ พร้อมทงั้ มีรายงานการประชุม แจ้งให้ทกุ หนว่ ยทราบ - กรณีมีหน่วยงานทใี่ ช้สานกั งานเกนิ กวา่ 5 หนว่ ย การจดั ตงั ้ สโมสรหรือชมรม ต้องมปี ระธาน และ กรรมการจากการเลอื กตงั ้ 22
- หวั หน้าสานกั งานตวั แทนควรจดั ให้มีงานร่ืนเริงประจาปีของสานกั งาน โดยคา่ ใช้จา่ ยเฉลย่ี หรือตามวิธี อนั เป็นที่ตกลงกนั - สานกั งานตวั แทนต้องพร้อมให้บริการและอานวยความสะดวก กรณีบริษัทฯ จดั อบรมและประชมุ ร่วมกนั แบบฟอร์มการขอแต่งตงั้ เปิ ดสานักงานตวั แทน (GA) สามารถ Download ได้จาก PRUprompt 23
คู่มอื การขายแบบประกันยนู ิต ลงิ ค์ ช่องทางตวั แทน สามารถ Download ค่มู ือได้จาก PRUprompt ประกันสุขภาพมาตรฐานใหม่ (New Health Standard) เอกสารประกอบการอบรม New Health Standard สามารถ Download ได้จาก QR code VDO - New Health Standard สามารถ Download ได้จาก QR code แบบทดสอบเพ่ือทบทวน สามารถ Download ได้จาก QR code 24
การบริการติดต่อสอบถามข้อมลู สาหรับตวั แทน ช่องทางในการตดิ ต่อกับบริษทั ฯ และการเข้าถงึ ePos ผ่าน PRUPrompt PRUPrompt บริการ online ครบวงจร เพ่ือเพ่ิมศกั ยภาพงานขายให้แก่ผ้ขู าย https://pruprompt.prudential.co.th/ สะดวกตลอด 24 ชม. ทกุ วนั ทกุ ท่ี ทกุ เวลา รองรับระบบปฏบิ ตั กิ าร Android และ IOS รองรับทกุ เบราว์เซอร์ ทงั้ นี ้สามารถ Download คมู่ ือการใช้งาน ePos ได้จาก PRUprompt ตดิ ต่อสอบถามเพ่ิมเติม ได้ท่ี Seller Helpdesk: 02 352 8899 Seller Helpdesk email: [email protected] 25
ช่องทางตดิ ต่อประสานงาน และสอบถามส่วนงาน Agency ช่องทางตดิ ต่อประสานงาน และติดต่อสอบถามส่วนงานท่เี ก่ยี วข้องอ่ืนๆ 26
การนาส่งธุรกิจใหม่ และหลักเกณฑ์การพจิ ารณารับประกันภยั นาส่งธุรกิจใหม่อย่างไร เพ่ือให้ออกกรมธรรม์ได้อย่างรวดเร็ว 1. กรอกใบคำขอเอำประกนั ภยั ให้ถกู ต้อง 2. สง่ เอกสำรให้ครบถ้วน 3. คำนวณเบยี ้ ประกนั ภยั ให้ถกู ต้อง และชำระเบยี ้ ประกนั ภยั ปีแรก 100% 4. ปฏิบตั ิตำมข้อแนะนำและกฎเกณฑ์ต่ำงๆ ในกำรพจิ ำรณำรับประกนั ภยั คาแนะนาการใช้งานใบคาขอเอาประกนั ชวี ติ ใบคำขอเอำประกนั ชวี ติ แบ่งประเภทกำรกรอกใบคำขอฯ ตำมแบบประกนั ภยั เป็น 4 ประเภท ดงั นี ้(เริ่มใช้ตงั ้ แต่ 1 ตลุ ำคม 2564) 1. ใบคำขอเอำประกนั ภยั สำมญั , แบบมีคำถำมสขุ ภำพอยำ่ งละเอยี ด ตอบส่วนท่ี 1-3, 5-8 2. ใบคำขอเอำประกนั ภยั สำมญั , แบบไม่มคี ำถำมสขุ ภำพ ตอบสว่ นท่ี 1, 6-8 3. ใบคำขอเอำประกนั ภยั สำมญั , แบบมีคำถำมสขุ ภำพอยำ่ งสนั ้ ตอบส่วนที่ 1-4, 6-8 4. ใบคำขอเอำประกนั ภยั สำหรับกรมธรรม์ประกนั ชวี ติ ควบกำรลงทนุ (UL) กรณีซือ้ สญั ญำเพ่มิ เติมเกี่ยวกบั สขุ ภำพหรือโรคร้ำยแรง กรณีไม่ซอื ้ สญั ญำเพ่ิมเติมเกี่ยวกบั สขุ ภำพหรือโรคร้ำยแรง ตอบทกุ ข้อ ตอบทกุ ข้อ ยกเว้นข้อ 22-23 แยกประเภทของใบคำขอเอำประกนั ภยั ตำมแบบประกนั ชวี ติ ทบ่ี ริษทั ฯ ขำยในปัจจบุ นั ใช้ใบคาขอฯ ประเภท แบบประกันชวี ิต ชนิดไม่มีคาถามสุขภาพ ชนิดมคี าถาม สามญั (Full) (GIO) สุขภาพอย่างสนั้ สะสมทรัพย์ 1 (PRUendowment 1) X สะสมทรัพย์ 3 (PRUendowment 3) (SHORT) X พรูสมำย 133 (PRUsmile 133) X พรูสมำร์ท 16/12 (PRUsmart 12/16) X พรูเกษียณสขุ 225 (PRUsmile retirement 225) X 27
พรูบำนำญสรำญใจ (PRUhappy retirement) X X พรูเทอม 10 (PRUterm 10) X พรูมนั น่ี รีวอร์ด (PRU money reward 15/6 ) X พรูตลอดชีพ 99/10 (PRUwhole life 99/10) X พรูตลอดชีพ 99/20 (PRUwhole life 99/20) X เดอะวนั เลกำซ่ี (The 1 Legacy) พรูซูเปอร์ลงิ ค์ (PRUSuper link) X การกรอกใบคาขอเอาประกันภยั ให้ถูกต้องได้อย่างไร • กรอกรำยละเอยี ดให้ใช้ลำยมือเดยี วทงั้ หมด ใช้ปำกกำหมกึ สีนำ้ เงนิ หรือสดี ำเท่ำนนั้ และใช้ภำษำไทยเท่ำนนั้ (เฉพำะชือ่ -นำมสกลุ ลกู ค้ำชำวตำ่ งชำตสิ ำมำรถกรอกเป็นภำษำองั กฤษได้) • ลำยมอื ช่ือของผ้ขู อเอำประกนั ภยั ต้องเหมอื นกันในทกุ เอกสำรท่ียื่นประกอบกำรพิจำรณำฯ • กรอกรำยละเอียดให้ชดั เจนที่สดุ โดยเฉพำะข้อมลู สว่ นบคุ คล เชน่ ทอ่ี ยู่ อำชพี เบอร์โทรศพั ท์ทส่ี ำมำรถตดิ ตอ่ ได้ • ตอบคำถำมสขุ ภำพให้ชดั เจนถกู ต้องครบถ้วนทกุ ข้อ พร้อมทงั้ ระบุ วนั เดือน ปี ที่สมคั รทำประกนั ชวี ติ และลงช่อื โดยผ้ขู อเอำประกนั ภยั ตอ่ หน้ำตวั แทนฯ (ทงั้ ในสว่ นของลำยเซ็น และตวั บรรจง) • ผ้ขู อเอำประกนั ภยั ทอ่ี ำยไุ มค่ รบ 20 ปีบริบรู ณ์ ต้องให้ผ้ปู กครองโดยชอบธรรม (ผ้ชู ำระเบยี ้ ประกนั ภยั ) ลงนำม ด้วยทกุ ครัง้ • กรณีพิมพ์ลำยนวิ ้ หวั แมม่ ือผ้ขู อเอำประกนั ภยั จะต้องระบวุ ำ่ เป็นนวิ ้ หวั แมม่ อื ข้ำงไหน ของใคร (ระบชุ ือ่ ผ้ขู อเอำ ประกนั ภยั ) พร้อมพยำน 2 ท่ำน • ตวั แทนทีท่ ำประกนั ชวี ติ ตนเอง ต้องมบี คุ คลอ่นื ที่บรรลนุ ิตภิ ำวะแล้วลงนำมเป็นพยำน 1 ทำ่ น • ต้องระบเุ ลขทใ่ี บอนญุ ำตกำรเป็นตวั แทน พร้อมชอื่ นำมสกลุ ที่ชดั เจน และถกู ต้อง (ตวั แทนทไ่ี ม่มเี ลขท่ี ใบอนญุ ำตไม่สำมำรถขำยประกนั ชวี ิตได้) • กำรแก้ไขข้อมลู ลบ ขดู ขีด หรือเขียนทบั ข้อมลู เดมิ ต้องให้ผ้ขู อเอำประกนั ภยั ลงลำยมอื ช่ือกำกบั ทกุ ครัง้ • กำรระบชุ ือ่ ผ้ขู อเอำประกนั ภยั ต้องระบใุ ห้ชดั เจนเป็นภำษำไทยเทำ่ นนั้ 28
หลักเกณฑ์การพจิ ารณารับประกันภัย ลาดับ เอกสารประกอบการพจิ ารณา สาหรับผ้ใู หญ่อายุ สาหรับผ้เู ยาว์ 17 ปี ขนึ้ ไป 1 เดืออนาย- ุ 16 ปี 1 ใบคำขอเอำประกนั ภยั √ √ √ 2 กรณี บคุ คลทว่ั ไป - สำเนำบตั รประจำตวั ประชำชน √ √ 3 กรณี พระภิกษุ - สำเนำสทุ ธิสงฆ์ และสำเนำบตั รประจำตวั ประชำชน √ หรือทะเบียนบ้ำน √ 4 สำเนำสตู ิบตั ร หรือสำเนำทะเบยี นบ้ำน หรือสำเนำบตั รประชำชน 5 ใบรำยงำนกำรตรวจสขุ ภำพแบบผ้ใู หญ่ (กรณีสมคั รแบบตรวจสขุ ภำพ หรือมปี ระวตั ิสขุ ภำพ) 6 ใบรำยงำนกำรตรวจสขุ ภำพแบบเยำวชน (กรณีสมคั รแบบตรวจ สขุ ภำพหรือมปี ระวตั ิสขุ ภำพ) 7 ใบมอบอำนำจเพือ่ ขอประวตั กิ ำรรักษำ (กรณีท่ีมีประวตั กิ ำรรักษำ) √ √ √ √ 8 หนงั สอื ยินยอมให้หกั บญั ชธี นำคำร พร้อมหน้ำสมดุ บญั ชีธนำคำร (กรณีสมคั รแบบรำยเดือน) 9 เบยี ้ ประกนั ภยั พร้อมสำเนำใบรับเบยี ้ ประกนั ภยั ชว่ั ครำวแบบมเี งื่อนไข √ √ 10 แบบฟอร์มกำรพสิ จู น์ทรำบตวั ตนของผ้ขู อเอำประกนั ภยั (CDDQ) √ √ กรณีผ้ขู อเอำประกนั ภยั ประกอบอำชพี เส่ยี ง √ √ 11 เอกสำรเพมิ่ เติมกรณีผ้ขู อเอำประกนั ภยั มิใชบ่ คุ คลสญั ชำตไิ ทย √ √ √ √ 1. สำเนำ passport และสำเนำ visa 2. หลกั ฐำนกำรทำงำนในประเทศไทยจนถึงปัจจบุ นั (work permit) 3. แบบสอบถำมเกยี่ วกบั กำรสมคั รขอทำประกนั ชีวติ สำหรับบคุ คลที่ มิใช่สญั ชำติไทย 12 กำรยนื ยนั ตวั ตนลกู ค้ำ e-KYC สำหรับกำรขำยแบบกระดำษ √√ ผลติ ภณั ฑ์ OL & UL หมำยเหตุ - รับรองสำเนำถกู ต้องโดยผ้ขู อเอำประกนั ภยั ในเอกสำรข้ำงต้น - ผ้ขู อเอำประกนั ภยั ที่ยงั ไมบ่ รรลนุ ติ ภิ วะ (อำยตุ ำ่ กวำ่ 20 ปีบริบรู ณ์) ต้องให้ผ้ปู กครองลงนำมยนิ ยอมในใบคำขอฯ - ใบรำยงำนกำรตรวจสขุ ภำพแบบเยำวชน ต้องให้บดิ ำ มำรดำพำผ้เู ยำว์ทีจ่ ะขอเอำประกนั ภยั ไปตรวจสขุ ภำพกบั แพทย์ และลงนำมรับรองในใบตรวจสขุ ภำพด้วย 29
วิธีการกรอกใบคาขอเอาประกันชีวิต และการนาส่งเอกสารท่ีใช้ประกอบการขอเอา ประกนั ภยั 1.ใบคาขอเอาประกนั ภัย เป็นเอกสำรสำคญั ทีต่ ้องถำ่ ยสำเนำแนบไว้กบั เลม่ กรมธรรม์เพ่อื เป็นหลกั ฐำนอ้ำงองิ เพรำะฉะนนั้ จงึ ต้องกรอกใบคำขอเอำ ประกนั ภยั ด้วยควำมระมดั ระวงั สะอำด ถกู ต้องเรียบร้อย และครบถ้วนสมบรู ณ์เสมอ ใบคำขอเอำประกนั ภยั ถือเป็นถ้อย แถลง และเอกสำรแสดงเจตนำของผ้เู อำประกนั ภยั เพรำะฉะนนั้ กำรลบ ขดู ขดี ฆำ่ (หำกม)ี จะต้องให้ผ้ขู อเอำประกนั ภยั ลงนำมกำกบั กำรแก้ไขนนั้ ไว้ทกุ แห่ง ถึงแม้วำ่ ในทำงปฏบิ ตั ิตวั แทนฯ จะเป็นผ้ชู ่วยกรอกข้อมลู ตำ่ งๆ ให้ผ้ขู อเอำประกนั ภยั แต่พงึ ระลกึ ถงึ หลกั กำรพนื ้ ฐำนเสมอวำ่ ตวั แทนฯ เป็นเพียงผ้ทู ่ีชว่ ยบนั ทึกถ้อยแถลงของผ้ขู อเอำประกนั ภยั เท่ำนนั้ โดย ตวั แทนฯ มหี น้ำที่สอบถำมข้อมลู ผ้ขู อเอำประกนั ภยั และบนั ทึกไว้ด้วยควำมถกู ต้องครบถ้วน ชดั เจน ไม่คลมุ เครือ เมือ่ กรอกครบถ้วนเรียบร้อยแล้ว ต้องอ่ำนทบทวนให้ผ้ขู อเอำประกนั ภยั ฟังกอ่ นลงนำม ในใบคำขอเอำประกนั ภยั ทงั้ นี ้กรณีที่ผ้ขู อเอำประกนั ภยั รู้อยแู่ ล้ว แต่แถลงข้อควำมอนั เป็นเทจ็ ตำมวรรคหนง่ึ หรือรู้อยแู่ ล้วในข้อควำมจริง ใด แตไ่ มเ่ ปิดเผยข้อควำมจริงนนั้ ให้บริษัทฯ ทรำบ ซง่ึ ถ้ำบริษทั ฯ ทรำบข้อควำมจริงนนั้ ๆ อำจจะจงู ใจบริษทั ฯ ให้เรียกเก็บ เบยี ้ ประกนั ภยั สงู ขนึ ้ หรือบอกปัดไม่ยอมทำสญั ญำ โดยสญั ญำประกนั ชวี ติ นจี ้ ะตกเป็นโมฆยี ะตำมมำตรำ 865 แห่ง ประมวลกฎหมำยแพง่ และพำณชิ ย์ บริษทั ฯ มสี ทิ ธิบอกล้ำงสญั ญำได้ 2. บตั รประจาตวั ประชาชน หรือสาเนาทะเบยี นบ้าน เพ่ือใช้เป็นหลกั ฐำนในกำรพสิ จู น์อำยทุ ถี่ กู ต้องและพิสจู น์ตวั ตน กรณีบตั รข้ำรำชกำรควรแนบสำเนำทะเบยี นบ้ำนมำด้วย ทกุ ครัง้ ทงั้ นเี ้อกสำรตำ่ งๆ ต้องมกี ำรรับรองสำเนำถกู ต้องโดยผ้ขู อเอำประกนั ภยั ด้วยทกุ ครัง้ 3. ใบรายงานการตรวจสุขภาพ ใช้สำหรับกรณีทตี่ ้องตรวจสขุ ภำพ ซงึ่ จะต้องทำกำรตรวจสขุ ภำพกบั แพทย์แตง่ ตงั ้ ของบริษัทฯ เทำ่ นนั้ กรณีโรงพยำบำล คสู่ ญั ญำ ทำ่ นสำมำรถตรวจกบั แพทย์ได้ทกุ ทำ่ น พร้อมทงั้ แสดงบตั รประจำตวั ประชำชนของผ้ขู อเอำประกนั ภยั และลง เลขทบ่ี ตั รในใบรำยงำนกำรตรวจสขุ ภำพทกุ ครัง้ 4. ใบมอบอานาจเพ่อื ขอประวตั กิ ารรักษา ให้ผ้ขู อเอำประกนั ภยั หรือผ้ชู ำระเบยี ้ ประกนั ภยั ลงนำมพร้อมแนบสำเนำบตั รของสถำนพยำบำลนนั้ ๆ (ถ้ำม)ี เพอื่ ขอ ประวตั ิกำรรักษำ (กรณีท่ีมีประวตั ิกำรรักษำ) 5. สาเนาบนั ทกึ สุขภาพเดก็ ต้องมขี ้อมูลครบถ้วน ได้แก่ ประวตั กิ ำรคลอด/ประวตั ิเดก็ แรกเกิด/บนั ทกึ พฒั นำกำรของเด็ก กำรบนั ทกึ นำ้ หนกั ส่วนสงู กำรฉีดวคั ซีน และกำรตรวจ ตำมนดั ให้ถำ่ ยสำเนำเอกสำรให้ครบทกุ หน้ำ 30
ข้อกาหนดท่วั ไปในการพิจารณารับประกนั ภยั 1. การคานวณอายุผ้เู อาประกัน และชาระเบีย้ ประกนั ภัยปี แรกให้ถกู ต้องได้อย่างไร • กำรนบั อำยขุ องผ้เู อำประกนั ภยั ในขณะที่ขอเอำประกนั ภยั นนั้ ให้ใช้หลกั เกณฑ์กำรคำนวณวนั เกดิ ท่ใี กล้ทสี่ ดุ เศษตงั ้ แต่ 6 เดอื นขนึ ้ ไปให้ปัดขึน้ เช่น อำยุ 30 ปี 6 เดอื น คิดอำยเุ ป็น 31 ปี ตัวอย่างท่ี 1 ปี เดือน วนั วนั ทที่ ำสญั ญำ 2558 12 15 วนั เกดิ 2528 7 2 อำยุ = 30 ปี 30 5 13 ตัวอย่างท่ี 2 ปี เดือน วนั วนั ท่ที ำสญั ญำ 2558 11 15 วนั เกดิ 2528 5 2 อำยุ = 31 ปี 30 6 13 • จะต้องมีอำยไุ ม่ตำ่ กว่ำหรือไมเ่ กนิ กวำ่ อำยทุ ก่ี ำหนดไว้ในอตั รำเบยี ้ ประกนั ภยั ของแต่ละแบบ ข้อแนะนาเพ่อื ช่วยในการคานวณอายุ ผ้ขู อเอำประกนั ภยั เกิดระหว่ำง เม่อื คำนวณอำยไุ ด้เทำ่ ไหร่ ให้หกั ออก 1 ปี วนั ที่ 1 มกรำคม - 31 มนี ำคม และก่อนปี พ.ศ. 2484 (เน่อื งจำกก่อนปี พ.ศ. 2484 วนั ขนึ ้ ปีใหมข่ องไทย คอื วนั ท่ี 1 เมษำยน) ถ้ำหลกั ฐำนกำรเกดิ มเี ฉพำะเดือน และปีเกดิ ให้ถือวำ่ วนั ที่ 1 เป็นวนั เกดิ ของผ้เู อำประกนั ภยั ถ้ำหลกั ฐำนกำรเกดิ มีเฉพำะปีเกดิ ให้ถือวำ่ วนั ท่ี 1 มกรำคม เป็นวนั และเดอื นเกดิ ของผ้เู อำประกนั ภยั (ในกรณีทีผ่ ้ขู อเอำประกนั ภยั เกดิ ตง้ั แต่ปี พ.ศ. 2484) ให้ถือวำ่ วนั ท่ี 1 เมษำยน เป็นวนั และเดอื นเกดิ ของผ้เู อำประกนั ภยั (ในกรณีที่ผ้ขู อเอำประกนั ภยั เกดิ ก่อนปี พ.ศ. 2484) 31
2. การคานวณเบยี้ ประกนั ภยั เบยี ้ ประกนั ภยั คือจำนวนเงนิ ทีบ่ ริษัทฯ เรียกเกบ็ จำกผ้เู อำประกนั ภยั โดยคำนวณจำกอตั รำดอกเบยี ้ ประกนั ภยั อำยขุ องผู้ เอำประกนั ภยั แบบประกนั ภยั และจำนวนเงินเอำประกนั ภยั ในบำงกรณีบริษัทฯ อำจจะเรียกเก็บเบยี ้ ประกนั ภยั เพิ่มกวำ่ ปกติก็ได้ ขนึ ้ อยกู่ บั กำรพจิ ำรณำถงึ ควำมเสี่ยงภยั อน่ื เช่น สขุ ภำพ อำชีพ เป็นต้น เบยี ้ ประกนั ภยั ขนั้ ตำ่ (คิดเฉพำะเบยี ้ ประกนั ภยั หลกั เทำ่ นนั้ ) • สำหรับกำรชำระเบยี ้ ประกนั ภยั แบบรำยปี/รำย 6 เดือน ขนั้ ตำ่ 1,500 บำท • สำหรับกำรชำระเบยี ้ ประกนั ภยั แบบรำยเดือน ขนั้ ตำ่ 500 บำท และต้องนำส่งเบยี ้ ประกนั ภยั 2 งวด พร้อมหนงั สอื ยินยอมให้หกั เบยี ้ ประกนั ภยั ผำ่ นบญั ชีธนำคำร เช่น งวดละ 500 บำท ต้องนำส่งเบยี ้ ประกนั ภยั 1,000 บำท 3. การชาระเบยี้ ประกนั ภัยงวดแรก • สำมำรถชำระด้วยเงินสด เช็คสง่ั จ่ำย “บมจ. พรูเดน็ เชยี ล ประกนั ชวี ติ (ประเทศไทย)” และขดี ฆำ่ “หรือผู้ถือ” และขดี คร่อม “เข้ำบญั ชีบริษทั ฯ เท่ำนนั้ ” (A/C Payee Only) หรือบตั รเครดติ ประเภทวซี ำ่ / มำสเตอร์ สำมำรถเลือกชำระได้ 3 แบบ คือรำยปี รำย 6 เดือน และรำยเดือน หลกั เกณฑ์การคานวณเบี้ยประกนั ภยั 1. เบยี ้ ประกนั ภยั รำยปี a. นำทนุ ประกนั ภยั หำรด้วย 1,000 b. นำอตั รำเบยี ้ ประกนั ภยั ลบด้วย อตั รำส่วนลดเบยี ้ ประกนั ภยั (ถ้ำมี) c. นำ a x b และคำ่ ท่ไี ด้เป็นค่ำทไี่ มม่ ที ศนยิ ม โดยถ้ำทศนยิ มตำแหนง่ ที่ 1 ท่ีคำนวณได้น้อยกวำ่ 5 ให้ปัดทงิ ้ แตถ่ ้ำทศนิยม ตำแหน่งที่ 1 มำกกวำ่ หรือเทำ่ กบั 5 ให้ปัดขึน้ 2. เบยี ้ ประกนั ภยั รำยงวด a. นำทนุ ประกนั ภยั หำรด้วย 1,000 b. นำอตั รำเบยี ้ ประกนั ภยั ลบด้วย อตั รำส่วนลดเบยี ้ ประกนั ภยั (ถ้ำม)ี c. นำคำ่ ท่ไี ด้จำก b มำคณู ด้วยตวั คณู รำยงวด ตำมตำรำงด้ำนลำ่ ง และคำ่ ทไ่ี ด้ให้ปัดเศษทศนิยม 2 ตำแหนง่ ตำมจริง นนั่ คือ ถ้ำทศนยิ มตำแหนง่ ที่ 3 น้อยกว่ำ 5 ให้ปัดทงิ ้ แตถ่ ้ำทศนยิ มตำแหนง่ ที่ 3 ท่ีคำนวณได้มำกกว่ำหรือเทำ่ กบั 5 ให้ปัดขึน้ d. นำ a x c และคำ่ ทไี่ ด้เป็นคำ่ ทไี่ มม่ ีทศนยิ ม โดยถ้ำทศนิยมตำแหนง่ ที่ 1 ทค่ี ำนวณได้น้อยกว่ำ 5 ให้ปัดทงิ ้ แตถ่ ้ำทศนิยม ตำแหนง่ ท่ี 1 มำกกวำ่ หรือเทำ่ กบั 5 ให้ปัดขึน้ 32
งวดการชาระเบยี้ ประกนั ภยั วธิ กี ารคดิ เบีย้ ประกนั ภยั รำยปี (เงนิ เอำประกนั ภยั / 1,000) x (อตั รำเบยี ้ รำยปี - อตั รำสว่ นลด (ถ้ำมี)) รำย 6 เดอื น* (เงนิ เอำประกนั ภยั / 1,000) x [(อตั รำเบยี ้ รำยปี - อตั รำส่วนลด (ถ้ำม)ี ) x 0.52] รำยเดอื น* (เงนิ เอำประกนั ภยั / 1,000) x [(อตั รำเบยี ้ รำยปี - อตั รำส่วนลด (ถ้ำม)ี ) x 0.09] * กรณีผ้เู อำประกนั ภยั เสียชวี ิตในขณะทชี่ ำระเบยี ้ ประกนั ภยั ในรอบปี บริษทั ฯ จะหกั เบยี ้ ประกนั ภยั งวดทเ่ี หลอื ของปี กรมธรรม์นนั้ ท่ียงั มิได้ชำระออกจำกเงินคำ่ สนิ ไหมทดแทน 4. ผ้รู ับประโยชน์และความสมั พนั ธ์ ผ้รู ับประโยชน์ หมำยถงึ บคุ คลทกี่ ำหนดไว้ให้ได้ผลประโยชน์ตำมกรมธรรม์ ตวั แทนฯ จะต้องพิจำรณำวำ่ ผ้รู ับประโยชน์ที่ แตง่ ตงั ้ เป็นผ้ทู ี่มสี ่วนได้สว่ นเสียกบั ผ้ขู อเอำประกนั ภยั ในขณะขอเอำประกนั ภยั หรือไม่ ตวั อย่ำงของกำรมีส่วนได้สว่ นเสยี ความสมั พนั ธ์ การมสี ่วนได้ส่วนเสีย ก. สำมกี บั ภรรยำ • สำมียอ่ มมีสว่ นได้สว่ นเสียในชวี ติ ของภรรยำตน และไม่จำเป็นต้องแสดงหลกั ฐำนเก่ียวกบั จำนวนเงนิ เอำ ข. บดิ ำ มำรดำ และบตุ ร ประกนั ภยั ภรรยำกเ็ ช่นเดยี วกนั มสี ว่ นได้ส่วนเสยี ในชวี ติ ของสำมไี ม่วำ่ จำนวนใดๆ ค. บคุ คลสำคญั • บิดำ มำรดำ โดยควำมสมั พนั ธ์ย่อมมีส่วนได้สว่ นเสยี ในชีวติ ของบตุ รในอปุ กำระในฐำนะ ผ้ใู ห้กำเนิด และบิดำมำรดำมีสิทธิ์ และหน้ำท่ตี ำมกฎหมำยในกำรให้กำรเลยี ้ งดบู ตุ รในอปุ กำระ และบตุ รมหี น้ำที่ต้องเลยี ้ งดบู ิดำมำรดำตำมกฎหมำยเช่นกนั • บริษทั มสี ว่ นได้ส่วนเสยี ในชวี ติ ของบคุ ลำกรคนสำคญั ซงึ่ หำกเกดิ ควำมสญู เสียจะมผี ลทำให้ กจิ กำรของบริษัทนนั้ กระทบกระเทือนจำกผลกำไรลดน้อยลง ขำดทนุ หรือดำเนนิ กจิ กำรต่อไป ไม่ได้ ผ้รู ับประโยชน์ 1. ในกำรสมคั รทำประกนั ชวี ติ นนั้ ต้องมีกำรระบชุ ือ่ ผ้รู ับประโยชนท์ กุ ครัง้ (ระบุ ชื่อ-นำมสกลุ ควำมสมั พนั ธ์กบั ผ้ขู อเอำ ประกนั ภยั อำยุ และที่อย่ทู ่สี ำมำรถติดตอ่ ได้) 2. ผ้รู ับประโยชน์ต้องเป็นผ้มู สี ่วนได้สว่ นเสีย และสำมำรถพสิ จู น์ควำมสมั พนั ธ์กบั ผ้ขู อเอำประกนั ภยั ได้ 3. กรณีท่มี ผี ้รู ับประโยชน์มำกกวำ่ 1 ท่ำน และต้องกำรแบง่ ประโยชน์ในสดั ส่วนทไ่ี มเ่ ทำ่ กนั ต้องระบสุ ดั ส่วนของผ้รู ับ ประโยชน์แต่ละทำ่ น (หำกมิได้ระบไุ ว้ บริษทั ฯ จะจำ่ ยให้ในสดั สว่ นท่เี ท่ำๆ กนั ) 4. ในกรณีท่ผี ้รู ับประโยชน์มใิ ช่ บดิ ำ มำรดำ คสู่ มรส หรือบตุ ร เชน่ ลงุ ป้ำ น้ำ อำ พี่ น้อง ต่ำงนำมสกลุ กบั ผ้ขู อเอำ ประกนั ภยั กรุณำสง่ เอกสำรเพือ่ พิสจู น์ควำมสมั พนั ธ์ 33
การพจิ ารณาทางการเงนิ (Financial Underwriting Rule) Financial requirement สาหรับแบบประกนั สามญั (OL) • กำรพิจำรณำทำงกำรเงิน คอื กำรพิจำรณำเพื่อจะอนมุ ตั กิ ำรทำประกนั ในวงเงินทเ่ี หมำะสม กบั ควำมสำมำรถของผ้ขู อ เอำประกนั ภยั เพอ่ื ไมใ่ ห้เกิดกำรประกนั ที่สงู กวำ่ มลู คำ่ จริง (Over-insurance) • นอกจำกนแี ้ ล้ววงเงินประกนั ภยั ท่เี หมำะสมจะต้องประกอบด้วยเบยี ้ ประกนั ภยั ทเี่ หมำะสมด้วยเช่นกนั ซง่ึ โดยทว่ั ไปเบยี ้ ประกนั ภยั ท่เี หมำะสม คอื ไม่เกนิ 40% ของรำยได้ตอ่ ปี • หลกั ฐำนแสดงฐำนะทำงกำรเงนิ เป็นเอกสำรอกี ชนิดหนง่ึ ท่ีอำจต้องสง่ ประกอบกำรพิจำรณำ เพือ่ เป็นกำรให้รำยละเอยี ด ของทรัพย์สิน หนสี ้ ิน และรำยได้ของผ้สู มคั รให้ชดั เจนยงิ่ ขนึ ้ โดยมหี ลกั เกณฑ์ ดงั นี ้ จานวนเงนิ เอาประกันภยั หลกั ฐานแสดงสถานะทางการเงนิ (ความคุ้มครอง) 0 – 5,000,000 บำท • ตำมปกติไม่ต้องแสดง เว้นแตด่ ลุ พินิจจำกผ้พู ิจำรณำ • กรอกแบบสอบถำมเพ่มิ เตมิ ข้อมลู ผ้ซู ือ้ ประกนั ชีวิต (CDDQ) 5,000,001 – 10,000,000 บำท กรอกแบบสอบถำมเพ่มิ เตมิ ข้อมลู ผ้ซู ือ้ ประกนั ชีวิต (CDDQ) 10,000,001 บำท ขนึ ้ ไป กรณีบคุ คลธรรมดา แสดงเอกสำรแสดงรำยได้ • สำเนำบญั ชีเงินฝำกย้อนหลงั 6 เดือน • สำเนำสลิปเงนิ เดือนย้อนหลงั 3 เดือน กรณีเจ้าของกจิ การ แสดงเอกสำรแสดงรำยได้ • งบดลุ และงบกำไรขำดทนุ ย้อนหลงั 3 ปี • หนงั สอื จดทะเบยี นรับรองบริษัท • เอกสำรแสดงสดั ส่วนผ้ถู ือห้นุ • สำเนำแบบแสดงรำยงำนภำษีเงนิ ได้ ภงด. 90, 91 34
Financial requirement สาหรับแบบประกันชวี ติ ควบการลงทนุ (UL) จานวนเงนิ เอาประกันภัย หลักฐานแสดงสถานะทางการเงนิ (ความคุ้มครอง) • ตำมปกติไมต่ ้องแสดง เว้นแตด่ ลุ พินิจจำกผ้พู ิจำรณำ 0 – 10,000,000 บำท 10,000,001 - 25,000,000 บำท • กรอกแบบสอบถำมเพ่มิ เตมิ ข้อมลู ผ้ซู ือ้ ประกนั ชวี ิต (CDDQ) • สำเนำบญั ชเี งินฝำกย้อนหลงั 6 เดอื น 25,000,001 บำท ขนึ ้ ไป • กรอกแบบสอบถำมเพิม่ เตมิ ข้อมลู ผ้ซู ือ้ ประกนั ชีวิต (CDDQ) • สมดุ บญั ชเี งินฝำกย้อนหลงั 6 เดอื น • งบดลุ และงบกำไรขำดทนุ ย้อนหลงั 3 ปี • หนงั สือจดทะเบยี นรับรองบริษัท • เอกสำรแสดงสดั ส่วนผ้ถู ือห้นุ • สำเนำหลกั ฐำนกำรเสียภำษีสว่ นบคุ คล ภ.ง.ด. 90, 91 ความสามารถในการชาระเบยี้ ประกนั (Affordability) เครื่องมืออกี ตวั หนงึ่ ทช่ี ่วยให้ผ้พู จิ ำรณำสำมำรถพจิ ำรณำถงึ สถำนะทำงกำรเงนิ และควำมสำมำรถในกำรชำระเบยี ้ ประกนั ได้ นนั่ คือ Affordability ratio Affordability ratio ทใ่ี ช้อ้ำงองิ สำหรับกำรชำระเบยี ้ ประกนั ภยั ทเ่ี หมำะสม ทงั้ สำหรับแบบประกนั สำมญั (OL) และสำหรับ แบบประกนั ชีวติ ควบกำรลงทนุ (UL) คือ 1) คำนวณรำยได้ทงั้ หมดต่อปี = 30% ของสินทรัพย์ + 100% ของรำยได้ตอ่ ปี 2) คำนวณควำมสำมำรถในกำรชำระเบยี ้ ประกนั (Affordability) = (เบยี ้ ประกนั ภยั ทงั้ หมดทีต่ ้องชำระตอ่ ปีx100)/รำยได้ ทงั้ หมดต่อปี 3) ควำมสำมำรถในกำรชำระเบยี ้ (Affordability Ratio) ต้องไมเ่ กนิ 40% การรับประกันภัยแบบไม่ตรวจสุขภาพ (Non-Medical) บริษัทฯ สำมำรถรับประกนั ภยั โดยทีผ่ ้สู มคั รไมต่ ้องตรวจสขุ ภำพได้ โดยต้องตอบคำถำมทกุ ข้อในใบคำขอเอำประกนั ภยั ให้ ครบถ้วน และมเี งอื่ นไขดงั ต่อไปนี ้ 35
1) อายแุ ละความค้มุ ครองรวม บริษัทฯ สงวนสทิ ธ์ิในกำรเรียกตรวจสขุ ภำพ ในกรณีท่ผี ้สู มคั รมีประวตั สิ ขุ ภำพทส่ี ำคญั หรืออำจจบั ฉลำก (ส่มุ ตรวจ หรือ Random check) ตำรำงวงเงนิ กำรรับประกนั ภยั แบบไมต่ รวจสขุ ภำพ (Non-Medical Limit) แบบประกนั สำมญั (OL) สำหรับทกุ พนื ้ ท่ี อายุ (ปี ) วงเงนิ รวมสูงสุดแบบไม่ตรวจสุขภาพ (บาท) 1 เดือน - 5 4,000,000 6 - 16 4,000,000 17- 40 5,000,000 41 - 45 4,000,000 46 - 50 4,000,000 51 - 55 2,000,000 56 - 60 2,000,000 61 - 65 1,000,000 66 - 70 1,000,000 9 จงั หวดั * ทนุ ประกนั มำกกวำ่ 4,000,000 หมำยเหตุ Anti HIV ตำรำงวงเงินกำรรับประกนั ภยั แบบไมต่ รวจสขุ ภำพ (Non-Medical Limit) แบบประกนั ชวี ิตควบกำรลงทนุ (UL) สำหรับทกุ พนื ้ ท่ี อายุ (ปี ) วงเงนิ รวมสูงสุดแบบไม่ตรวจสุขภาพ (บาท) 1 เดือน - 16 6,000,000 17 - 40 7,000,000 41 - 50 6,000,000 51 - 60 4,000,000 61 - 70 2,000,000 36
ข้อมูลเพ่มิ เตมิ กำรคำนวณวงเงินควำมค้มุ ครองแบบไม่ตรวจสขุ ภำพเป็นผลรวมควำมค้มุ ครองของใบคำขอเอำ ประกนั ภยั และกรมธรรม์ตำมเงือ่ นไข ดงั นี ้ 1. ใบคำขอเอำประกนั ภยั ฉบบั ปัจจบุ นั 2. กรมธรรม์ทม่ี ผี ลบงั คบั ซง่ึ อนมุ ตั แิ บบไม่ตรวจสขุ ภำพภำยใน 2 ปี 3. กรมธรรม์ท่ีต่ออำยฟุ ืน้ สถำนะ และยงั มผี ลบงั คบั ซงึ่ อนมุ ตั แิ บบไม่ตรวจสขุ ภำพภำยใน 2 ปี หมำยเหตุ • ไมน่ ำควำมค้มุ ครองของกรมธรรม์ทม่ี ผี ลบงั คบั หรือตอ่ อำยฟุ ืน้ สถำนะ ซงึ่ อนมุ ตั แิ บบไมต่ รวจสขุ ภำพมำกกว่ำ 2 ปีขนึ ้ ไป มำรวมคำนวณ 2. การคานวณวงเงนิ ความค้มุ ครองแบบไม่ตรวจสุขภาพ สำหรับควำมค้มุ ครองชีวติ 1) ใบคำขอเอำประกนั ภยั ฉบบั ปัจจบุ นั 2) กรมธรรม์ท่ีมีผลบงั คบั ซง่ึ อนมุ ตั ิภำยใน 2 ปี 2.1 นบั 100% ของจำนวนเงินเอำประกนั ภยั ชว่ั ระยะเวลำ (Term Product) 2.2 นบั 50% ของจำนวนเงินเอำประกนั ภยั สญั ญำเพิ่มเตมิ ผ้ชู ำระเบยี ้ ประกนั ภยั 3) กรมธรรม์ท่ีตอ่ อำยฟุ ืน้ สถำนะภำยใน 2 ปี และยงั มผี ลบงั คบั สำหรับควำมค้มุ ครองโรคร้ำยแรง 1) ใบคำขอเอำประกนั ภยั ฉบบั ปัจจบุ นั 2) กรมธรรม์ทีย่ งั มผี ลบงั คบั 2.1 นบั 100% ของจำนวนเงนิ เอำประกนั ภยั สญั ญำเพม่ิ เตมิ โรคร้ำยแรง 2.2 นบั 100% ของจำนวนเงินเอำประกนั ภยั สญั ญำเพ่ิมเตมิ โรคร้ำยแรง (แบบ Multi CI) กำรคำนวณควำมค้มุ ครองชวี ติ รวม แยกตำมประเภทของผลติ ภณั ฑ์ คอื กรมธรรมเ์ ดิม (ไม่เกนิ 2 ปี) + จำนวนเงินเอำประกนั ภยั สมคั รใหม่ • กรมธรรม์เดิม (Life + CI + Term product + ½ PB ) • จำนวนเงินเอำประกนั ภยั สมคั รใหม่ (Life + ½ PB ) 37
กำรคำนวณควำมค้มุ ครองสญั ญำเพิม่ เตมิ โรคร้ำยแรงรวม นบั รวมทกุ ประเภทของผลติ ภณั ฑ์ คอื กรมธรรมเ์ ดิม + จำนวนเงินเอำประกนั ภยั สมคั รใหม่ • กรมธรรม์เดิม (CI + Multi CI) • จำนวนเงินเอำประกนั ภยั สมคั รใหม่ (Multi CI) 3. นา้ หนกั และส่วนสูง ส่วนสงู (เซนตเิ มตร) นา้ หนกั (กิโลกรัม) ไมเ่ กิน 144 ตรวจสขุ ภำพ 145-150 40-70 151-160 45-75 161-170 50-85 171-180 60-95 181-190 65-105 เกิน 190 ตรวจสขุ ภำพ หมายเหตุ • ผ้สู มคั รท่มี ีนำ้ หนกั และส่วนสงู ภำยในตำรำงข้ำงต้นนี ้สำมำรถสง่ ใบคำขอเอำประกนั ภยั แบบไมต่ รวจสขุ ภำพได้ • บริษัทฯ อำจเพมิ่ เบยี ้ ประกนั ภยั ในบำงรำยทม่ี นี ำ้ หนกั สงู กวำ่ มำตรฐำน แตอ่ ยใู่ นตำรำงข้ำงต้นนโี ้ ดยไมต่ รวจสขุ ภำพ • บริษทั ฯ สงวนสทิ ธ์ิท่จี ะให้มีกำรตรวจสขุ ภำพผ้ขู อเอำประกนั ภยั ได้ หลกั เกณฑ์การตรวจสุขภาพ อำยุ และควำมค้มุ ครอง หลกั เกณฑ์นใี ้ ช้กบั ควำมค้มุ ครองของผ้เู อำประกนั ภยั คนเดยี วกนั ทีม่ ีผลบงั คบั อยกู่ บั บริษทั ฯ รวม กบั ควำมค้มุ ครองของใบสมคั รใหม่ 38
ตารางวงเงนิ ตรวจสุขภาพ (Medical Table Limit)แบบประกนั สามัญ (OL) NML 4 MB NML 5 MB NML 4MB NML 2 MB NML 1 MB 51-60 61-70 SA (THB) / 0-16 17-40 41-50 AGE MED+MU+HIV MED < = 1,000,000 MED+MU+HIV+FBB +ECG+API 1,000,001 - 2,000,000 MED+MU+HIV+FBB + EST+API 2,000,001 - 3,000,000 3,000,001 - 4,000,000 4,000,001 - HIV test for 9 5,000,000 province 5,000,001 - MED 6,000,000 6,000,001 - 7,000,000 7,000,001 - MED+MU+HIV+FBA MED+MU+HIV+ 8,000,000 FBB 8,000,001 - MED+MU 10,000,000 10,000,001 - 15,000,000 15,000,001 - 20,000,000 20,000,001 - IC 25,000,000 >25,000,001 39
ตารางวงเงนิ ตรวจสุขภาพ (Medical Table Limit) แบบประกนั ชีวติ ควบการลงทนุ (UL) SA (THB) / NML 6 MB NML 7 MB NML 6 MB NML 4 MB NML 2 MB AGE 0-16 17-40 41-50 51-60 61-70 < = 1,000,000 MED MED+MU+ MED MED+MU HIV+FBA 1,000,001 - MED+MU+HIV 2,000,000 IC 2,000,001 - MED+MU+ MED+MU+HIV+ 3,000,000 HIV+FBB FBB+ECG+APS 3,000,001 - 4,000,000 MED+MU+HIV+FBB 4,000,001 - + 5,000,000 5,000,001 - ExECG+APS 6,000,000 6,000,001 - 7,000,000 7,000,001 - 8,000,000 8,000,001 - 10,000,000 10,000,001 - 15,000,000 15,000,001 - 20,000,000 20,000,001 - 25,000,000 >25,000,001 40
ตารางวงเงนิ ตรวจสุขภาพสญั ญาเพ่มิ เตมิ โรคร้ายแรง (Muti CI) SA (THB) / NML 3 MB NML 4 MB NML 3 MB NML 2 MB NO AGE 0-16 17-45 46-55 56-60 61-65 ≤ 1,000,000 Med+MU Med+MU Refer to UW NML 1,000,001 - 2,000,000 Med+MU+ECG 2,000,001 - 3,000,000 Med+MU+ Med+MU MED+MU+HIV+ HIV FBB+ECG 3,000,001 - Med+MU+ECG+HIV 4,000,000 MED+MU+ MED+MU+HIV+ HIV+FBB MED+MU+HIV+ FBB+ExECG 4,000,001 - FBB+ECG 5,000,000 5,000,001 - MED+MU+ MED+MU+HIV+ MED+MU+HIV+CXR+FBB+ExECG 7,000,000 HIV+ FBB+ExECG 7,000,001 - 8,000,000 FBB+ECG 8,000,001 - 10,000,000 10,000,001 - 15,000,000 คาอธิบาย ตรวจสขุ ภำพโดยแพทย์แต่งตงั ้ MED ตรวจปัสสำวะสมบรู ณ์แบบ MU กำรตรวจ Anti-HIV HIV เอ็กซเรย์ปอด CXR ตรวจคลืน่ ไฟฟ้ำหวั ใจขณะพกั (Resting ECG) ECG ตรวจคลืน่ ไฟฟำ้ หวั ใจขณะออกกำลงั กำย (Exercise Stress Test) EST กำรตรวจเลือดประกอบด้วย FBS, Uric Acid, BUN, Creatinine, CBC, Total Cholesterol, FBA Triglyceride, HDL-C, HbsAg, SGOT, SGPT, GGT(ให้ผ้สู มคั รงดอำหำรและเคร่ืองด่ืมหลงั เทยี่ งคนื เจำะเลือดชว่ งเช้ำ) 41
FBB ตรวจเลือดประกอบด้วย FBS, HbA1C, Uric Acid, BUN, Creatinine, CBC, Total Cholesterol, Triglyceride, HDL-C, HbsAg, SGOT, SGPT, GGT, CEA, PSA (ให้ผ้สู มคั รงดอำหำรและเคร่ืองดื่ม หลงั เท่ยี งคนื เจำะเลอื ดช่วงเช้ำ) API ประวตั ิสขุ ภำพจำกแพทย์ผ้ตู รวจรักษำ IC Individual Consideration (Refer to Munich Re) แพทย์แตง่ ตงั ้ หมำยถงึ แพทย์ท่ไี ด้รับกำรแตง่ ตงั ้ จำกบริษัทประกนั ชีวิต ให้สำมำรถตรวจสขุ ภำพผ้สู มคั รได้ ซง่ึ อำจไมใ่ ช่ แพทย์ท่ีวนิ จิ ฉยั โรคตำ่ งๆ ทว่ั ไป กฎเกณฑ์การตรวจ Anti-HIV ผ้ขู อเอำประกนั ภยั ท่มี อี ำยุ 16 ปีขนึ ้ ไป หรือผ้ชู ำระเบยี ้ ประกนั ภยั (ในกรณีขอเอำประกนั ภยั เป็นผ้เู ยำว์) ทกุ รำย ในกรณี ตอ่ ไปนี ้ • ผ้เู อำประกนั มภี มู ิลำเนำหรือทำงำนใน 9 จงั หวดั ได้แก่ เชยี งใหม่ เชียงรำย ลำปำง แพร่ น่ำน ลำพนู พะเยำ แมฮ่ ่องสอน และระยอง ควำมค้มุ ครองรวมมำกกวำ่ 4,000,000 บำท (สำหรบั แบบประกนั สำมญั ) • ผ้เู อำประกนั ทม่ี ีภมู ิลำเนำหรือทำงำนในจงั หวดั อน่ื ตรวจตำมตำรำงวงเงนิ เอำประกนั ภยั • พระภิกษุท่ีบวชน้อยกวำ่ 1 ปี • ผ้ขู อเอำประกนั ภยั ทม่ี ีสถำนภำพ หยำ่ หรือหม้ำย ทงั้ นี ้บริษัทฯ ขอสงวนสทิ ธิ์เรียกตรวจ Anti-HIV ในบำงรำยขนึ ้ อย่กู บั ดลุ ยพินิจจำกผ้พู ิจำรณำ • รำยงำนผลกำรตรวจ Anti-HIV ทต่ี รวจไมเ่ กนิ 3 เดอื นกอ่ นขอเอำประกนั ภยั สำมำรถนำมำใช้เป็นหลกั ฐำนประกอบกำร พจิ ำรณำได้ และบริษัทฯ ขอสงวนสทิ ธิ์ในกำรพจิ ำรณำเรียกตรวจใหมไ่ ด้ (ไมร่ ับผล Lab ทตี่ รวจตำมคลินิก) • ตรวจโดยใช้วิธีกำรแปลผลเลือดจำกโรงพยำบำล • ผ้ขู อเอำประกนั ภยั จะต้องลงนำมในหนงั สือให้ควำมยนิ ยอมกำรตรวจเลอื ด Anti-HIV แนบพร้อมแนบ ข้อจากัดในการรับประกันภยั ของบคุ คลพิเศษบางประเภท 1. กลมุ่ คนพิเศษท่ีต้องมกี ำรตรวจสขุ ภำพตำมแบบฟอร์มของบริษทั ฯ “ทกุ รำย” ในกรณีต่อไปนี ้ 1.1 อำยุ และควำมค้มุ ครองรวมเกินกว่ำตำรำงกำรขอเอำประกนั ภยั แบบไม่ตรวจสขุ ภำพ 1.2 สตรีมคี รรภ์ (ไมเ่ กนิ 7 เดอื น หำกเกิน 7 เดอื นบริษทั ฯ ยงั ไมร่ ับประกนั ภยั ) 1.3 พระภิกษุ (บวชน้อยกว่ำ หรือเทำ่ กบั 1 ปี) และตรวจ Anti-HIV 1.4 เขียนหนงั สือไม่ได้ อ่ำนไม่ออก 1.5 มปี ระวตั สิ ขุ ภำพ หรือโรคประจำตวั 1.6 นำ้ หนกั และส่วนสงู เกนิ กวำ่ เกณฑ์กำหนด 42
2. หลกั เกณฑ์กำรรับประกนั ภยั สตรีมคี รรภ์, แม่บ้ำน/พ่อบ้ำน, เยำวชน (อำยตุ ่ำกวำ่ 17 ปี), นกั เรียน/นกั ศกึ ษำ (อำยุ 17 ปี ขนึ ้ ไป) และพระภิกษุ 2.1 สตรีมคี รรภ์จะต้องมีสำเนำฝำกครรภ์ (ANC) ทกุ รำย หมำยเหตุ หำกมคี รรภ์เกินกว่ำ 7 เดอื น หรือหลงั คลอด ไมเ่ กนิ 1 เดือน บริษทั ฯ ขอสงวนสิทธิ์ในกำรพจิ ำรณำรับประกนั ภยั 2.2 ข้อกำหนดเพ่ิมเติม กรณีพระภิกษุบวชน้อยกว่ำ 1 ปี ตรวจสขุ ภำพตำมแบบฟอร์มของบริษัทฯ และตรวจ Anti-HIV 2.3 แม่บ้ำน/พอ่ บ้ำน/พระภกิ ษุ รายละเอียด แม่บ้าน/พ่อบ้าน พระภกิ ษุ วงเงนิ ประกนั ภยั หลกั พิจำรณำตำมหลักฐำนทำงกำรเงิน แต่สงู สดุ ไม่ พิจำรณำตำมหลักฐำนทำงกำรเงิน สูงสุดไม่ เกนิ 25 ล้ำนบำท เกนิ 25 ล้ำนบำท SCPA+ADD+ADB รวมกนั สงู สดุ ไมเ่ กนิ 3 เท่ำของทนุ ประกนั ภยั หลกั รวมกนั สงู สดุ ไมเ่ กิน 3 เท่ำของ และไม่เกิน 13 ล้ำนบำท ทนุ ประกนั ภยั หลกั และสงู สดุ ไมเ่ กนิ 2 ล้ำนบำท อบุ ตั เิ หตุ 1 (SCPA) ไมเ่ กิน 3 เทำ่ ของทนุ ประกนั ภยั หลกั ไมอ่ นมุ ตั ิ และสงู สดุ ไม่เกิน 3 ล้ำนบำท อบุ ตั ิเหตุ 2 (ADD) ไมเ่ กิน 3 เทำ่ ของทนุ ประกนั ภยั หลกั ไม่เกิน 3 เทำ่ ของทนุ ประกนั ภยั หลกั และสงู สดุ ไม่เกนิ 5 ล้ำนบำท และสงู สดุ ไมเ่ กนิ 1 ล้ำนบำท อบุ ตั ิเหตุ 3 (ADB) ไม่เกนิ 3 เทำ่ ของทนุ ประกนั ภยั หลกั ไมเ่ กิน 3 เทำ่ ของทนุ ประกนั ภยั หลกั และสงู สดุ ไม่เกนิ 5 ล้ำนบำท และสงู สดุ ไม่เกิน 1 ล้ำนบำท ภยั จลำจล และฆำตกรรม ซือ้ ได้เทำ่ ทนุ ของ SCPA, ADD, ADB ซือ้ ได้เทำ่ ทนุ ของ ADD, ADB (RCC) และสงู สดุ ไมเ่ กนิ 5 ล้ำนบำท และไมเ่ กิน 2 ล้ำนบำท ค่ำชดเชยรำยวนั (HI) ไมเ่ กิน 2,000 บำท ไมเ่ กนิ 2,000 บำท คำ่ ชดเชยรำยวนั พเิ ศษ (HP) ไม่เกิน 2,000 บำท ไมเ่ กิน 2,000 บำท ค่ำรักษำพยำบำล (HS) สงู สดุ ไม่เกนิ HS แผน 4,000 สงู สดุ ไม่เกนิ HS แผน 3,000 สขุ ภำพระยะยำว (HM) ไมเ่ กิน 2,000 บำท ไมเ่ กิน 2,000 บำท สงู สดุ ไม่เกิน 7,000 ค่ำรักษำพยำบำล สงู สดุ ไมเ่ กิน 7,000 (HS3/HS4) 43
ค่ำรักษำพยำบำล (HA) สงู สดุ ไมเ่ กนิ 15,000 สงู สดุ ไม่เกิน 15,000 คำ่ รักษำพยำบำล สงู สดุ ไมเ่ กนิ 20,000 สงู สดุ ไม่เกิน 20,000 (HAW/HAW2) CI: ไม่เกนิ 3 เท่ำของทนุ ประกนั ภยั หลกั โรคร้ำยแรง CI/CM CI: ไมเ่ กนิ 3 เท่ำของทนุ ประกนั ภยั หลกั และสงู สดุ ไมเ่ กนิ 1 ล้ำนบำท และสงู สดุ ไมเ่ กิน 5 ล้ำนบำท CM: ไม่เกนิ 5 เทำ่ ของทนุ ประกนั ภยั หลกั CM: ไม่เกิน 5 เทำ่ ของทนุ ประกนั ภยั หลกั และสงู สดุ ไมเ่ กิน 5 ล้ำนบำท และสงู สดุ ไม่เกนิ 5 ล้ำนบำท ซือ้ ได้เทำ่ ของทนุ ประกนั ภยั หลกั และสงู สดุ ไม่เกิน 1 ล้ำนบำท ยกเว้นเบยี ้ ฯ เนือ่ งจำกโรค ซือ้ ได้เทำ่ ทนุ ประกนั ภยั หลกั ซือ้ ได้เทำ่ ของทนุ ประกนั ภยั หลกั ร้ำยแรง (OI) และสงู สดุ ไม่เกิน 5 ล้ำนบำท และสงู สดุ ไม่เกิน 1 ล้ำนบำท ทพุ พลภำพถำวรสนิ ้ เชงิ 2 ซือ้ ได้ตำมเกณฑ์ วงเงินหลกั สงู สดุ 5 ล้ำนบำท ซือ้ ได้เท่ำของทนุ ประกนั ภยั หลกั (DI) และสงู สดุ ไมเ่ กนิ 1 ล้ำนบำท ยกเว้นเบยี ้ ฯ เนอ่ื งจำก ซือ้ ได้เทำ่ ทนุ ประกนั ภยั หลกั ทพุ พลภำพถำวรสนิ ้ เชงิ 2 และสงู สดุ ไมเ่ กนิ 10 ล้ำนบำท (OD 2) 2.4 เยำวชน (อำยุ 1 เดอื น - 16 ปี) และนกั เรียน/นกั ศกึ ษำ (อำยุ 17 ปีขนี ้ ไป) รายละเอียด เยาวชน (อายุ 1 เดอื น – 16 ปี ) นักเรียน/นักศกึ ษา วงเงินประกนั ภยั หลกั SCPA+ADD+ADB อายุ 17 ปี ขึน้ ไป 1 เดอื น – 5 ปี : สงู สดุ 10 ล้ำนบำท พจิ ำรณำตำมหลกั ฐำนทำงกำรเงนิ 6 – 16 ปี : สงู สดุ 20 ล้ำนบำท : และไมเ่ กนิ วงเกินของบดิ ำ/มำรดำ : และไมเ่ กินวงเกนิ ของบดิ ำ/มำรดำ : ถ้ำมีพี่น้องหลำยคน จะต้องทำในวงเงินเท่ำๆ : ถ้ำมีพ่ีน้องหลำยคน จะต้องทำในวงเงินเท่ำๆ กนั กนั รวมกนั สงู สดุ ไมเ่ กนิ 3 เทำ่ ของทนุ ประกนั ภยั หลกั รวมกนั สงู สดุ ไมเ่ กนิ 3 เทำ่ ของ และไม่เกิน 1 ล้ำนบำท ทนุ ประกนั ภยั หลกั และสงู สดุ ไมเ่ กนิ 5 ล้ำนบำท อบุ ตั เิ หตุ 1 (SCPA) ไมอ่ นมุ ตั ิ ไม่อนมุ ตั ิ อบุ ตั เิ หตุ 2 (ADD) ไม่เกนิ 3 เทำ่ ของทนุ ประกนั ภยั หลกั ไม่เกนิ 3 เทำ่ ของทนุ ประกนั ภยั หลกั และสงู สดุ ไมเ่ กิน 1 ล้ำนบำท และสงู สดุ ไมเ่ กนิ 5 ล้ำนบำท 44
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147