Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Science

Science

Published by oven, 2020-02-26 00:38:23

Description: สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

Search

Read the Text Version

ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๔. ทดลองและอธิบายการหกั เห - เม่ือแสงเคลื่อนที่ผ่านตวั กลางที่ต่างชนิดกัน ของแสงเม่ือผา่ นตวั กลาง ทิศทางการเคลื่อนท่ีของแสงเปล่ียน เรียกการ โปร่งใสสองชนิด หกั เหของแสง ๕. ทดลองและอธิบายการเปลี่ยน - เซลล์สุริยะเป็ นอุปกรณ์ท่ีเปลี่ยนพลงั งาน แสงเป็นพลงั งานไฟฟ้าและนา แสงเป็ นพลังงานไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้า ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ หลายชนิดมีเซลล์สุริยะเป็ นส่วนประกอบ เช่น เครื่องคิดเลข ๖. ทดลองและอธิบายแสงขาว - แสงขาวผ่านปริซึมจะเกิดการกระจายของ ประกอบดว้ ยแสงสีต่าง ๆ และ แสงเป็ นแสงสี ต่าง ๆ นาไปใช้อธิบาย นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ปรากฏการณ์ธรรมชาติ เช่น การเกิดสีรุ้ง ป.๕ ๑. ทดลองและอธิบายการเกิดเสียง - เสียงเกิดจากการส่ันของแหล่งกาเนิดเสียง และการเคล่ือนท่ีของเสียง และเสียงเคล่ือนท่ีจากแหล่งกาเนิดเสียงทุก ทิศทางโดยอาศยั ตวั กลาง ๒. ทดลองและอธิบายการเกิดเสียง - แหล่งกาเนิดเสียงส่ันดว้ ยความถ่ีต่าจะเกิด สูง เสียงต่า เสียงต่า แต่ถา้ สั่นดว้ ยความถ่ีสูงจะเกิดเสียง สูง ๓. ทดลองและอธิบายเสียงดงั - แหล่งกาเนิดเสียงสั่นด้วยพลงั งานมากจะ เสียงค่อย ทาให้เกิดเสียงดงั แต่ถา้ แหล่งกาเนิดเสียง สน่ั ดว้ ยพลงั งานนอ้ ยจะเกิดเสียงค่อย ๔. สารวจและอภิปรายอนั ตรายที่ - เสียงดงั มาก ๆ จะเป็ นอนั ตรายต่อการไดย้ ิน เกิดข้ึนเมื่อฟังเสียงดงั มาก ๆ และเสียงท่ีก่อให้เกิดความราคาญ เรียกว่า มลพิษทางเสียง ป.๖ ๑. ทดลองและอธิบายการต่อ - ว งจ รไ ฟ ฟ้ าอ ย่างง่ าย ป ร ะ ก อ บ ด้ว ย วงจรไฟฟ้าอยา่ งง่าย แหล่งกาเนิดไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้า ๒. ทดลองและอธิบายตวั นาไฟฟ้า - วสั ดุที่กระแสไฟฟ้าผา่ นไดเ้ ป็นตวั นาไฟฟ้า และฉนวนไฟฟ้า ถา้ กระแสไฟฟ้าผา่ นไม่ไดเ้ ป็นฉนวนไฟฟ้า ๓. ทดลองและอธิบายการต่อ - เซลล์ไฟฟ้าหลายเซลล์ต่อเรียงกัน โดย เซลลไ์ ฟฟ้าแบบอนุกรม และ ข้วั บวกของเซลลไ์ ฟฟ้าเซลล์หน่ึงต่อกบั ข้วั นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ลบของอีกเซลล์หน่ึ งเป็ นการต่อแบบ อนุกรม ทาให้มีกระแสไฟฟ้าผ่านอุปกรณ์ ไฟฟ้าในวงจรเพม่ิ ข้ึน

ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง - การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรมสามารถ นาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวนั เช่น การตอ่ เซลลไ์ ฟฟ้าในไฟฉาย ๔. ทดลองและอธิบายการต่อ - การต่อหลอดไฟฟ้ าแบบอนุ กรม จะมี หลอดไฟฟ้าท้งั แบบอนุกรม กระแสไฟฟ้ าปริ มาณเดี ยวกันผ่านหลอด แบบขนาน และนาความรู้ไป ไฟฟ้าแตล่ ะหลอด ใชป้ ระโยชน์ - การต่อหลอดไฟฟ้าแบบขนาน กระแสไฟฟ้าจะแยกผา่ นหลอดไฟฟ้าแตล่ ะ หลอด สามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ เช่น การต่อหลอดไฟฟ้าหลายดวงในบา้ น ๕. ทดลองและอธิบายการเกิด - สายไฟท่ีมีกระแสไฟฟ้าผา่ นจะเกิดสนามแม่เหลก็ สนามแมเ่ หลก็ รอบสายไฟที่มี รอบสายไฟ สามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ กระแสไฟฟ้าผา่ น และนา เช่น การทาแม่เหลก็ ไฟฟ้า ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ม. ๑ ๑. ทดลองและอธิบายอุณหภูมิและ - การวดั อุณหภูมิเป็นการวดั ระดบั ความร้อน การวดั อุณหภูมิ ของสารสามารถวดั ดว้ ยเทอร์มอมิเตอร์ ๒. สังเกตและอธิบายการถ่ายโอน - การถ่ายโอนความร้อนมีสามวิธี คือ การนา ความร้อน และนาความรู้ไปใช้ ความร้อน การพาความร้อนและการแผร่ ังสี ประโยชน์ ความร้อน - การนาความร้อน เป็ นการถ่ายโอนความ ร้อนโดยการสนั่ ของโมเลกลุ - การพาความร้อน เป็ นการถ่ายโอนความ ร้อนโดยโมเลกลุ ของสารเคลื่อนที่ไปดว้ ย - การแผ่รังสี ความร้อน เป็ นการถ่ายโอน ความร้อนจากคล่ืนแมเ่ หล็กไฟฟ้า - การนาความรู้เรื่องการถ่ายโอนความร้อนไป ใชป้ ระโยชน์ ๓. อธิบายการดูดกลืน การคาย - วตั ถุที่แตกต่างกันมีสมบัติในการดูดกลืน ความร้อน โดยการแผร่ ังสี และ ความร้อนและคายความร้อนไดต้ า่ งกนั นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ - การนาความรู้เรื่องการดูดกลืนความร้อน และการคายความร้อนไปใชป้ ระโยชน์

ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๔. อธิบายสมดุลความร้อนและผล - เมื่อวตั ถุสองสิ่งอยู่ในสมดุลความร้อน วตั ถุ ของความร้อนต่อการขยายตวั ท้งั สองมีอุณหภูมิเท่ากนั ของสาร และนาความรู้ไปใช้ - การขยายตวั ของวตั ถุเป็นผลจากความร้อนท่ี ในชีวติ ประจาวนั วตั ถุไดร้ ับเพ่ิมข้ึน - การนาความรู้เร่ืองการขยายตวั ของวตั ถุเม่ือ ไดร้ ับความร้อนไปใชป้ ระโยชน์ ม.๒ ๑. ทดลองและอธิบายการสะทอ้ น - เม่ือแสงตกกระทบผิววตั ถุหรือตวั กลางอีก ของแสง การหักเหของแสง ตัวกลางหน่ึง แสงจะเปล่ียนทิศทางการ และนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ เคลื่อนที่โดยการสะทอ้ นของแสง หรือการ หกั เหของแสง - การนาความรู้เก่ียวกบั การสะทอ้ นของแสง และการหักเหของแสงไปใช้อธิบายแวน่ ตา ทศั นอุปกรณ์ กระจก เส้นใยนาแสง ๒. อธิบายผลของความสวา่ งที่มีต่อ - นัยน์ตาของคนเราเป็ นอวยั วะใช้มองดูสิ่ง มนุษยแ์ ละส่ิงมีชีวติ อื่น ๆ ต่างๆ นยั น์ตามีองคป์ ระกอบสาคญั หลายอยา่ ง - ความสว่างมีผลต่อนัยน์ตามนุษย์ จึงมีการ นาความรู้เก่ียวกบั ความสวา่ งมาช่วยในการ จดั ความสวา่ งใหเ้ หมาะสมกบั การทางาน - ออกแบบวิธีการตรวจสอบว่าความสว่างมี ผลต่อสิ่งมีชีวติ อื่น ๓. ทดลองและอธิบายการดูดกลืน - เมื่อแสงตกกระทบวตั ถุ วตั ถุจะดูดกลืนแสง แสงสี การมองเห็นสีของวตั ถุ สีบางสีไว้ และสะทอ้ นแสงสีที่เหลือออกมา และนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ทาใหเ้ รามองเห็นวตั ถุเป็นสีต่าง ๆ - การนาความรู้เก่ียวกบั การดูดกลืนแสงสีการ มองเห็นสีของวตั ถุไปใชป้ ระโยชน์ในการ ถ่ายรูปและในการแสดง ม.๓ ๑. อธิบายงาน พลงั งานจลน์ พลงั งาน - การใหง้ านแก่วตั ถุเป็ นการถ่ายโอนพลงั งาน ศกั ย์โน้มถ่วง กฎการอนุรักษ์ ให้วัตถุ พลังงานน้ี เป็ นพลังงานกลซ่ึ ง พลังงาน และความสัมพันธ์ ประกอบดว้ ยพลงั งานศกั ยแ์ ละพลงั งานจลน์ ระหวา่ งปริมาณเหล่าน้ี รวมท้งั พลงั งานจลน์เป็ นพลงั งานของวตั ถุขณะวตั ถุ

ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๔-ม.๖ นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ เคลื่อนท่ี ส่วนพลงั งานศกั ยโ์ นม้ ถ่วงของวตั ถุ เป็นพลงั งานของวตั ถุท่ีอยสู่ ูงจากพ้ืนโลก ๒. ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ - กฎการอนุรักษพ์ ลงั งานกล่าววา่ พลงั งานรวม ระหว่างความต่างศักย์ กระแสไฟฟ้า ของวตั ถุไม่สูญหาย แต่สามารถเปล่ียนจาก ความตา้ นทาน และนาความรู้ไป รู ปหน่ึงไปเป็ นอีกรู ปหน่ึงได้ ใชป้ ระโยชน์ - การนากฎการอนุรักษ์พลงั งานไปใช้ประโยชน์ ในการอธิบายปรากฏการณ์ เช่น พลังงานน้ า ๓. คานวณ พลังงานไฟฟ้ าของ เหนือเข่ือนเปลี่ยนรูปจากพลงั งานศกั ยโ์ น้มถ่วง เครื่องใช้ไฟฟ้า และนาความรู้ เป็นพลงั งานจลน์, ป้ันจน่ั ตอกเสาเขม็ ไปใชป้ ระโยชน์ - ความต่างศกั ย์ กระแสไฟฟ้าและความตา้ นทาน มีความสมั พนั ธ์กนั ตามกฎของโอห์ม ๔. สังเกตและอภิป รายการต่อ - การนากฎของโอห์มไปใชว้ เิ คราะห์วงจรไฟฟ้า วงจรไฟฟ้าในบา้ นอยา่ งถูกตอ้ ง อยา่ งง่าย ปลอดภยั และประหยดั - การคานวณพลังงานไฟฟ้าของเคร่ืองใช้ไฟฟ้า ๕. อธิ บายตัวต้านทาน ไดโอด เป็ นส่วนหน่ึงของการคิดค่าไฟฟ้าและเป็ น ทรานซิสเตอร์ และทดลองต่อ แนวทางในการประหยดั พลงั งานไฟฟ้าในบา้ น วงจรอิเลก็ ทรอนิกส์เบ้ืองตน้ ท่ีมี ทรานซิสเตอร์ - การตอ่ วงจรไฟฟ้าในบา้ นตอ้ งออกแบบวงจรติดต้งั เครื่องใช้ไฟฟ้าอุปกรณ์ไฟฟ้าอย่างถูกตอ้ งโดย ๑. ทดลองและอธิบายสมบตั ิของคลื่นกล การต่อสวิตช์แบบอนุกรม ต่อเต้ารับแบบขนาน และอธิบายความสัมพนั ธ์ระหว่าง และเพ่ือความปลอดภยั ตอ้ งต่อสายดินและฟิ วส์ รวมท้งั ตอ้ งคานึงถึงการใชไ้ ฟฟ้าอยา่ งประหยดั - ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ เช่นตวั ตา้ นทานไดโอด ทรานซิ สเตอร์ มี สมบัติ ทางไฟฟ้ าแตกต่ างกัน ตวั ต้านทานทาหน้าท่ีจากัดกระแสไฟฟ้าในวงจร ไดโอดมีสมบตั ิให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้ทิศทาง เดียวและทรานซิสเตอร์ทาหน้าท่ีเป็ นสวิตซ์ปิ ด- เปิ ดวงจร - การประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส์เบ้ืองต้นที่มี ทรานซิสเตอร์ ๑ตวั ทาหนา้ ท่ีเป็นสวติ ซ์ - คลื่นกลมีสมบตั ิ การสะทอ้ นการหกั เหการแทรก สอด และการเล้ ียวเบน

ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง อตั ราเร็ว ความถ่ีและความยาวคลื่น - อตั ราเร็วความถี่และความยาวคลื่นมี ความสมั พนั ธ์กนั ดงั น้ี อตั ราเร็ว = ความถ่ี  ความยาวคล่ืน ๒. อธิบายการเกิดคล่ืนเสียงบีตส์ - คล่ืนเสียงเกิดจากการสั่นของแหล่งกาเนิด ของเสี ยง ความเข้มเสี ยง เสียง ระดบั ความเขม้ เสียง การไดย้ ิน - บี ตส์ ของเสี ยงเกิดจากคลื่น เสี ยงจาก เสี ยง คุ ณ ภาพเสี ยง และน า แหล่งกาเนิดสองแหล่งที่มีความถี่ต่างกนั ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ เล็กน้อย มารวมกัน ทาให้ได้ยินเสียงดัง คอ่ ยเป็นจงั หวะ - ความเข้มเสียง คือ พลังงานเสียงที่ตกต้ัง ฉากบนหน่ึงหน่วยพ้ืนท่ีในหน่ึงหน่วยเวลา - ระดับความเข้มเสียงจะบอกความดังค่อย ของเสียงท่ีไดย้ นิ - เคร่ื องดน ตรี แต่ล ะชนิ ดที่ ใช้ตัวโน้ต เดี ยวกัน จะให้รู ปคลื่ นท่ี แตกต่างกัน เรียกวา่ มีคุณภาพเสียงต่างกนั ๓. อภิปรายผลการสืบค้นข้อมูล - มลพิษทางเสียงมีผลต่อสุขภาพของมนุษย์ เก่ียวกบั มลพิษทางเสียงที่มีต่อ ถา้ ฟังเสียงที่มีระดบั ความเขม้ เสียงสูงกว่า สุ ขภาพของมนุ ษย์ และการ มาตรฐานเป็ นเวลานาน อาจก่อให้เกิด เสนอวธิ ีป้องกนั อนั ตรายต่อการได้ยินและสภาพจิตใจได้ การป้องกนั โดยการหลีกเลี่ยงหรือใชเ้ คร่ือง ครอบหู ห รื อลดการส่ัน ของแหล่ งกาเนิ ด เสียง เช่น เคร่ืองจกั ร ๔. อธิ บายคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า - คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าประกอบด้วยสนามแม่เหล็ก สเปกตรัมคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า และสนามไฟฟ้าที่เปล่ียนแปลงตลอดเวลา และนาเส นอผลการสื บค้น สเปกตรัมคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้ามีความถี่ ข้อมูลเกี่ยวกับประโยชน์ และ ต่อเน่ืองกัน โดยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าช่วง การป้องกันอันตรายจากคล่ืน ความถ่ีต่างๆ มีลักษณ ะเฉพาะตัว ซ่ึ ง แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า สามารถนาไปใช้ประโยชน์ไดแ้ ตกต่างกนั เช่น การรับส่งวิทยุ โทรทศั น์ การป้องกนั อนั ตรายจากคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า เช่น ไม่อยู่

ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ใกลเ้ ตาไมโครเวฟขณะเตาทางาน ๕. อธิบายปฏิกิริยานิวเคลียร์ ฟิ ช - ปฏิกิริยานิวเคลียร์เป็ นปฏิกิริยาท่ีทาให้ ชัน ฟิ วชัน และความสัมพนั ธ์ นิวเคลียสเกิดการเปล่ียนแปลง ปฏิกิริยาท่ี ระหวา่ งมวลกบั พลงั งาน นิวเคลียสของธาตุท่ีมีเลขมวลมากแตกตวั เรี ยกว่า ฟิ ชชัน ปฏิกิริ ยาท่ีเกิดจากการ หลอมรวมนิวเคลียสของธาตุที่มีเลขมวล นอ้ ย เรียกวา่ ฟิ วชนั ความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง มวลและพลังงานเป็ นไปตามสมการ E  mc2 ๖. สืบคน้ ขอ้ มูลเก่ียวกบั พลงั งานท่ี - ปฏิกิริยานิวเคลียร์ทาให้เกิดผลกระทบต่อ ได้จากปฏิกิริยานิวเคลียร์และ ส่ิงมีชีวติ และสิ่งแวดลอ้ ม ผ ล ต่ อ สิ่ ง มี ชี วิ ต แ ล ะ ส่ิงแวดลอ้ ม ๗. อภิปรายผลการสืบค้นข้อมูล - โรงไฟฟ้านิวเคลียร์เป็ นโรงไฟฟ้าพลงั งาน เก่ียวกับโรงไฟฟ้ านิ วเคลียร์ ความร้อนประเภทหน่ึง ซ่ึงได้พลังงาน และนาไปใชป้ ระโยชน์ ความร้อนจากพลงั งานนิวเคลียร์ ๘. อธิบายชนิดและสมบตั ิของรังสี - รังสี จากธาตุกัมมันตรังสี มี ๓ ชนิด คือ จากธาตุกมั มนั ตรังสี แอลฟา บีตาและแกมมา ซ่ึงมีอานาจทะลุ ผา่ นต่างกนั ๙. อธิบายการเกิดกมั มนั ตภาพรังสี - กัมมันตภาพรังสี เกิ ดจากการสลายของ และบอกวิธีการตรวจสอบรังสี ไอโซโทปของธาตุท่ี ไม่เสถียร สามารถ ใ น สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ก า ร ใ ช้ ตรวจจับได้โดยเครื่ องตรวจวัดรังสี ใน ป ระ โ ย ช น์ ผ ล ก ระ ท บ ต่ อ ธรรมชาติมีรังสีแต่ส่วนใหญ่อยใู่ นระดบั ต่า สิ่งมีชีวติ และสิ่งแวดลอ้ ม มาก - รังสี มีประโยชน์ในด้านอุตสาหกรรม การเกษตร การแพทย์ โบราณคดี รังสีใน ระดบั สูงมีอนั ตรายตอ่ สิ่งมีชีวติ

สาระที่ ๖ กระบวนการเปลยี่ นแปลงของโลก มาตรฐาน ว ๖. ๑ เขา้ ใจกระบวนการต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนบนผวิ โลกและภายในโลก ความสมั พนั ธ์ของ กระบวนการต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสณั ฐาน ของโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวทิ ยาศาสตร์ สื่อสารส่ิงที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป. ๑ ๑. สารวจ ทดลองและอธิ บาย - ดินประกอบด้วย เศษหิน ซากพืช ซากสัตว์ องค์ประกอบและสมบัติทาง โดยมีน้าและอากาศแทรกอยูใ่ นช่องวา่ งของ กายภาพของดินในทอ้ งถิ่น เมด็ ดิน - ดินในแต่ละท้องถ่ินมีสมบตั ิทางกายภาพ แตกต่างกนั ในด้านของสี เน้ือดิน การอุม้ น้าและการจบั ตวั ของดิน ป.๒ ๑. สารวจและจาแนกประเภทของ - ดินจาแนกออกเป็ นประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ ดินโดยใช้สมบตั ิทางกายภาพ ดินร่ วน ดินเหนี ยวและดินทราย ตาม เป็นเกณฑ์ และนาความรู้ไปใช้ ลกั ษณะที่แตกต่างกนั ในดา้ นของสี เน้ือดิน ประโยชน์ การอุม้ น้าและการจบั ตวั ของดิน ซ่ึงนาไปใช้ ประโยชนไ์ ดแ้ ตกต่างกนั ตามสมบตั ิของดิน ป.๓ ๑. สารวจและอธิบายสมบัติทาง - น้าพบได้ท้ังท่ีเป็ นของเหลว ของแข็งและ กายภาพของน้ าจากแหล่งน้ า แ ก๊ ส น้ า ล ะ ล า ย ส า ร บ า ง อ ย่ า ง ไ ด้ ในท้องถิ่น และนาความรู้ไป น้าเปล่ียนแปลงรูปร่างตามภาชนะที่บรรจุ ใชป้ ระโยชน์ และรักษาระดบั ในแนวราบ - คุณภาพของน้ าพิจารณาจาก สี กล่ิน ความโปร่งใสของน้า - น้าเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความจาเป็นต่อชีวิต ท้งั ในการบริโภค อปุ โภค จึงตอ้ งใชอ้ ยา่ งประหยดั ๒. สืบคน้ ขอ้ มูลและอภิปราย - อากาศประกอบดว้ ย แก๊สไนโตรเจน แก๊ส ส่วนประกอบของอากาศและ ออกซิเจน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และ ความสาคญั ของอากาศ แกส๊ อื่น ๆ รวมท้งั ไอน้า และฝ่ นุ ละออง - อากาศมีความสาคัญ ต่อการดารงชีวิต สิ่ งมีชีวิตทุกชนิดต้องใช้อากาศในการ หายใจ และอากาศยงั มีประโยชน์ในด้าน อื่นๆ อีกมากมาย

ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๓. ทดลองอธิบายการเคล่ือนที่ - อากาศจะเคลื่อนจากบริเวณที่มีอุณหภูมิต่า ของอากาศที่มีผลจากความ ไปยงั บริเวณท่ีมีอุณหภูมิสูงกวา่ โดยอากาศ แตกตา่ งของอุณหภูมิ ที่เคลื่อนที่ในแนวราบทาใหเ้ กิดลม ป.๔ ๑. สารวจและอธิบายการเกิดดิน - ดินเกิดจากหินท่ีผพุ งั ผสมกบั ซากพชื ซาก สัตว์ ๒. ระบุชนิดและสมบตั ิของดินที่ - ดิ น มี ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง เศ ษ หิ น ใชป้ ลูกพืชในทอ้ งถิ่น อินทรียวตั ถุ น้า และอากาศในสัดส่วนท่ี แตกต่างกนั ทาให้เกิดดินหลายชนิด พืชแต่ ละชนิ ดเจริ ญเติบ โตได้ดี ในดิ นท่ี แตกต่าง กนั ดงั น้ันการปลูกพืชจึงควรเลือกใช้ดิน ใหเ้ หมาะสม ป.๕ ๑. สารวจ ทดลองและอธิบายการ - ไอน้าในอากาศท่ีควบแน่นเป็ นละอองน้าเล็ก เกิดเมฆ หมอก น้ าค้าง ฝน ๆ ทาให้เกิดหมอกและเมฆละอองน้าเล็ก ๆ และลูกเห็บ ท่ีรวมกันเป็ นหยดน้ าจะทาให้เกิดน้ าค้าง และฝน - หยดน้าท่ีกลายเป็ นน้าแขง็ แลว้ ถูกพายุพดั วน ในเมฆระดับสูงจนเป็ นก้อนน้าแข็งขนาด ใหญ่ข้ึนแลว้ ตกลงมาทาใหเ้ กิดลูกเห็บ ๒. ทดลองและอธิบายการเกิดวฏั - วัฏจักรน้ าเกิดจากการหมุนเวียนอย่าง จกั รน้า ต่อเนื่อง ระหว่างน้าบริเวณผิวโลกกบั น้า ในบรรยากาศ ๓. ออกแบบและสร้างเคร่ืองมือ - อุณหภูมิ ความช้ืน ความกดอากาศ มีการ อย่างง่ายในการวดั อุณหภูมิ เปล่ียนแปลง ซ่ึงสามารถตรวจสอบโดยใช้ ความช้ืน และความกดอากาศ เคร่ืองมืออยา่ งง่ายได้ ๔. ทดลองและอธิบายการเกิดลม - การเกิดลมเกิดจากการเคล่ือนที่ของอากาศ และนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ตามแนวพ้ืนราบ อากาศบริเวณท่ีมีอุณหภูมิ ในชีวติ ประจาวนั สูง มวลอากาศจะขยายตัวลอยตัวสูงข้ึน ส่ วนอากาศบริ เวณท่ีมีอุณหภูมิต่า มวล อากาศจะจมตวั ลงและเคล่ือนท่ีไปแทนที่ - พลงั งานจากลมนาไปใชป้ ระโยชนไ์ ดม้ ากมายในดา้ นการ ผลิตกระแสไฟฟ้าและการทากงั หนั ลม

ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.๖ ๑. อธิบาย จาแนกประเภทของหิน - หินแตล่ ะชนิดมีลกั ษณะแตกต่างกนั จาแนก โดยใช้ลกั ษณะของหิน สมบตั ิ ตามลักษณะที่สังเกตได้เป็ นเกณฑ์ เช่น สี ของหิ น เป็ น เกณ ฑ์ แล ะน า เน้ือหิน ความแขง็ ความหนาแน่น ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ - นักธรณีวิทยาจาแนกหินตามลักษณะการเกิด ได้สามประเภท คือ หิ นอัคนี หิ นตะกอน และหินแปร - ลักษณะหินและสมบัติของหินที่แตกต่างกัน นามาใชใ้ ห้เหมาะกบั งานท้งั ในดา้ นก่อสร้างดา้ น อุตสาหกรรมและอ่ืนๆ ๒. สารวจและอธิบายการ - การเปล่ียนแปลงของหินในธรรมชาติโดย เปลี่ยนแปลงของหิน การผุพังอยู่กับท่ี การกร่อน ทาให้หินมี ขนาดเลก็ ลง จนเป็นส่วนประกอบของดิน ๓. สืบคน้ และอธิบายธรณีพิบตั ิภยั - มนุษยค์ วรเรียนรู้และปฏิบตั ิตนให้ปลอดภยั ที่ มี ผ ล ต่ อ ม นุ ษ ย์ แ ล ะ จากธรณีพิบัติภัยที่อาจเกิดข้ึนในท้องถิ่น สภาพแวดลอ้ มในทอ้ งถ่ิน ได้แก่ น้ าป่ าไหลหลาก น้ าท่วม แผ่นดิน ถล่ม แผน่ ดินไหว สึนามิและอื่นๆ ม. ๑ ๑. สืบคน้ และอธิบายองคป์ ระกอบ - บรรยากาศของโลกประกอบดว้ ยส่วนผสม และการ แบ่งช้ันบรรยากาศท่ี ของแกส๊ ตา่ ง ๆ ที่อยรู่ อบโลกสูงข้ึนไปจาก ปกคลุมผวิ โลก พ้นื ผวิ โลกหลายกิโลเมตร - บรรยากาศแบ่งเป็ นช้ันตามอุณหภูมิและ การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิตามความสูงจาก พ้ืนดิน ๒. ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ - อุณหภูมิ ความช้ืนและความกดอากาศ ระหวา่ ง อุณหภูมิ ความช้ืนและ มีผลตอ่ ปรากฏการณ์ทางลมฟ้าอากาศ ค ว าม ก ด อ าก าศ ที่ มี ผ ล ต่ อ ปรากฏการณ์ทางลมฟ้าอากาศ ๓. สังเกต วิเคราะห์และ อภิปราย - ปรากฏการณ์ทางลมฟ้าอากาศ ได้แก่ การ การเกิดปรากฏการณ์ทางลมฟ้า เกิดเมฆ ฝน พายุฟ้าคะนอง พายุหมุนเขต อากาศที่มีผลตอ่ มนุษย์ ร้อน ลมมรสุมฯลฯ ๔. สืบค้นวิเคราะห์ และแปลความหมาย - การพยากรณ์อากาศอาศัยข้อมูลเกี่ยวกับ ขอ้ มูลจากการพยากรณ์อากาศ อุณ ห ภู มิ ความก ดอาก าศ ความ ช้ื น

ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ปริมาณเมฆ ปริมาณน้าฝนและนามาแปล ค ว า ม ห ม า ย เพื่ อ ใ ช้ ใ น ก า ร ท า น า ย ส ภ า พ อากาศ ๕. สืบค้น วิเคราะห์ และอธิบาย - สภาพลมฟ้าอากาศที่เปลี่ยนแปลงบนโลก ผลของลมฟ้าอากาศต่อการ ทาให้เกิดพายุ ปรากฏการณ์ เอลนิ โญ ดารงชีวิตของส่ิ งมีชีวิต และ ลานี ญา ซ่ึ งส่ งผลต่อการดารงชีวิตของ ส่ิงแวดลอ้ ม มนุษย์ และสิ่งแวดลอ้ ม ๖. สืบค้น วิเคราะห์ และอธิบาย - ปัจจยั ทางธรรมชาติและการกระทาของมนุษย์เช่น ปัจจัยทางธรรมชาติและการ ภูเขาไฟระเบิด การตดั ไม้ทาลายป่ า การเผาไหม้ กระทาของมนุษยท์ ี่มีผลตอ่ การ ของเคร่ืองยนต์และการปล่อยแก๊สเรือนกระจกมี เปล่ียนแปลงอุณหภูมิของโลก ผลทาให้เกิดภาวะโลกร้อนรูโหว่ของช้นั โอโซน รูโหวโ่ อโซน และฝนกรด และฝนกรด - ภาวะโลกร้อนคือปรากฏการณ์ที่อุณหภูมิเฉลี่ย ของโลกสูงข้ึน ๗. สืบค้น วิเคราะห์และอธิบายผล - ภาวะโลกร้อนทาให้เกิดการละลายของธาร ของภาวะโลกร้อน รูโหวโ่ อโซน น้าแข็ง ระดบั น้าทะเลสูงข้ึน การกดั เซาะ และฝนกรด ที่มีต่อส่ิ งมีชีวิต ชายฝั่งเพ่ิมข้ึน น้ าท่วม ไฟป่ า ส่ งผลให้ และสิ่งแวดลอ้ ม ส่ิ งมีชี วิตบางชนิ ดสู ญ พันธุ์และทาให้ ส่ิงแวดลอ้ มเปล่ียนแปลงไป - รู โหว่โอโซน และฝนกรดมี ผลต่อการ เปลี่ยนแปลงของส่ิงมีชีวติ และสิ่งแวดลอ้ ม ม.๒ ๑. ส ารวจ ทดลองและอธิ บาย - ดินมีลักษณะและสมบัติแตกต่างกันตาม ลักษณะของช้ันหน้าตัดดิ น วัตถุ ต้น กาเนิ ดดิ น ลักษ ณ ะภูมิ อากาศ สมบตั ิของดิน และกระบวนการ ลักษณะภูมิประเทศ พืชพรรณ สิ่งมีชีวิต เกิดดิน และระยะเวลาในการเกิดดิน และตรวจสอบ สมบตั ิบางประการของดิน - ช้ันหน้าตัดดินแต่ละช้ันและแต่ละพ้ืนที่มี ลกั ษณะ สมบตั ิ และองคป์ ระกอบแตกต่างกนั ๒. สารวจ วิเคราะห์และอธิบาย - ดินในแต่ละท้องถ่ินมีลักษณะและสมบัติ การใช้ป ระโยชน์ แล ะการ ต่างกันตามสภาพของดิน จึงนาไปใช้ ปรับปรุงคุณภาพของดิน ประโยชน์ต่างกนั

ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง - การปรับปรุงคุณภาพดินข้ึนอยูก่ บั สภาพของ ดินเพื่อทาให้ดินมีความเหมาะสมต่อการใช้ ประโยชน์ ๓. ทดลองเลียนแบบเพ่ืออธิบาย - กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาท้ัง กระบวนการเกิด และลักษณะ บนและใต้พ้ืนผิวโลก ทาให้เกิดหิ นที่ มี องคป์ ระกอบของหิน ลกั ษณะองค์ประกอบแตกต่างกนั ท้งั ทางดา้ น กายภาพ และทางเคมี ๔. ท ด ส อ บ แ ล ะ สั ง เ ก ต - หิ นแบ่งเป็ น หิ นอัคนี หิ นแปรและหิ น องค์ประกอบและสมบัติของ ตะกอนหินแต่ละประเภทมีความสัมพนั ธ์ หิน เพื่อจาแนกประเภทของหิน กัน แ ล ะ น าไป ใ ช้ ป ระ โ ย ช น์ ใน ท าง และนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ อุตสาหกรรม การก่อสร้างและอ่ืน ๆ ๕. ตรวจสอบและอธิบาย ลกั ษณะ - เมื่อสภาวะแวดล้อมธรรมชาติท่ีอยู่ภายใต้ ทางกายภาพของแร่ และการ อุณหภูมิและความดนั ที่เหมาะสม ธาตุและ นาไปใชป้ ระโยชน์ สารประกอบจะตกผลึกเป็ นแร่ท่ีมีลกั ษณะ และสมบัติต่างกัน ซ่ึงต้องใช้วิธีตรวจสอบ สมบตั ิแต่ละอยา่ งแตกตา่ งกนั ไป - แร่ท่ีสารวจพบในประเทศไทยมีหลายชนิด แต่ละชนิดตรวจสอบทางกายภาพไดจ้ ากรูป ผลึก ความถ่วงจาเพาะ ความแข็ง ความ วาว แนวแตกเรียบ สีและสีผงของแร่และ น าไป ใช้ป ระโยชน์ ต่างกัน เช่ น ใช้ท า เครื่องประดบั ใชใ้ นดา้ นอุตสาหกรรม ๖ สืบคน้ และอธิบายกระบวนการ - ปิ โตรเลียม ถ่านหิน หินน้ามนั เป็ นเช้ือเพลิง เกิด ลกั ษณะและสมบตั ิของ ธ ร ร ม ช า ติ ที่ เกิ ด จ า ก ก ร ะ บ ว น ก า ร ปิ โตรเลียม ถ่านหิน หินน้ามนั เปล่ียนแปลงทางธรณีวิทยา ซ่ึงแต่ละชนิด และการนาไปใชป้ ระโยชน์ จะมีลักษณะ สมบัติและวิธีการนาไปใช้ ประโยชน์แตกตา่ งกนั ๗. สารวจและอธิบายลกั ษณะ - แหล่งน้าบนโลก มีท้งั น้าจืด น้าเคม็ โดย แหล่งน้าธรรมชาติ การใช้ แหล่งน้าจืดมีอยทู่ ้งั บนดิน ใตด้ ิน และใน ประโยชนแ์ ละการอนุรักษ์ บรรยากาศ แหล่งน้าในทอ้ งถ่ิน - การใชป้ ระโยชน์ของแหล่งน้า ตอ้ งมีการวาง

ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๓ ๘. ทดลองเลียนแบบ และอธิบาย แผนการใช้ การอนุรักษ์ การป้องกนั ม.๔-ม.๖ การเกิดแหล่งน้าบนดิน แหล่ง การแกไ้ ข และผลกระทบ ดว้ ยวิธีการท่ีเหมาะสม น้าใตด้ ิน - แหล่งน้าบนดินมีหลายลักษณะข้ึนอยู่กับ ๙. ทดลองเลียนแบบและอธิบาย ลกั ษณะภูมิประเทศ ลักษณะทางน้า และ กระบวนการผุพงั อยู่กบั ที่ การกร่อน ความเร็วของกระแสน้า ในแต่ละฤดูกาล การพดั พา การทับถม การตก ผลึกและผลของ กระบวนการ - น้ าบนดินบางส่วนจะไหลซึมสู่ใต้ผิวดิน ดงั กล่าว ถูกกกั เก็บไวใ้ นช้นั ดินและหิน เกิดเป็นน้าใตด้ ิน ซ่ึงส่วนหน่ึงจะซึมอยูต่ ามช่องว่างระหว่าง ๑๐. สืบค้น สร้างแบบจาลองและ เม็ดตะกอน เรียกว่าน้าในดิน อีกส่วนหน่ึง อ ธิ บ า ย โ ค ร ง ส ร้ า ง แ ล ะ จะไหลซึมลึกลงไป จนถูกกักเก็บไวต้ าม องคป์ ระกอบของโลก ช่องว่างระหว่างเม็ดตะกอน ตามรูพรุน หรือ - ตามรอยแตกของหิน หรือช้นั หินเรียกว่าน้าบาดาล ๑. สืบคน้ และอธิบายหลกั การใน - สมบตั ิของน้าบาดาลข้ึนอยกู่ บั ชนิดของดินแหล่งแร่ การแบง่ โครงสร้างโลก และหิน ท่ีเป็นแหล่งกกั เก็บน้าบาดาล และช้นั หิน อุม้ น้า - การผุพงั อยู่กบั ท่ีการกร่อน การพดั พา การ ทบั ถม และการตกผลึก เป็ นกระบวนการ สาคญั ที่ทาให้พ้ืนผิวโลกเกิดการเปลี่ยนแปลง เป็ นภูมิลักษณ์ ต่าง ๆ โดยมีลม น้ า ธารน้าแขง็ คล่ืนและแรงโนม้ ถ่วงของโลก เป็นตวั การสาคญั - โครงสร้างของโลกประกอบดว้ ยช้นั เปลือก โลก ช้นั เน้ือโลก และช้นั แก่นโลก โครงสร้างแต่ละช้นั จะมีลกั ษณะและ ส่วนประกอบแตกต่างกนั - - โลกเป นดาวเคราะห หินดวงหน่ึงใน ระบบสุริยะ ภายในโลกยงั คงมีอุณหภูมิสูง มาก และมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลานับ ต้งั แต โลกเริ่มเกิดจนถึงป จจุบนั - นกั วทิ ยาศาสตร แบ งโครงสร างโลก

ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง โดยใช้ ๒. ทดลองเลียนแบบและอธิบาย ข้อมูลและหลักฐานต่างๆ ทางธรณีวิทยา กระบวนการเปล่ียนแปลงทาง และทางฟิ สิกส์ ธรณีภาคของโลก - การเปล่ียนแปลงของโลกสามารถอธิบายได ๓. ทดลองเลียนแบบ และอธิบาย ด วยทฤษฎีการแปรสัณฐานแผ่นธรณี กระบวนการเกิดภูเขา รอยเลื่อน ภาค รอยคดโค ง แผ นดินไหว - การเปล่ียนแปลงทางธรณีภาคของโลก ภเู ขาไฟระเบิด ส วนใหญ จะเกิดในช้นั ธรณีภาค และช้นั ฐานธรณีภาค - ช้นั ธรณีภาคแตกออกเป นแผ นใหญ ๆ หลายแผ น เรียกว า แผ นธรณีภาค ซ่ึงมีการเคลื่อนท่ีอยู่ตลอดเวลา ทาให เกิด ปรากฏการณ ต างๆ ทางธรณีวทิ ยาบนผิว โลกที่สามารถศึกษาได จากร องรอย หลกั ฐานท่ีปรากฏอยู ในป จจุบนั เช น รอยต อ รอยแยกของแผ นธรณี ภาค เทือกเขา ใต มหาสมุทร และซากดึกดา บรรพ เป นต น - จากการศึกษาทฤษฎีการแปรสัณฐานแผ นธรณีภาคและปรากฏการณ ทางธรณีวทิ ยา ต้งั แต อดีตจนถึง ป จจุบนั ทาให พบว าแผ นดินไหวและภูเขาไฟส วนใหญ จะเกิดอยู ตามแนวรอยตะเข็บของขอบ แผ นธรณีภาค ที่เรียกว า วงแหวน แห งไฟ - รอยเลื่อน เป นแนวรอยแตกของหินท่ี เคลื่อนที่สัมพันธ กันและขนานไปกับ รอยแตก ซ่ึงอาจสมั พนั ธ กบั การเกิดแผ นดินไหวและภูเขาไฟระเบิด - รอยคดโค ง เป นรอยที่ปรากฏในหิน

ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง เกิดจากการแปรสัณฐานแผ นธรณีภาค - กระบวนการเกิดรอยเลื่อน รอยคดโค ง การแปรสัณฐานแผ นธรณีภาค เป นส วนหน่ึงของการเกิดเทือกเขาบนโลก ๔. สืบค้นและอธิบายความสาคัญ - ปรากฏการณ ทางธรณีวทิ ยาท่ีสาคญั และ ข อ ง ป ร าก ฏ ก าร ณ ท าง มี ผลต อสิ่งมีชีวิตที่เห็นได ชัดเจน ธรณี วิทยาแผ่นดินไหว ภูเขาไฟ ได แก แผ นดินไหว ภูเขาไฟ ระเบิดท่ีส่ งผล ต อสิ่ งมีชีวิต ระเบิด และส่ิงแวดล อม - แผ นดินไหวและภูเขาไฟระเบิดเป นปรากฏการณ ทางธรณีวิทยาที่ทาให เกิดธรณีพิบตั ิภยั รูปแบบอ่ืนตามมา ทาให สูญเสียชีวิตและทรัพย สินของมนุษย เกิดการเปลี่ยนแปลงลักษณะธรณีสัณฐาน ชนิดหิน และสภาพแวดล อม ๕. สารวจ วิเคราะห์และอธิบายการ - สภาพเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนในอดีตของโลก ลาดบั ช้นั หิน จากการวางตวั ของ สามารถอธิบายได้จากร่ องรอยต่างๆท่ี ช้นั หิน ซากดึกดาบรรพ และ ปรากฏเป็นหลกั ฐานอยบู่ นหิน โครงสร างทางธรณีวิทยา เพื่อ - ข้อมูลทางธรณี วิทยาที่ใช้อธิบายความ อธิบายประวตั ิความเป็ นมาของ เป็ นมาของโลก ได้แก่ ซากดึกดาบรรพ์ พ้นื ที่ ชนิดของหิน โครงสร้างทางธรณีวทิ ยา และ การลาดบั ช้นั หิน - ประวตั ิความเป นมาของพ้ืนที่ ได จาก การล าดับ ช้ ัน หิ น ตาม อายุการเกิ ดข องหิ น จากอายุมากข้ึนไปสู หินที่มีอายุน อย ตามมาตราธรณีกาล ๖. สืบค้น วิเคราะห์ และอธิบาย - การเปลี่ยนแปลงต่างๆที่เกิดข้ึนต้ังแต่ใน ป ระ โย ช น์ ข อ งข้อ มู ล ท าง อดีตจนถึงปัจจุบันจะบอกถึงวิวฒั นาการ ธรณีวทิ ยา ของการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกซ่ึงจะ ให้ประโยชน์ ท้งั ทางดา้ นวิวฒั นาการ และ การสารวจคน้ หาทรัพยากรธรณี



สาระที่ ๗ ดาราศาสตร์และอวกาศ มาตรฐาน ว ๗. ๑ เขา้ ใจวิวฒั นาการของระบบสุริยะ กาแลก็ ซีและเอกภพ การปฏิสัมพนั ธ์ภายใน ระบบสุริยะและผลต่อสิ่งมีชีวติ บนโลก มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และ จิตวทิ ยาศาสตร์ การสื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู้และนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป. ๑ ๑. ระบุว่าในท้องฟ้ามีดวงอาทิตย์ - ในทอ้ งฟ้ามีดวงอาทิตย์ ดวงจนั ทร์และ ดวงจนั ทร์และดวงดาว ดวงดาว โดยจะมองเห็นทอ้ งฟ้ามีลกั ษณะ เป็นคร่ึงทรงกลมครอบแผน่ ดินไว้ ป.๒ ๒. สืบค้นและอภิปรายความสาคัญ - ดวงอาทิตยเ์ ป็ นแหล่งพลงั งานที่สาคญั ของ ของดวงอาทิตย์ โลกเพราะให้ท้ังพลังงานความร้อนและ พลงั งานแสง ซ่ึงช่วยในการดารงชีวิตของ ส่ิงมีชีวติ ป.๓ ๑. สังเกต และอธิบายการข้ึนตก โลกหมุนรอบตัวเองทาให้เกิดปรากฏการณ์ ของดวงอาทิตย์ ดวงจนั ทร์ การ ตอ่ ไปน้ี เกิดกลางวนั กลางคืน และการ - ปรากฏการณ์ข้ึนตกของดวงอาทิตยแ์ ละ กาหนดทิศ ดวงจนั ทร์ - เกิดกลางวนั และกลางคืนโดยดา้ นท่ีหนั รับ แสงอาทิตยเ์ ป็ นเวลากลางวนั และดา้ นตรง ข้ามที่ ไม่ได้รับ แส งอาทิ ตย์เป็ น เวล า กลางคืน - กาหนดทิศโดยสังเกตจากการข้ึนและการตก ของดวงอาทิตย์ ใหด้ า้ นท่ีเห็นดวงอาทิตยข์ ้ึน เป็ นทิศตะวนั ออก และดา้ นที่เห็นดวงอาทิตย์ ตกเป็ นทิศตะวนั ตก เมื่อใชท้ ิศตะวนั ออกเป็ น หลกั โดยให้ดา้ นขวามืออยทู่ างทิศตะวนั ออก ดา้ นซ้ายมืออยู่ทางทิศตะวนั ตก ด้านหน้าจะ เป็นทิศเหนือและดา้ นหลงั จะเป็นทิศใต้ ป.๔ ๑. สร้างแบบจาลองเพ่ืออธิบาย - ระบบสุริยะประกอบด้วยดวงอาทิตยเ์ ป็ น ลกั ษณะของระบบสุริยะ ศูน ย์กลางและมี บ ริ วารโคจรอยู่โดยรอบ คือ ดาวเคราะห์แปดดวง ดาวเคราะห์แคระ ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง และวตั ถุขนาด เล็ ก อื่ น ๆ ส่ ว น ด าว ต ก ห รื อ ผี พุ่ งไ ต้

ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง อุกกาบาต อาจเกิดมาจาก ดาวหาง ดาว เคราะห์นอ้ ย หรือวตั ถุขนาดเล็กอ่ืนๆ ป.๕ ๑. สังเกตและอธิบายการเกิดทิศ - การท่ีโลกหมุนรอบตวั เองน้ีทาให้เกิดการ และปรากฏการณ์การข้ึนตก กาหนดทิศ โดยโลกหมุนรอบตวั เอง ทวน ของดวงดาวโดยใชแ้ ผนท่ีดาว เข็มนาฬิ กาจากทิศตะวันตกไปยังทิ ศ ตะวันออกเมื่อสังเกตจากข้ัวเหนื อ จึง ป ราก ฏ ใ ห้ เห็ น ด ว ง อ า ทิ ต ย์แ ล ะ ด ว ง ด า ว ตา่ งๆ ข้ึนทางทิศตะวนั ออก และตกทางทิศ ตะวนั ตก - แผนท่ีดาวช่วยในการสังเกตตาแหน่งดาว บนทอ้ งฟ้า ป.๖ ๑. สร้างแบบจาลองและอธิบาย - การที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตยใ์ นเวลา ๑ การเกิดฤดู ข้างข้ึนข้างแรม ปี ใ น ลั ก ษ ณ ะ ที่ แ ก น โ ล ก เอี ย ง กั บ สุริยุปราคา จนั ทรุปราคา และ แนวต้ังฉากของระนาบทางโคจร ทาให้ นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ บริเวณส่วนต่างๆ ของโลกรับพลงั งานจาก ดวงอาทิตย์แตกต่างกนั เป็ นผลให้เกิดฤดู ตา่ ง ๆ - ดวงจันทร์ไม่มีแสงสว่างในตัวเอง แสง สวา่ งท่ีเห็นเกิดจากแสงอาทิตยต์ กกระทบ ดวงจนั ทร์แลว้ สะทอ้ นมายงั โลก การที่ดวง จนั ทร์โคจรรอบโลกขณะท่ีโลกโคจรรอบ ดวงอาทิตย์ ดวงจนั ทร์จึงเปลี่ยนตาแหน่ง ไ ป ท า ใ ห้ ม อ ง เห็ น แ ส ง ส ะ ท้อ น จ า ก ด ว ง จนั ทร์แตกต่างกนั ในแต่ละคืนซ่ึงเรียกว่า ขา้ งข้ึน ขา้ งแรม และนามาใชจ้ ดั ปฏิทินใน ระบบจนั ทรคติ - การท่ีโลก ดวงจนั ทร์ ดวงอาทิตยอ์ ยูใ่ นแนว เส้นตรงเดียวกันทาให้ดวงจนั ทร์บังดวง อาทิตย์ เรียกว่า เกิดสุริยุปราคา และเม่ือ ดวงจนั ทร์เคล่ือนท่ีเขา้ ไปอยูใ่ นเงาของโลก เรียกวา่ เกิดจนั ทรุปราคา

ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม. ๑ - - ม.๒ - - ม.๓ ๑. สื บ ค้ น แ ล ะ อ ธิ บ า ย - ดวงอาทิตย์ โลก และดวงจันทร์อยู่เป็ น ความสัมพันธ์ระหว่างดวง ระบบไดภ้ ายใตแ้ รงโนม้ ถ่วง อาทิตย์ โลก ดวงจันทร์และ - แรงโนม้ ถ่วงระหวา่ งโลกกบั ดวงจนั ทร์ ทา ดาวเคราะห์อ่ืน ๆ และผลท่ี ให้ดวงจนั ทร์โคจรรอบโลก แรงโน้มถ่วง เกิดข้ึนต่อส่ิ งแวดล้อมและ ระหวา่ งดวงอาทิตยก์ บั บริวาร ทาใหบ้ ริวาร สิ่งมีชีวติ บนโลก เคลื่อนรอบดวงอาทิตย์กลายเป็ นระบบ สุริยะ - แรงโน้มถ่วงที่ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ กระทาต่อโลกทาใหเ้ กิดปรากฏการณ์น้าข้ึน น้ าล ง ซ่ึ งส่ งผ ล ต่ อ ส่ิ งแ วด ล้อ ม แล ะ ส่ิงมีชีวติ บนโลก ๒. สืบคน้ และอธิบายองคป์ ระกอบ - เอกภพประกอบด้วยกาแล็กซีมากมายนับ ของเอกภพ กาแลก็ ซี และระบบ แสนลา้ นแห่ง แต่ละกาแล็กซีประกอบดว้ ย สุริยะ ดาวฤกษ์จานวนมาก ท่ีอยู่เป็ นระบบด้วย แรงโน้มถ่วง กาแล็กซีทางช้างเผือกมี ระบบสุริยะอยทู่ ี่แขนของกาแลก็ ซี่ดา้ นกลุ่ม ดาวนายพราน ๓. ระบุตาแหน่งของกลุ่มดาว และ - กลุ่มดาวฤกษ์ประกอบด้วยดาวฤกษ์หลาย นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ดวงท่ีปรากฏอยูใ่ นขอบเขตแคบๆ และเรียง เป็ นรูปต่างๆกันบนทรงกลมฟ้า โดยดาว ฤกษ์ที่อยู่ในกลุ่มเดียวกนั ไม่จาเป็ นตอ้ งอยู่ ใกล้กันอย่างท่ีตาเห็ น แต่มีตาแหน่ งท่ี แน่นอนบนทรงกลมฟ้า จึงใช้บอกทิศและ เวลาได้ ม.๔-ม.๖ ๑. สืบคน้ และอธิบายการเกิดและ - เอกภพกาเนิด ณ จุดที่เรียกว าบิกแบง เป วิวฒั นาการของระบบสุ ริยะ น จุดท่ีพลงั งานเริ่มเปลี่ยนเป นสสาร เกิด กาแล็กซี และเอกภพ เป็ นอนุภาค ควาร์ก อิเล็กตรอน นิวทริโน พร้อมปฏิอนุภาค เมื่ออุณหภูมิของเอกภพ ลดต่าลง ควาร์กจะรวมตวั กนั เป็นอนุภาค

ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง พ้ืนฐาน คือโปรตรอนและนิวตรอน ต่อมา โปรตรอนและนิวตรอนรวมตัวกันเป็ น นิวเคลียสของฮีเลียม และเกิดเป็ นอะตอม ของไฮโดรเจนและฮีเลียม อะตอมของ ไฮโดรเจนและฮีเลียม ซ่ึงเป็ นองค์ประกอบ ส่วนใหญ่ของเนบิวลาด้งั เดิม เนบิวลาด้งั เดิม กระจายอยู่เป็ นหย่อมๆกลายเป็ นกาแล็กซี่ ภายในกาแล็กซี่ เกิดเป็ นดาวฤกษ์ ระบบ ดาวฤกษ์ ๒. สืบค้นและอธิบายธรรมชาติ - ดาวฤกษ เป นก อนแก สร อนข และวฒั นาการของดาวฤกษ์ นาดใหญ กาเนิดมาจากเนบิวลา ท่ีมีองค ป ร ะ ก อ บ ส ว น ใ ห ญ่ เป น ธ าตุ ไฮโดรเจน ที่แก นกลางของ ดาวฤกษ จะเกิดปฏิกิริ ยาเทอร โมนิ วเคลียร หลอมนิ วเคลียสของไฮโดรเจนเป น นิวเคลียสของฮีเลียม ได พลงั งานออกมา - อันดับความสว างของดาวฤกษ ท่ี สังเกตเห็นไดม้ าจาก ความสว างปรากฏ ท่ีข้ึนอยู กบั ความสว างจริงและระยะห างจากโลก - สี ของดาวฤกษ มีความสัมพันธ กับ อุณหภูมิผิวของดาวฤกษ และอายุของดา วฤกษ - ดาวฤกษ มีอายุยาวหรือส้ัน มีจุดจบเป นหลุมดา หรือดาวนิวตรอน หรือดาวแคระ ขาว ข้ึนอยู กบั มวลของดาว ฤกษ

สาระท่ี ๗ ดาราศาสตร์และอวกาศ มาตรฐาน ว ๗.๒ เขา้ ใจความสาคญั ของเทคโนโลยอี วกาศท่ีนามาใชใ้ นการสารวจอวกาศและ ทรัพยากรธรรมชาติ ดา้ นการเกษตรและการส่ือสาร มีกระบวนการสืบเสาะหา ความรู้และจิตวทิ ยาศาสตร์ สื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู้และนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์อยา่ งมี คุณธรรมตอ่ ชีวติ และส่ิงแวดลอ้ ม ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป. ๑ - - ป.๒ - - ป.๓ - - ป.๔ - - ป.๕ - - ป.๖ ๑. สืบคน้ อภิปรายความกา้ วหนา้ - ความกา้ วหนา้ ของ จรวด ดาวเทียม และยาน และประโยชน์ของเทคโนโลยี อวกาศ อวกาศ - ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีอวกาศ ได้ น า ม า ใ ช้ ใ น ก า ร ส า ร ว จ ข้ อ มู ล ข อ ง ว ัต ถุ ท้องฟ้า ทาให้ได้เรี ยนรู้ เก่ียวกับระบบ สุริยะท้งั ในและนอกระบบสุริยะเพ่ิมข้ึนอีก มากม ายและย ังมี ป ระโยชน์ ใน การพ ัฒ น า เท ค โ น โ ล ยี ใ น ด้ า น ก า ร ส า ร ว จ ทรัพยากรธรรมชาติ การสื่อสาร การสารวจ สภาพอากาศ ด้านการแพทย์ และด้านอื่น ๆ อีกมากมาย ม. ๑ - - ม.๒ - - ม.๓ ๑. สื บ ค้ น แ ล ะ อ ภิ ป ร า ย - ม นุ ษ ย์ใ ช้ ก ล้ อ ง โ ท ร ท ร ร ศ น์ จ ร ว ด ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ดาวเทียม ยานอวกาศ สารวจอวกาศ อวกาศที่ใช้สารวจอวกาศ วตั ถุ วั ต ถุ ท้ อ ง ฟ้ า ส ภ า ว ะ อ า ก า ศ ท้ อ ง ฟ้ า ส ภ า ว ะ อ า ก า ศ ทรัพยากรธรรมชาติ การเกษตรและใช้ใน

ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๔-ม.๖ ทรัพยากรธรรมชาติ การเกษตร การส่ือสาร และการส่ือสาร ๑ . สื บค้นและอธิบายการส - การส งดาวเทียมไปโคจรรอบโลก ณ ระดบั งและคานวณความเร็วในการ ความสูงจากผวิ โลกต างๆกนั จรวดต องมี โคจรของดาวเทียมรอบโลก ความเร็วที่แตกต างกนั ๒. สืบค้นและอธิบายประโยชน - ดาวเทียมถูกนามาใช ประโยชน ในด ของดาวเทียมในด านต าน าง ๆ อุตุนิยมวทิ ยา สารวจทรัพยากรโลก การส่ือสารและบอกตาแหน่งของวตั ถุบนโลก ๓. สืบคน้ และอธิบายการส่งและ สารวจอวกาศโดยใช ยาน - ระบบยานขนส งอวกาศถูกพฒั นาข้ึนมาใช อวกาศและสถานีอวกาศ ส ง ดาวเทียมและยานอวกาศ แทนการ ใช จรวด อ ย างเดี ย วเน่ื อ งจาก สามารถนากลบั มาใช ใหม ได - ในการส งยานอวกาศไปสารวจอวกาศ จรวดท่ีพายานอวกาศ ต องมีความเร็วมา กกว าความเร็วหลุดพ น จึงจะสามารถ ออกจากวงโคจรของโลกได - ยานอวกาศและสถานีอวกาศมีภารกิจในการ สารวจโลกและวตั ถุทอ้ งฟ้าอื่นๆ

สาระที่ ๘ ธรรมชาติของวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๘. ๑ ใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และจิตวทิ ยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การ แกป้ ัญหา รู้วา่ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดข้ึนส่วนใหญ่มีรูปแบบท่ีแน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใตข้ อ้ มูลและเครื่องมือที่มีอยใู่ นช่วงเวลาน้นั ๆ เขา้ ใจวา่ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และส่ิงแวดลอ้ มมีความเกี่ยวขอ้ งสัมพนั ธ์กนั ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป. ๑ ๑. ต้งั คาถามเก่ียวกบั เรื่องท่ีจะศึกษา - ตามท่ีกาหนดใหห้ รือตาม ความ - สนใจ ๒. วางแผนการสังเกต สารวจ - ตรวจสอบ ศึกษาคน้ ควา้ โดยใช้ ความคิดของตนเองและของครู - ๓. ใชว้ สั ดุอุปกรณ์ในการสารวจ - ตรวจสอบ และบนั ทึกผลดว้ ยวธิ ี - ง่ายๆ ๔. จดั กลุ่มขอ้ มูลที่ไดจ้ ากการสารวจ - ตรวจสอบและนาเสนอผล - ๕. แสดงความคิดเห็นในการสารวจ ตรวจสอบ ๖. บนั ทึกและอธิบายผลการสงั เกต สารวจตรวจสอบ โดยเขียนภาพ หรือขอ้ ความส้นั ๆ ๗. นาเสนอผลงานดว้ ยวาจาใหผ้ อู้ ่ืน เขา้ ใจ ป.๒ ๑. ต้งั คาถามเก่ียวกบั เรื่องท่ีจะศึกษา ตามท่ีกาหนดใหแ้ ละตามความ สนใจ

ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๒. วางแผนการสงั เกต สารวจ - ตรวจสอบ ศึกษาคน้ ควา้ โดยใช้ ความคิดของตนเองของกลุ่มและ - ของครู - ๓. ใชว้ สั ดุอุปกรณ์ เคร่ืองมือท่ี - เหมาะสมในการสารวจตรวจสอบ - และบนั ทึกขอ้ มูล - ๔. จดั กลุ่มขอ้ มูล เปรียบเทียบและ นาเสนอผล - ๕. ต้งั คาถามใหมจ่ ากผลการสารวจ - ตรวจสอบ - ๖. แสดงความคิดเห็นเป็ นกลุ่มและ รวบรวมเป็ นความรู้ - ๗. บนั ทึกและอธิบายผลการสงั เกต สารวจ ตรวจสอบ อยา่ ง ตรงไปตรงมา โดยเขียนภาพ แผนภาพหรือคาอธิบาย ๘. นาเสนอผลงานดว้ ยวาจาใหผ้ อู้ ่ืน เขา้ ใจกระบวนการและผลของ งาน ป.๓ ๑. ต้งั คาถามเก่ียวกบั เรื่องท่ีจะศึกษา ตามท่ีกาหนดใหแ้ ละตามความ สนใจ ๒. วางแผนการสังเกต เสนอวธิ ี สารวจตรวจสอบ ศึกษาคน้ ควา้ โดยใชค้ วามคิดของตนเอง ของ กลุ่มและคาดการณ์สิ่งที่จะพบจาก การสารวจ ตรวจสอบ ๓. เลือกใชว้ สั ดุอุปกรณ์ เคร่ืองมือที่ เหมาะสมในการสารวจตรวจสอบ และบนั ทึกขอ้ มูล

ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๔. จดั กลุ่มขอ้ มูล เปรียบเทียบกบั ส่ิงท่ี - คาดการณ์ไวแ้ ละนาเสนอผล - ๕. ต้งั คาถามใหมจ่ ากผลการสารวจ - ตรวจสอบ ๖. แสดงความคิดเห็นและรวบรวม - ขอ้ มูลจากกลุ่มนาไปสู่การสร้าง ความรู้ - ๗. บนั ทึกและ อธิบายผลการสงั เกต สารวจตรวจสอบตามความเป็ น - จริง มีแผนภาพประกอบคาอธิบาย ๘. นาเสนอ จดั แสดงผลงาน โดย - อธิบายดว้ ยวาจา และเขียนแสดง กระบวนการและผลของงานให้ - ผอู้ ื่นเขา้ ใจ - - ป.๔ ๑. ต้ังคาถามเก่ียวกับประเด็น หรือ - เรื่อง หรือสถานการณ์ ท่ีจะศึกษา - ตามที่กาหนดให้และตามความ สนใจ ๒. วางแผน การสั งเกต เส น อวิธี สารวจตรวจส อบ ห รื อศึกษ า คน้ ควา้ และคาดการณ์ส่ิงท่ีจะพบ จากการสารวจตรวจสอบ ๓. เลือกอุปกรณ์ ท่ีถูกต้องเหมาะสม ในการสารวจตรวจสอบ ๔. บั น ทึ ก ข้ อ มู ล ใน เชิ งป ริ ม าณ นาเสนอ ผลสรุปผล ๕. สร้างคาถามใหม่เพ่ือการสารวจ ตรวจสอบ ต่อไป ๖. แสดงความคิดเห็นและสรุปสิ่งที่ ได้ เรียนรู้ ๗. บนั ทึกและอธิบายผลการสารวจ

ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตรวจสอบอยา่ ง ตรงไปตรงมา - ๘. นาเสนอ จัดแสดงผลงาน โดย - อธิบายดว้ ยวาจา หรือเขียนอธิบาย กระบวนการและผลของงานให้ - ผอู้ ่ืนเขา้ ใจ - ป.๕ ๑. ต้งั คาถาม เกี่ยวกบั ประเด็น หรือ - เร่ือง หรือสถานการณ์ ที่จะศึกษา ตามที่กาหนดให้และตามความ - สนใจ - - ๒. วางแผนการสังเกต เสนอการ สารวจตรวจส อบ ห รื อศึกษ า - คน้ ควา้ และคาดการณ์สิ่งท่ีจะพบ จากการสารวจตรวจสอบ ๓. เลือกอุปกรณ์ท่ีถูกต้องเหมาะสมใน การส ารวจ ตรวจส อบให้ได้ ขอ้ มูลที่เชื่อถือได้ ๔. บันทึกข้อมูลในเชิงปริมาณและ คุณภาพ และตรวจสอบผลกับส่ิงที่ คาดการณ์ ไว้ นาเสนอผลและ ขอ้ สรุป ๕. สร้างคาถามใหม่เพ่ือการสารวจ ตรวจสอบตอ่ ไป ๖. แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ อธิบาย และสรุปสิ่งท่ีได้ เรียนรู้ ๗. บันทึกและอธิบายผลการสารวจ ตรวจสอบตามความเป็ นจริง มีการ อา้ งอิง ๘. นาเสนอ จัดแสดง ผลงาน โดย อธิบายดว้ ยวาจา หรือเขียนอธิบาย แสดงระบวนการและผลของงาน

ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง - ใหผ้ อู้ ื่นเขา้ ใจ ป.๖ ๑. ต้ังคาถามเก่ียวกับประเด็น หรือ - เร่ือง หรือสถานการณ์ ท่ีจะศึกษา - ตามท่ีกาหนดให้และตามความ - สนใจ ๒. วางแผนการสังเกต เสนอการ - สารวจตรวจส อบ ห รื อศึกษ า - ค้นควา้ คาดการณ์ ส่ิ งที่จะพบ - จากการสารวจตรวจสอบ ๓. เลือกอุปกรณ์ และวิธีการสารวจ - ตรวจสอบท่ีถูกตอ้ งเหมาะสมให้ ไดผ้ ลที่ครอบคลุมและเช่ือถือได้ - ๔. บันทึกข้อมูลในเชิงปริมาณและ คุณภาพ วิเคราะห์ และตรวจสอบ ผลกบั ส่ิงที่คาดการณ์ไว้ นาเสนอ ผลและขอ้ สรุป ๕. สร้างคาถามใหม่เพ่ือการสารวจ ตรวจสอบตอ่ ไป ๖. แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ อธิบาย ลงความเห็นและสรุปส่ิงที่ ไดเ้ รียนรู้ ๘. บันทึกและอธิบายผลการสารวจ ตรวจสอบตามความเป็ นจริ ง มี เหตุผล และมีประจกั ษพ์ ยานอา้ งอิง ม. ๑-ม.๓ ๘. นาเสนอ จัดแสดงผลงาน โดย อธิบายดว้ ยวาจา และเขียนรายงาน แสดงกระบวนการและผลของ งานใหผ้ อู้ ่ืนเขา้ ใจ ๑. ต้งั คาถามท่ีกาหนดประเด็นหรือ ตัวแปรท่ีสาคัญ ในการสารวจ

ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง - ตรวจสอบ หรือศึกษาคน้ ควา้ เร่ือง - ที่สนใจได้อย่างครอบคลุมและ เช่ือถือได้ - ๒. ส ร้ าง ส ม ม ติ ฐ าน ท่ี ส าม าร ถ - ตรวจสอบได้และวางแผนการ สารวจตรวจสอบหลาย ๆ วธิ ี - ๓. เลื อ ก เท ค นิ ค วิ ธี ก า ร ส าร ว จ - ตรวจสอบท้งั เชิงปริมาณและเชิง คุณ ภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและ - ป ล อ ด ภั ย โ ด ย ใ ช้ วัส ดุ แ ล ะ เคร่ืองมือท่ีเหมาะสม ๔. รวบรวมขอ้ มูล จดั กระทาขอ้ มูลเชิง ปริมาณและคุณภาพ ๕. วิเค ราะ ห์ แล ะ ป ระ เมิ น ค วาม สอดคล้องของประจกั ษ์พยานกบั ข้อส รุ ป ท้ังที่ ส นับ ส นุ น ห รื อ ขดั แยง้ กับสมมติฐาน และความ ผิดปกติของขอ้ มูลจากการสารวจ ตรวจสอบ ๖. สร้างแบบจาลอง หรือรูปแบบ ที่ อธิ บายผลหรื อแส ดงผลของการ สารวจตรวจสอบ ๗. สร้างคาถามท่ีนาไปสู่การสารวจ ตรวจสอบ ในเรื่ องท่ีเกี่ยวข้อง แล ะ น าค วาม รู้ ท่ี ได้ไป ใช้ใน ส ถาน การณ์ ให ม่ห รื ออธิ บ าย เก่ียวกับแนวคิด กระบวนการและผล ของโครงงานหรือชิ้นงานใหผ้ อู้ ่ืนเขา้ ใจ ๘. บนั ทึกและอธิบายผลการสังเกต การสารวจ ตรวจสอบ ค้นคว้า เพมิ่ เติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ให้

ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๔-ม.๖ - ได้ขอ้ มูลท่ีเชื่อถือได้ และยอมรับ - การ เปล่ียนแปลงความรู้ที่ - คน้ พบเมื่อมีข้อมูลและประจักษ์ - พยานใหม่เพิ่มข้ึนหรือโตแ้ ยง้ จาก - เดิม ๙. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเก่ียวกบั แนวคิด กระบวนการ และผลของ โครงงานหรื อชิ้นงานให้ผู้อื่น เขา้ ใจ ๑. ต้ังคาถามท่ีอยู่บนพ้ืนฐานของ ค ว าม รู้ แ ล ะ ค ว าม เข้าใจ ท าง วิทยาศาสตร์ หรื อความสนใจ หรื อจากประเด็น ที่ เกิ ดข้ึนใน ขณะน้ัน ที่สามารถทาการสารวจ ตรวจสอบหรือศึกษาค้นควา้ ได้ อยา่ งครอบคลุมและเชื่อถือได้ ๒. สร้างสมมติฐานท่ีมีทฤษฎีรองรับ หรือคาดการณ์สิ่งท่ีจะพบ หรือ ส ร้ างแ บ บ จาล อ ง ห รื อ ส ร้ าง รูปแบบ เพ่ือนาไปสู่การสารวจ ตรวจสอบ ๓. ค้น คว้ารวบ รวมข้อมู ล ที่ ต้อง พิจารณาปัจจยั หรือ ตวั แปรสาคญั ปัจจยั ที่มีผลต่อปัจจยั อ่ืน ปัจจยั ที่ ควบคุมไม่ได้ และจานวนคร้ังของ การสารวจ ตรวจสอบ เพ่ือให้ ได้ผ ล ท่ี มี ค ว าม เช่ื อ มั่น อ ย่าง เพยี งพอ ๔. เลือกวสั ดุ เทคนิควธิ ี อุปกรณ์ที่ใช้ ในการสังเกต การวดั การสารวจ

ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ต ร ว จ ส อ บ อ ย่า ง ถู ก ต้อ ง ท้ ัง ท า ง - กวา้ งและลึกในเชิงปริมาณและ คุณภาพ - - ๕. รวบรวมขอ้ มูลและบนั ทึกผลการ - สารวจตรวจสอบอย่างเป็ นระบบ - ถู ก ต้อง ครอบ คลุ ม ท้ังใน เชิ ง - ป ริ ม า ณ แ ล ะ คุ ณ ภ า พ โ ด ย ตรวจสอบความเป็ นไปได้ ความ เหมาะสมหรือความผิดพลาดของ ขอ้ มูล ๖. จดั กระทาขอ้ มูล โดยคานึงถึงการ ร า ย ง า น ผ ล เชิ ง ตัว เล ข ที่ มี ร ะ ดับ ความถูกตอ้ งและนาเสนอข้อมูล ดว้ ยเทคนิควธิ ีท่ีเหมาะสม ๗. วิเคราะห์ข้อมูล แปลความหมาย ข้ อ มู ล แ ล ะ ป ร ะ เมิ น ค ว า ม ส อด ค ล้องข องข้อส รุ ป ห รื อ สาระสาคัญ เพื่อตรวจสอบกับ สมมติฐานท่ีต้งั ไว้ ๘. พิ จารณ าความน่ าเช่ื อถื อของ วิ ธี ก า ร แ ล ะ ผ ล ก า ร ส า ร ว จ ตรวจสอบ โดยใช้หลักความ คลาดเคลื่อนของการวดั และการ สังเกต เสนอแนะการปรับปรุ ง วธิ ีการสารวจตรวจสอบ ๙. นาผลของการสารวจตรวจสอบที่ ได้ ท้งั วิธีการและองค์ความรู้ท่ีได้ ไปสร้างคาถามใหม่ นาไปใช้ แกป้ ัญหาในสถานการณ์ใหม่และ ในชีวติ จริง ๑๐. ตระหนักถึงความสาคญั ในการท่ี

ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง - จะตอ้ งมีส่วนร่วมรับผิดชอบการ อธิบาย การลงความเห็น และการ - สรุปผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่ นาเสนอต่อสาธารณชนดว้ ยความ ถูกตอ้ ง ๑๑. บันทึกและอธิบายผลการสารวจ ต รวจส อบ อ ย่างมี เห ตุ ผ ล ใช้ พยานหลกั ฐานอา้ งอิงหรือคน้ ควา้ เพ่ือเติม เพื่อหาหลักฐานอา้ งอิงท่ี เช่ือถือได้ และยอมรับว่าความรู้ เดิ ม อ า จ มี ก า ร เป ลี่ ย น แ ป ล ง ไ ด้ เม่ื อ มี ข้อ มู ล แ ล ะ ป ร ะ จัก ษ์ พ ย า น ใหม่เพ่ิมเติมหรือโต้แยง้ จากเดิม ซ่ึ งท้าทายให้มีการตรวจส อบ อย่างระมัดระวัง อันจะนามาสู่ การยอมรับเป็ นความรู้ใหม่ ๑๒. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเก่ียวกบั แนวคิด กระบวนการ และผลของ โครงงานหรื อชิ้นงานให้ผู้อื่น เขา้ ใจ

อภธิ านศัพท์ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Process) เป็ นกระบวนการในการศึกษาหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ซ่ึงประกอบดว้ ยข้นั ตอนหลกั คือ การต้งั คาถามหรือกาหนดปัญหา การสร้างสมมติฐานหรือการคาดการณ์คาตอบ การออกแบบวธิ ีการ เกบ็ รวบรวมขอ้ มูล การวเิ คราะห์และแปลความหมายขอ้ มูล การลงขอ้ สรุป และการส่ือสาร การแก้ปัญหา (Problem Solving)

เป็ นการหาคาตอบของปัญหาท่ียงั ไม่รู้วิธีการมาก่อน ท้ังปัญหาที่เก่ียวข้องกับเน้ือหาใน วทิ ยาศาสตร์โดยตรง และปัญหาในชีวติ ประจาวนั โดยใชเ้ ทคนิค วธิ ีการหรือกลยทุ ธ์ตา่ งๆ การวเิ คราะห์ (Analyzing) เป็ นระดบั ของผลการเรียนรู้ท่ีผูเ้ รียนสามารถแยกแยะข้อมูลหรือขอ้ สนเทศ เพ่ือเชื่อมโยง ความสัมพนั ธ์ การสังเกต (Observation) เป็ นวธิ ีการหาขอ้ มูลโดยตรงโดยใช้ประสาทสัมผสั ท้งั ห้า ไดแ้ ก่ การดู การดม การฟัง การ ชิม และการสัมผสั การสืบค้นข้อมูล (Search) เป็ นการหาขอ้ มูลหรือขอ้ สนเทศที่มีผรู้ วบรวมไวแ้ ลว้ จากแหล่งต่าง ๆ เช่น ห้องสมุด เครือข่าย อินเทอร์เน็ต ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน เป็นตน้ การสืบเสาะหาความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Inquiry) เป็นการหาความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ โดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์หรือวธิ ีการอื่น ๆ เช่น การสารวจ การสังเกต การวดั การจาแนกประเภท การทดลอง การสร้างแบบจาลอง การสืบคน้ ขอ้ มูล เป็นตน้ การสารวจ (Exploration) เป็ นการหาข้อมูลเกี่ยวกับส่ิ งต่างๆ โดยใช้วิธีการและเทคนิคต่าง ๆ เช่น การสังเกต การสมั ภาษณ์ การเกบ็ ตวั อยา่ ง เพ่ือนามาวเิ คราะห์ จาแนก หรือหาความสมั พนั ธ์ การสารวจตรวจสอบ (Scientific Investigation) เป็ นวิธีการหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ โดยผา่ นการรวบรวมขอ้ มูล ใชค้ วามคิดที่มีเหตุผลใน การต้งั สมมติฐาน อธิบายและแปลความหมายข้อมูล การสารวจตรวจสอบทาได้หลายวิธี เช่น การสังเกต การสารวจ การทดลอง เป็นตน้ ความเข้าใจ (Understanding) เป็ นระดบั ของผลการเรียนรู้ท่ีผูเ้ รียนสามารถอธิบาย เปรียบเทียบ แยกประเภท ยกตวั อยา่ ง เขียนแผนภาพ เลือก ระบุ เลือกใชเ้ กี่ยวกบั เรื่องต่าง ๆ

จิตวทิ ยาศาสตร์ (Scientific mind / Scientific attitudes) เป็ นคุณลักษณะหรือลักษณะนิสัยของบุคคลท่ีเกิดข้ึนจากการศึกษาหาความรู้โดยใช้ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ จิตวทิ ยาศาสตร์ ประกอบดว้ ยคุณลกั ษณะต่าง ๆ ไดแ้ ก่ ความสนใจใฝ่ รู้ ความมุ่งมนั่ อดทน รอบคอบ ความรับผดิ ชอบ ความซ่ือสัตย์ ประหยดั การร่วมแสดงความคิดเห็นและยอมรับฟังความ คิดเห็นของผอู้ ื่น ความมีเหตุผล การทางานร่วมกบั ผอู้ ่ืนไดอ้ ยา่ งสร้างสรรค์ เจตคตติ ่อวทิ ยาศาสตร์ (Attitudes Toward Sciences) เป็ นความรู้สึกของบุคคลต่อวิทยาศาสตร์ ซ่ึงเป็ นผลจากการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยผ่าน กิจกรรมท่ีหลากหลาย ความรู้สึกดงั กล่าว เช่น ความสนใจ ความชอบ การเห็นความสาคญั และคุณค่า คณะผ้จู ดั ทา คณะทป่ี รึกษา ๑. คุณหญิงกษมา วรวรรณ ณ อยธุ ยา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ๒. นายวนิ ยั รอดจ่าย รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ๓. นายสุชาติ วงศส์ ุวรรณ ท่ีปรึกษาดา้ นพฒั นากระบวนการเรียนรู้ ๔. นางเบญจลกั ษณ์ น้าฟ้า ผอู้ านวยการสานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา ๕. นางภาวนี ธารงเลิศฤทธ์ิ รองผอู้ านวยการสานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา

คณะทางานยกร่าง สถาบนั ส่งเสริมการสอน ประธาน ๑. นายชูศิลป์ อตั ชู วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ขา้ ราชการบานาญ คณะทางาน ๒. นายประมวล ศิริผนั แกว้ สถาบนั ส่งเสริมการสอน คณะทางาน ๓. นายณรงคศ์ ิลป์ ธูปพนม วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบนั ส่งเสริมการสอน คณะทางาน ๔. นายไชยยนั ต์ ศิริโชติ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบนั ส่งเสริมการสอน คณะทางาน ๕. นางผกายดาว สวสั ด์ิสวา่ ง วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบนั ส่งเสริมการสอน คณะทางาน ๖. นางดวงสมร คล่องสารา วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา คณะทางาน ๗. นางสาวจิตรา พณิ โอภาส กรุงเทพมหานคร เขต ๒ สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษา คณะทางาน ๘. นางฉววี รรณ สุนยั ปทุมธานี เขต ๒ โรงเรียนวดั หงส์รัตนาราม คณะทางาน ๙. นายสุนทร จอนสมจิต โรงเรียนแจงร้อนวทิ ยา คณะทางาน ๑๐. นางวลิ าวลั ย์ ภูริวฒั นพงษ์ โรงเรียนสุลกั ขณะ คณะทางาน ๑๑. นางสาวชาลินี บวั บงั ศร โรงเรียนบดินทรเดชา ๒ คณะทางาน ๑๒. นางกนิษฐา อุ่นอนนั ต์ โรงเรียนหอวงั คณะทางาน ๑๓. นางสาวอญั ชลี ยวุ จิต โรงเรียนบดินทรเดชา คณะทางาน ๑๔. นายอุดม ถุงทรัพย์ (สิงห์ สิงหเสนีย)์ โรงเรียน ภปร. ราชวทิ ยาลยั คณะทางาน ๑๕.นนางช่อทิพย์ ตระกูลสวา่ งภพ สานกั วชิ าการและมาตรฐาน คณะทางาน ๑๖. นางนิรมล ตูจ้ ินดา การศึกษา สานกั วชิ าการและมาตรฐาน คณะทางาน ๑๗. นายธญั ญา เรืองแกว้ การศึกษา สานกั วชิ าการและมาตรฐาน คณะทางานและเลขานุการ ๑๘. วา่ ท่ี ร.ต.อุดมศกั ด์ิ ธนะกิจรุ่งเรือง การศึกษา สานกั วชิ าการและมาตรฐาน คณะทางานและผชู้ ่วยเลขานุการ ๑๙. นางสาวกอบกลุ สุกขะ การศึกษา

คณะบรรณาธิการ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑. ดร. พรพรรณ ไวทยางกูร สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒. ดร. จารุวรรณ แสงทอง สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๓. นายชูศิลป์ อตั ชู สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔. นายณรงคศ์ ิลป์ ธูปพนม สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๕. นางนนั ทวรรณ หรรษาเวก สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๖. นางสาวสุพรรณี ชาญประเสริฐ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๗. นางสุทธาทิพย์ หวงั อานวยพร สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘. นางสาวกมลวรรณ แสนบุญรัตน์ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๙. ดร.วนิดา ธนประโยชน์ศกั ด์ิ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑๐. นางสาวอรสา ชูสกลุ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑๑. นายธีรพฒั น์ เวชชประสิทธ์ิ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑๒. นายไชยยนั ต์ ศิริโชติ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑๓. นางรังสรรค์ ศรีสาคร สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑๔. นายราม ติวารี สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑๕. นายสุพจน์ วฒุ ิโสภณ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑๖. นางเบญ็ จวรรณ ศรีเจริญ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑๗. นางสาวกมลนารี ลายคราม สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑๘. นางกญุ ณฏั ฐ์ สวสั ด์ิสวา่ ง สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑๙. นางสุจิตรา ศิริสวสั ด์ิพฒั น์ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒๐. นายกนกศกั ด์ิ ทองต้งั สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒๑. นางสาวสุนิสา แสงมงคลพพิ ฒั น์ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒๒. นายวฒั น วฒั นากูล สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒๓. นางสาวโอริสา สงั ขก์ ลมเกล้ียง สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒๔. นางสาวชุติมา เตมียสถิต สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒๕. นางสาวทิพยว์ รรณ สุดปฐม สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒๖. นางณฐั สรวง ทิพานุกะ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒๗. นางสาวไทนี อนรรฆสนั ต์ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒๘. นายไพรัตน์ วรภกั ดี สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒๙. นางมาลินี น่ิมเสมอ ๓๐. นางพรรณทิพา ธนากรโยธิน

๓๑. นางสาวชุณหกานต์ กลั ลป์ ระวทิ ย์ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๓๒. นางจนั ทร์เพญ็ พรมจนั ทร์ สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาเชียงราย เขต ๑ ๓๓. วา่ ที่ ร.ต.อุดมศกั ด์ิ ธนะกิจรุ่งเรือง สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา ๓๔. นายพิเชฎษ์ จบั จิตต์ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา ฝ่ ายเลขานุการโครงการ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา หวั หนา้ โครงการ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา คณะทางาน ๑. นางสาวรุ่งนภา นุตราวงศ์ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา คณะทางาน ๒. นางสาวจนั ทรา ตนั ติพงศานุรักษ์ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา คณะทางาน ๓. นางดรุณี จาปาทอง สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา คณะทางาน ๔. นางสาวพรนิภา ศิลป์ ประคอง สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา คณะทางาน ๕. นางเสาวภา ศกั ดา สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา คณะทางาน ๖. นางสาวกอบกุล สุกขะ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา คณะทางาน ๗. นางสุขเกษม เทพสิทธ์ิ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา คณะทางาน ๘. นายวรี ะเดช เช้ือนาม สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา คณะทางาน ๙. วา่ ที่ ร.ต. สุราษฏร์ ทองเจริญ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา คณะทางาน ๑๐. นางสาวประภาพรรณ แมน้ สมุทร ๑๑. นายอนุจินต์ ลาภธนาภรณ์ คณะผู้รับผดิ ชอบกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ๑. วา่ ท่ี ร.ต.อุดมศกั ด์ิ ธนะกิจรุ่งเรือง สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา ๒. ๒นางนิรมล ตูจ้ ินดา สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา ๓. ๑นายพิเชฎษ์ จบั จิตต์ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook