ใบความรู้หน่วยท่ี 1 สปั ดาหท์ ี่ 1ชือ่ วชิ า งานฝกึ ฝีมือ สอนครั้งท่ี 1ชือ่ หน่วย ความปลอดภัยทว่ั ไป จานวน 2 ชวั่ โมงช่ือเร่อื ง ความปลอดภัยทัว่ ไป ชั่วโมงรวม 6 ชั่วโมง ความปลอดภัย ถือวา่ เปน็ หัวใจสาคญั ในการปฏบิ ัติงาน เพราะหากปฏบิ ัติงานโดยขาดความรคู้ วามเขา้ ใจในความปลอดภัยจะส่งผลทาให้เกิดความเสยี หายตอ่ ตนเอง ผู้อ่นื และสังคมได้ ดงั นน้ั ผู้ปฏบิ ตั ิงานจึงจาเปน็ ต้องมีความรู้ ความเขา้ ใจ เพ่ือไปปฏิบตั งิ านด้วยความปลอดภยั ปราศจากอบุ ตั เิ หตทุ อ่ี าจเกิดขึ้นได้1. ความหมายของความปลอดภยั และอบุ ัตเิ หตุ 1.1 ความปลอดภยั (Safety) หมายถึง สภาวะการพน้ จากเหตอุ นั ตราย หรอื การปราศจากภยัใด ๆ ทีจ่ ะส่งผลให้ เกดิ การบาดเจ็บ สูญเสียชวี ติ และทรพั ย์สิน 1.2 อุบัติเหตุ (Accident) หมายถงึ เหตกุ ารณท์ ี่เกดิ ขึ้น ท่ไี มม่ ใี ครคาดคิดมาก่อน โดยไมไ่ ดต้ งั้ ใจซงึ่ ทาให้ ส่งผลเกิดการบาดเจ็บ พิการ สูญเสียชวี ติ สญู เสยี ทรพั ยส์ ินหรอื สง่ ผลเสียหายต่อสงั คมและเศรษฐกจิ2. ความปลอดภยั ทั่วไปในการปฏิบัตงิ าน 2.1 ไม่ควรนาเคร่อื งมือที่ชารุดหรือไมส่ มบรู ณม์ าใชง้ าน เพราะจะทาใหเ้ กดิ อนั ตรายตอ่ ตนเองและเพือ่ นรว่ มงานได้ 2.2 ไมค่ วรนาเครื่องมอื ท่ีมีความแหลมคมเกบ็ ไวใ้ นกระเป๋ากางเกงหรือกระเปา๋ เส้อื เพราะอาจเกดิอันตรายกบั ตนเองและเพือ่ นรว่ มงานได้ 2.3 การทางานกับเครือ่ งจกั รควรแตง่ กายใหร้ ัดกมุ ไมค่ วรปลอ่ ยใหผ้ มยาวรุ่มร่าม เพราะอาจเกิดอันตรายจากการใช้เครื่องจักรได้ 2.4 การทางานต้องมสี มาธิ และตง้ั ใจสายตาต้องมองอยู่ท่ีชนิ้ งานตลอดไม่ควรเหมอ่ ลอย เพราะจะทาใหเ้ กดิ อบุ ตั ิเหตุได้โดยง่าย 2.5 การทางานกับเคร่ืองเจาะ ต้องระมัดระวัง เพราะหากประมาท และสะเพรา่ จะทาให้เกิดอบุ ตั ิเหตุได้งา่ ย 2.6 เคร่อื งเจยี ระไน ต้องมีอุปกรณเ์ สรมิ อยา่ งครบถว้ น ไดแ้ ก่ กระป๋องนา้ สาหรับหล่อเย็นและกระจกปอ้ งกบั เศษโลหะ หากไมค่ รบจะก่อใหเ้ กิดอบุ ตั เิ หตุกับผูป้ ฏบิ ัตงิ านได้ 2.7 ควรทาการแตง่ หน้าหนิ ด้วยอปุ กรณ์การแต่งหน้าล้อหินเจียระไน หากเหน็ วา่ ด้านหน้าของล้อหินไมเ่ รยี บ 2.8 การจบั ชนิ้ งานทร่ี ้อนควรสวมถุงมอื หนงั เพือ่ ปอ้ งกันความรอ้ นจากชิ้นงาน 2.9 ก่อนปฏิบัตงิ านต้องตรวจสอบสภาพความของเครอ่ื งและเครอื่ งจักรก่อนทุกคร้งั 2.10 ควรสวมอปุ กรณแ์ ละเคร่อื งมือความปลอดภยั ทกุ ครง้ั ขณะปฏบิ ตั ิงาน 2.11 ควรใชเ้ ครอ่ื งมอื ใหถ้ ูกประเภท 2.12 ขณะปฏบิ ตั งิ านไมค่ วรหยอกลอ้ กันเพราะจะทาใหเ้ กิดอบุ ัติเหตไุ ด้ 2.13 ควรปฏิบตั ิตนตามกฎของโรงงานอยา่ งเคร่งครัด
3. เคร่อื งมอื และอปุ กรณค์ วามปลอดภยั 3.1 แวน่ ตานริ ภัย เพอื่ ใช้ปอ้ งกันเศษโลหะหรือฝุน่ ลอยกระเดน็ เขา้ ตาขณะปฏบิ ตั งิ าน รูปที่1.1 แสดงลักษณะของแว่นตานิรภยั (ทีม่ า : www.pangolin.co.th) 3.2 กระบังหนา้ มไี วเ้ พอื่ ป้องกันเศษโลหะกระเดน็ ถกู ใบหนา้ รูปที่1.2 แสดงลกั ษณะของกระบังหน้าปอ้ งกันเศษโลหะ (ท่มี า : www.a-nake.com/product/74/) 3.3 หน้ากากกรองฝุ่นละออง มีไวเ้ พื่อปอ้ งกันระบบทางเดนิ หายใจ รูปที่1.3 แสดงลกั ษณะของหน้ากากกรองฝุน่ ละออง (ทมี่ า : https://pantip.com/topic/30704708) 3.4 อปุ กรณ์ป้องกนั เสียง ใชส้ าหรับป้องกนั เสียงซึง่ เป็นอนั ตรายต่อหู รูปที่1.4 แสดงลกั ษณะของอปุ กรณป์ ้องกนั เสยี ง (ทมี่ า : www.verisafe.co.th/th/)
3.5 หมวกนริ ภยั มไี วเ้ พอื่ ป้องกันอนั ตรายทีอ่ าจจะเกดิ กบั ศรี ษะ รปู ท1ี่ .5 แสดงลกั ษณะของหมวกนริ ภยั (ท่มี า : www.v-safty.com/type)3.6 หน้ากากเช่ือม มีไวเ้ พ่อื ป้องกนั อันตรายจากแสงและรังสีตา่ งๆ ทเ่ี กดิ จากการ เชอื่ มไฟฟา้ รูปที่1.6 แสดงลกั ษณะหน้ากากเชือ่ ม (ทีม่ า : www.kosanaland.com)3.7 ถุงมือแบบตา่ งๆ มีไวส้ าหรับป้องกนั อนั ตรายทอ่ี าจเกิดกับฝา่ มอื และน้วิ รูปที่1.7 แสดงลักษณะของถงุ มอื ( ทมี่ า : www.verisafe.co.th/th/)
3.8 เข็มขดั นิรภัย มไี วเ้ พอื่ ป้องกนั อันตรายจากการตกจากทส่ี งู รูปท1ี่ .8 แสดงลกั ษณะของเขม็ ขัดนริ ภยั (ที่มา : http://www.ppsafety.co.th) 3.9 รองเท้านริ ภัย มีไว้เพื่อป้องอันตรายที่อาจจะเกิดขนึ้ กบั เท้า ซง่ึ ทั่วไปจะออกแบบใหม้ คี วามแขง็ แรงส่วนปลายหวั ของรองเท้าหุ้มและเสรมิ ด้วยเหลก็ เพอ่ื ป้องกนั ของหลน่ ใส่ รูปท1ี่ .9 แสดงลกั ษณะของรองเท้านริ ภยั (ทมี่ า : http://fb1-d.lnwfile.com) 3.10 ชดุ ปอ้ งกันสารเคมี มีไวเ้ พื่อป้องกันสว่ นตา่ งๆของรา่ งกาย กรณเี ข้าไปปฏิบตั งิ านในเขตพน้ื ที่ท่เี ปน็ กรด รูปท1ี่ .10 แสดงลักษณะของชดุ ป้องกนั สารเคมี (ที่มา : http://juthakron.com)
3.11 ฝักบวั ฉกุ เฉนิ มีไวเ้ พอ่ื ชาระรา่ งกายหากมีอันตรายจากกรดหรอื สารเคมี รูปท1ี่ .11 แสดงลกั ษณะของฝักบวั ฉุกเฉนิ ( ทม่ี า : www.workiconteeh.com)4. สัญลกั ษณค์ วามปลอดภยั ในการปฏิบัติงานในโรงงานอุตสาหกรรมมีลักษณะการทางานท่ีแตกต่างกันออกไปรวมถึงเครื่องมือเครื่องจักร การจัดพ้ืนที่ให้มีความเหมาะสมกับลักษณะของงาน ดังน้ันเพอื่ ความปลอดภัยโรงงานอุตสาหกรรมจึงจาเปน็ ต้องมีแผ่นป้ายและสญั ลักษณ์ตา่ งๆเพอื่ ป้องกนั อันตรายที่อาจเกิดขน้ึ ได้4.1 สีท่ใี ชเ้ พ่ือความปลอดภัยสี ความหมาย ตวั อย่างการใชง้ านบงั คับใหป้ ฏิบัตติ าม ตอ้ งสวมหมวกนริ ภยัแสดงสภาวะความ ทางหนไี ฟ ทางออกฉุกเฉิน หนว่ ยปฐมพยาบาลปลอดภัย พ้ืนทแี่ สดงความปลอดภยัใหร้ ะวังอนั ตราย ชีบ้ อกถึงพื้นที่อันตราย เครอ่ื งหมายแจง้ เตอื น ทางผา่ นทีม่ อี นั ตรายหยดุ แสดงเคร่ืองหมายห้ามแสดงเคร่ืองหมายหยดุ แสดงเครอื่ งหมายอุปกรณห์ ยดุ ฉกุ เฉนิ ตารางที่ 1.1 แสดงสที ใ่ี ชเ้ พอื่ ความปลอดภัย
4.2 เครอื่ งหมายความปลอดภยั 4.2.1 เครอ่ื งหมายห้าม ใชส้ แี ดงตัดด้วยสขี าวโดยมีสญั ลักษณอ์ ย่ตู รงกลาง มีเคร่ืองหมายตา่ งๆดงั น้ี รปู ที่ 1.12 แสดงสญั ลักษณเ์ ครอ่ื งหมายห้าม (ทม่ี า : พฒั นช์ ยั พรมทา. 2556 : 11)
4.2.2 เครอื่ งหมายบังคบั ใช้สีนา้ เงินตัดด้วยสีขาวโดยมีสญั ลกั ษณภ์ าพอย่ตู รงกลางมีเครือ่ งหมายตา่ งๆ ดงั น้ี รูปที่ 1.12 แสดงสัญลกั ษณเ์ ครือ่ งหมายห้าม (ที่มา : พฒั นช์ ยั พรมทา. 2556 : 12)
4.2.3 เคร่ืองหมายเตือน ใช้สเี หลืองตดั ด้วยสีดา โดยมีสญั ลักษณ์ภาพอย่ตู รงกลางโดยปา้ ยเปน็ รปู สามเหลี่ยม โดยมีสญั ญาลกั ษณต์ ่างๆ ดงั นี้ รูปท่ี 1.13 แสดงสญั ลกั ษณเ์ ครอื่ งหมายห้าม ( ท่ีมา : พฒั นช์ ัย พรมทา. 2556 : 12)
4.2.4 เครื่องหมายสภาวะปลอดภยั มีสเี ขยี วตัดกบั สขี าว และมสี ญั ลักษณภ์ าพอยู่กลางโดยมสี ญั ลกั ษณ์ตา่ งๆดังน้ี รูปที่ 1.14 แสดงสัญลกั ษณ์เครอื่ งหมายหา้ ม (ที่มา : พัฒนช์ ยั พรมทา. 2556 : 13)
5. สิ่งแวดล้อมในการทางาน 5.1 ส่งิ แวดลอ้ มการทางาน หมายถงึ สิ่งตา่ งๆ ท่อี ยลู่ อ้ มรอบตัวผู้ปฏบิ ตั งิ านในขณะท่ีทางาน เช่น เพ่ือนรว่ มงานเครือ่ งจักร อุปกรณ์ต่างๆอากาศท่หี ายใจ เสียง แสงสว่าง ความรอ้ น สารเคมี และรวมถงึ เชื้อโรคต่างๆ ดว้ ย 5.2 ปัจจัยสงิ่ แวดล้อมการทางานทีล่ อ้ มรอบตัวผู้ปฏบิ ตั งิ าน มีองคป์ ระกอบ 4 ประการดงั นี้ 5.2.1 สิ่งแวดลอ้ มทางกายภาพ (Physical Environment) สง่ิ แวดลอ้ มท่อี ย่รู อบ ๆ ตัวผปู้ ฏบิ ตั ิงานในขณะทางาน ไดแ้ ก่ เสียงดงั ความร้อนความสัน่ สะเทอื น แสงสว่าง ความกดดันบรรยากาศ ตลอดจนเคร่ืองมือ เครื่องจักร อปุ กรณ์ตา่ งๆ รวมทัง้บรเิ วณสถานที่ทางาน 5.2.2 สงิ่ แวดลอ้ มทางเคมี (Chemical Environment) สงิ่ แวดล้อมทผ่ี ้ปู ฏิบตั งิ านต้องเกย่ี วข้อง เช่น สารเคมที ใี่ ช้ สารเคมที ี่เป็นผลผลติสารเคมีทเ่ี ป็นของเสียตอ้ งกาจดั เชน่ สงั กะสี แมงกานีส สารตะกวั่ สารปรอท สารเคมีนัน้ อาจอยู่ในรปู ของกา๊ ซ ไอ ฝุ่น ละลอง ควัน หรืออยู่ในรูปของเหลว เช่น ตัวทาละลาย กรด ดา่ ง เปน็ 5.2.3 สิ่งแวดลอ้ มทางชีวภาพ (Biological Environment) ประกอบดว้ ยส่ิงแวดล้อมทีม่ ีชีวติ ได้แก่ แบคทีเรยี เชื้อรา ไวรัส พยาธิ และสตั ว์ อนื่ ๆ เชน่ งู ตะขาบ และสิง่ แวดลอ้ มทไ่ี ม่มชี ีวติ ไดแ้ ก่ ฝุ่นฝ้าย ฝุ่นข้าว ฝุ่นเมลด็ พชื ต่าง ๆ 5.2.4 ส่ิงแวดลอ้ มทางเออรก์ อนอมคิ ส์ (Ergonomics) สง่ิ แวดลอ้ มที่มผี ลตอ่ ภาวะทเ่ี ก่ยี วกบั จติ วทิ ยาสังคม และเศรษฐกจิ ในการทางานได้แก่ สภาวะในการทางานท่ถี ูกเรง่ รัดหรือบบี บงั คบั ใหต้ ้องทางาน โดยไม่คานงึ ถงึ สภาพความเป็นอยู่ หรอืมอบหมายใหท้ างานมากเกินกาลงั หรอื ทางานซ้าซาก จนเกดิ ความเบ่อื หนา่ ย การทางานลว่ งเวลา การทางานกับเพอื่ นรว่ มงานทแ่ี ปลกหนา้ ส่ิงเหล่านอ้ี าจเป็นสาเหตุใหเ้ กดิ ความกดดนั ทางจิตใจ ซ่ึงเป็นผลเสียตอ่การปฏิบตั ิงาน
Search
Read the Text Version
- 1 - 10
Pages: