Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Media-Design

Media-Design

Published by ipor2009, 2016-09-22 05:48:22

Description: Media-Design

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการเรียนวิชาการผลิตสือ่ ส่งิ พมิ พท์ างธุรกจิ ด้วยคอมพิวเตอร์ หนา้ |1หลักการออกแบบสิ่งพมิ พ์ สงิ่ พิมพท์ ีพ่ บเหน็ โดยทวั่ ไปประกอบด้วยองคป์ ระกอบสาคญั หลายอย่าง ไดแ้ ก่ ตัวอักษรหรอื ข้อความ ภาพประกอบ เนือ้ ทีว่ า่ งและส่วนประกอบอนื่ การออกแบบส่ิงพมิ พต์ อ้ งคานงึ ถงึการจดั วางองคป์ ระกอบตา่ งๆ ดงั กลา่ วเข้าดว้ ยกันโดยใชห้ ลักการดังนี้ ทิศทางการและการเคล่ือนไหว (Direction & Movement) เมือ่ ผรู้ บั สารมองดูส่อื สิง่ พมิ พ์ การรบั รูเ้ กดิ ขนึ้ เป็นลาดับตามการมองเหน็ กลา่ วคือเกดิ ข้นึตาม การกวาดสายตาจาก องคป์ ระกอบหนึง่ ไปยังอีกองค์ประกอบหน่งึ จึงมคี วามจาเป็นอยา่ งยงิ่ท่ีจะต้องมีการดาเนนิ การวางแผน กาหนดและชกั จงู สายตาของผูร้ ับสารใหเ้ คลอ่ื นไหวไปในทศิ ทางที่ถกู ตอ้ ง ตามลาดับ ขององคป์ ระกอบทต่ี อ้ งการใหร้ บั รกู้ อ่ นหลัง โดยทว่ั ไปหากไมม่ กี ารสรา้ งจดุ เดน่ ขึน้ มา สายตาของผรู้ ับสารจะมองดูหนา้ กระดาษที่เป็นสื่อพิมพ์ในทศิ ทางของตวั อกั ษรซี(Z) ในภาษาอังกฤษ คือ จะเริ่มมองที่มุมบนด้านขวา แลว้ ไลล่ งมายงั มมุ ล่างด้านซ้าย ไปจบทีม่ มุล่างดา้ นขวาตามลาดับ การจัดองค์ประกอบที่สอดคล้องกับธรรมชาตขิ องการมองน้ี เปน็ สว่ นชว่ ยให้เกิดการรับรตู้ ามลาดับท่ตี ้องการ เอกภาพและความกลมกลนื (Unity & Harmony) เอกภาพคือความเปน็ อันหนึ่งอันเดยี วกนั ซึง่ ในการจัดทาเลย์เอาต์หมายถึงการนาเอาองค์ประกอบทแี่ ตกตา่ งกนั มาวางไวใ้ น พืน้ ทีห่ นา้ กระดาษเดียวกนั ไดอ้ ย่างกลมกลนื ทาหนา้ ที่สอดคล้องและสง่ เสรมิ กนั และกนั ในการสอ่ื สารความคดิ รวบยอดและบุคลกิ ภาพของส่ือส่ิงพมิ พน์ ้ัน ๆ การสรา้ งเอกภาพนส้ี ามารถทาได้หลายวธิ ี เช่น

เอกสารประกอบการเรยี นวิชาการผลิตสือ่ สง่ิ พิมพท์ างธุรกจิ ด้วยคอมพวิ เตอร์ หน้า |2 1. การเลอื กใชอ้ งค์ประกอบอย่างสม่าเสมอ เช่น การเลือกใช้ แบบตัวอักษรเดียวกนั การเลอื กใช้ภาพขาว ดาท้งั หมด เปน็ ตน้2. การสรา้ งความตอ่ เนอ่ื งกนั ใหอ้ งคป์ ระกอบ องค์ประกอบ เชน่ การจดั ใหพ้ าดหัววาง ทับลงบนภาพ การใช้ตวั อกั ษรทีเ่ ป็นขอ้ ความ ล้อตาม ทรวดทรง ของภาพ เป็นตน้ 3. การเวน้ พืน้ ทีว่ า่ งรอบองค์ประกอบท้งั หมด ซ่ึงจะทาให้พนื้ ท่ี วา่ งน้ันทาหนา้ ทเี่ หมือนกรอบสขี าวลอ้ มรอบองค์ประกอบทั้งหมด ไว้ภายในช่วยให้องค์ ประกอบท้ังหมดดเู หมอื นว่าอยกู่ ันอยา่ งเป็น กลุ่มเป็นก้อน  ความสมดุล (Balance) หลกั การเรื่องความสมดุลน้เี ป็นการตอบสนองธรรมชาติของผูร้ ับสารในเรื่องของแรงโน้มถ่วง โดยการจัดวางองคป์ ระกอบท้งั หมดในพื้นท่หี น้ากระดาษ จะตอ้ งไมข่ ัดกับความรู้สึกน้ี คอืจะตอ้ งไม่ดูเอนเอียงหรอื หนกั ไปด้านใดดา้ นหน่งึ โดยไม่มอี งค์ประกอบมาถ่วงในอกี ด้าน การจัดองค์ประกอบใหเ้ กดิ ความสมดุลแบ่งไดเ้ ปน็ 3 ลักษณะคือ

เอกสารประกอบการเรียนวิชาการผลิตส่ือสิ่งพมิ พท์ างธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ หน้า |3 1. สมดุลแบบสมมาตร (Symmetrical Balance) เปน็ การจัดวางองคป์ ระกอบโดยใหอ้ งค์ประกอบในดา้ นซ้ายและดา้ นขวาของพ้นื ท่ี หนา้ กระดาษมีลกั ษณะเหมือนกนั ทัง้ สองข้าง ซึง่ องค์ประกอบ ท่ีเหมอื นกันใน แต่ละดา้ นนจี้ ะ ถ่วงน้าหนกั กนั และกันใหเ้ กดิ ความร้สู กึ สมดลุ2. สมดลุ แบบอสมมาตร(AsymmetricalBalance)เป็นการจัดวางองคป์ ระกอบโดยให้องค์ประกอบในดา้ นซ้ายและด้านขวาของพน้ื ที่หนา้ กระดาษมลี ักษณะไม่เหมอื นกนั ทงั้ สองขา้ ง แม้องคป์ ระกอบจะไม่เหมือนกันในแตล่ ะด้านแต่ก็จะถ่วงน้าหนกั กนั และกนั ใหเ้ กดิ ความสมดุล

เอกสารประกอบการเรียนวชิ าการผลิตส่อื ส่งิ พมิ พท์ างธรุ กจิ ดว้ ยคอมพวิ เตอร์ หน้า |4 3. สมดุลแบบรศั มี (Radial Balance) เปน็ การจัดวางองค์ประกอบ โดยใหอ้ งคป์ ระกอบแผ่ไปทุกทศิ ทุกทางจากจุดศูนยก์ ลาง สัดสว่ น (Proportion) การกาหนดสดั ส่วนน้เี ปน็ การกาหนดความสัมพันธใ์ นเร่อื งของขนาด ซ่ึงมคี วามสาคัญโดยเฉพาะในหน้ากระดาษของสือ่ สง่ิ พมิ พท์ ีต่ ้องการใหม้ ีจุดเดน่ เช่น หน้าปกหนงั สอื เป็นต้น เพราะองคป์ ระกอบทม่ี ีสดั สว่ นแตกตา่ งกนั จะดึงดูดสายตาได้ดีกว่าการใช้ องคป์ ระกอบทง้ั หมดในสัดสว่ นทีใ่ กล้เคียงกนั ในการกาหนดสดั สว่ นจึงตอ้ งพิจารณาองคป์ ระกอบทง้ั หมดในพ้ืนท่ีหน้ากระดาษไปพร้อม ๆ กนั ว่าควรจะเพิ่มหรือลดองค์ประกอบใด ไมใ่ ช่ค่อย ๆ ทาไปทลี ะองค์ประกอบ

เอกสารประกอบการเรยี นวชิ าการผลิตสื่อสงิ่ พิมพท์ างธรุ กิจด้วยคอมพวิ เตอร์ หนา้ |5 ความแตกต่าง (Contrast) เปน็ วธิ ีการทง่ี า่ ยที่สดุ โดยการเนน้ ให้องคป์ ระกอบใดองค์ประกอบหนง่ึ เด่นขนึ้ มาดว้ ยการเพมิ่ ขนาดใหใ้ หญ่กวา่ องคป์ ระกอบอืน่ ๆ โดยรอบ เช่น พาดหวั ขนาดใหญ่ เปน็ ต้น ซ่ึงโดยธรรมชาติแลว้ ผ้ดู จู ะเลือกมองดอู งคป์ ระกอบท่ีใหญก่ ว่ากอ่ น 1. ความแตกตา่ งโดยขนาด เป็นวธิ ีการที่งา่ ยที่สุด โดยการเนน้ ให้องค์ประกอบใด องคป์ ระกอบหนึ่ง เด่นขึน้ มาดว้ ย การเพ่มิ ขนาดใหใ้ หญ่ กวา่ องค์ประกอบอ่ืน ๆ โดยรอบ เช่น พาดหัวขนาดใหญ่ เป็นต้น ซึง่ โดยธรรมชาติแลว้ ผู้ดูจะเลือกมองดู องคป์ ระกอบที่ใหญ่กวา่ ก่อน 2. ความแตกตา่ งโดยรูปรา่ ง เปน็ วธิ ีท่เี นน้ ให้องคป์ ระกอบใดองค์ประกอบหน่ึงเดน่ข้นึ มาด้วยการใชร้ ปู รา่ งทแี่ ตกต่างออกไปจากองคป์ ระกอบอื่นในหน้ากระดาษ เชน่ การไดคตั ภาพคนตามรปู รา่ งของร่างกายแล้วนาไปวางในหน้ากระดาษท่ีมภี าพแทรกเลก็ ๆ ท่ีอยใู่ นกรอบสเี่ หลีย่ มเปน็ ต้น

เอกสารประกอบการเรยี นวชิ าการผลติ สอ่ื สิง่ พิมพท์ างธรุ กจิ ด้วยคอมพวิ เตอร์ หนา้ |6 3.ความแตกต่างโดยความเข้ม เป็นวธิ ีการท่เี น้นใหอ้ งค์ประกอบใดองคป์ ระกอบหน่งึ เดน่ ข้ึนมาดว้ ยการใช้เพิ่มหรือลด ความเขม้ หรอื น้าหนกั ขององค์ประกอบนัน้ ให้เข้มหรืออ่อนกว่าองคป์ ระกอบอื่นท่ีอยูร่ ่วมกนั ใน หนา้ กระดาษ เชน่ การใช้ตัวอักษรที่เป็นตัวหนาในยอ่ หนา้ ท่ตี อ้ งการเนน้ เพยี งย่อหน้าเดียวใน หน้ากระดาษ เป็นตน้4. ความแตกตา่ งโดยทศิ ทางทิศทาง เป็นวิธกี ารท่เี นน้ ใหอ้ งค์ประกอบใดองคป์ ระกอบหน่งึ เดน่ ขน้ึ มาด้วยการวางองค์ประกอบท่ี ต้องการจะเน้นน้ันให้อยูใ่ นทิศทางท่ีแตกต่างจากองค์ประกอบอ่นื ๆ ทอี่ ยูร่ ่วมกนัในหนา้ กระดาษเชน่ การวางภาพเอยี ง 45 องศา ในหนา้ กระดาษทเี่ ต็มไปด้วยตัวอักษรทเี่ รยี ง เป็นแนวนอนเปน็ ตน้

เอกสารประกอบการเรยี นวชิ าการผลติ สือ่ สิง่ พมิ พท์ างธุรกจิ ด้วยคอมพิวเตอร์ หน้า |7  จังหวะ ลีลา และการซ่า้ (Rhythm & Repetition) การจดั วางองค์ประกอบหลาย ๆ ช้นิ โดยกาหนดตาแหน่ง ขององคป์ ระกอบให้เกดิ มีชอ่ งว่างเปน็ ชว่ ง ๆ ตอน ๆ อย่างมกี ารวางแผนลว่ งหนา้ จะทาให้เกิดจงั หวะและลีลาขึ้น และ หากวา่ องคป์ ระกอบหลาย ๆ ชน้ิ น้นั มีลกั ษณะซา้ กันหรือใกล้เคยี งกนั ก็จะยิง่ เปน็ การเนน้ ให้ เกดิ จงั หวะและลีลา ไดช้ ดั เจนยิ่งข้นึ ลกั ษณะตรงกันข้ามกบั แบบแรก จังหวะและลีลาลกั ษณะนี้ จะก่อใหเ้ กดิ ความรสู้ กึ ที่ต่นื เต้นดูเคล่ือนไหวและมีพลัง

เอกสารประกอบการเรียนวชิ าการผลติ สือ่ ส่งิ พมิ พท์ างธรุ กิจดว้ ยคอมพิวเตอร์ หนา้ |8ระบบกริดในการออกแบบทางการพิมพ์ ในการออกแบบใดๆกต็ าม การท่จี ะนาองคป์ ระกอบต่างๆเขา้ ไปสู่การจัดองค์ประกอบ สงิ่ แรกที่ต้องคานึงถึงกค็ อื กรอบของงานทถ่ี ือเปน็ อาณาบริเวณ พื้นทีข่ องช้นิ งานนั้น ว่านาองค์ประกอบเหล่าน้นั ไปจดั วางไดอ้ ย่างเหมาะสม สวยงาม น่าสนใจและเกิดประโยชน์ใชส้ อยได้ดีเพยี งไรในการออกแบบ งานพมิ พก์ ็มลี กั ษณะเดียวกัน กล่าวคอื ได้มีการจดั แบง่ พืน้ ทขี่ องช้ินงานทจี่ ะตีพมิ พ์ออกเปน็ ส่วนยอ่ ยๆที่เป็นกรอบของงานพมิ พ์ โดยวางอยใู่ นรปู ของ ตารางท่เี รียกกันวา่ ระบบกริดทง้ั นี้เพ่อื ที่จะได้นาส่วนตา่ งๆไม่ว่าจะเปน็ ข้อความท่เี ป็นตัวพิมพ์หรือภาพมาจัดวางตามหลักการออกแบบทางการพมิ พ์ ซึ่งระบบกริดนี้ไดน้ าพื้นทีข่ องกรอบส่งิ พมิ พ์ในหน้านั้นๆมาจดั แบ่งเปน็ตารางพื้นที่ย่อยๆโดยใช้เสน้ แนวตั้งและแนวนอนเพ่อื สรา้ งตาราง แลว้ ใช้ ้จินตนาการ ตามหลักการออกแบบมาคานวณทางสายตาเพื่อจัดวางขอ้ ความและภาพน้นั เปน็ อาร์ตเวริก์ ระบบกริดที่นามาใชใ้ นการออกแบบประกอบดว้ ยส่วนทสี่ าคญั 8 ส่วน ดงั นี้

เอกสารประกอบการเรียนวิชาการผลติ สื่อสง่ิ พิมพท์ างธุรกจิ ด้วยคอมพวิ เตอร์ หนา้ |9 1. มุมของกรดิ (Gridn Intersection) หมายถึง ตาแหนง่ ทเ่ี ส้นแนวตัง้ และแนวนอนของตาราง ตดั กัน มุมของกรดิ น้ีใช้ควบคุมพื้นที่พมิ พอ์ ยใู่ นขอบเขตที่กาหนด และให้พนื้ ทีท่ ่ีวางได้มุม ฉากกบั ตารางอยา่ งมคี วามเป็นระเบยี บต่อเนอ่ื ง กลมกลืนและเอกภาพ 2. เส้นตดั เจยี น (Trim Mask) แนวเสน้ ทใ่ี ชว้ างเครอ่ื งหมายแสดงขนาดของสง่ิ พิมพ์ท่ตี ้องการ จริงภายหลังการจดั พิมพ์ ทาเลม่ และตัดเจียนเสร็จเรียบรอ้ ยแล้วซง่ึ ขนาดดงั กลา่ วอาจ เรียกอกี อย่างหนงึ่ ว่า ขนาดของกรดิ 3. ชอ่ งวา่ งหรอื กัตเตอร์ (Gutter) หมายถึง พนื้ ท่วี ่างระหว่างกรอบพื้นที่พิมพ์ของหนา้ ซ้ายกบั กรอบพ้นื ที่พมิ พ์ของหนา้ ขวา ซงึ่ เปน็ แนวของส่วนทเ่ี ว้นไว้ดา้ นสนั ของสิ่งพิมพ์อนั เปน็ ช่องว่างหนา้ คทู่ เี่ รยี กว่า อกกลาง ชอ่ งวา่ งกัตเตอรน์ มี้ ีประโยชนต์ ่อการเบง่ พนื้ ท่ีพิมพ์ของ แต่ละหนา้ ออกจากกนั และเอื้อตอ่ การเปิดอา่ นเพราะได้วางแนวช่องว่างนไ้ี วเ้ พยี งพอตอ่ การทาเลม่ 4. เสน้ ตัดเจยี น 5. ตาแหนง่ เลขหนา้ (Follo) หมายถงึ ตาแหน่งท่ีกาหนดไวเ้ พอื่ วางลาดบั เลขหน้า โดยอาจใช้ วางตวั พมิ พช์ ่อื หนังสอื หรอื ช่อื บทด้วยกไ็ ด้ เพ่อื ใหเ้ กิดความต่อเนอ่ื งเปน็ ระบบและระเบียบ อันมปี ระโยชนต์ อ่ การรู้ลาดับการเรียงของงานพิมพ์วา่ อยู่หน้าใดและมคี วามหนาเท่าใด 6. อัลเลย์ (Alley) หมายถงึ ชอ่ งวา่ งของพ้นื ทพี่ ิมพ์ตามแนวตั้งหรอื แนวนอนอนั ขนานกับเส้น ตารางโดยเห็นเปน็ ช่องว่างระหว่างบรรทดั หรอื คอลัมนท์ ่ีประกอบเปน็ ข้อความหรอื ภาพ 7. หน่วยของกริด (Grid Unit) หมายถงึ พื้นท่พี มิ พอ์ ันดูแลว้ เป็นกลมุ่ ของตารางท่ีจดั ไวเ้ ป็นช ขุดหรอื พ้ืนที่พิมพ์ทีเ่ กาะหลุ่มกนั ภายในอัลเลยท์ ี่ลอ้ มรอบอยนู่ ัน้ ซ่งึ มีประโยชน์ต่อการ จดั พมิ พ์และอ่าน ที่ดูแล้วมกี ารแบง่ ออกเป็นกลุม่ ๆ 8. กัตเตอร์ 9. เส้นพับ (Fold Line) เสน้ แนวกง่ึ กลางของหน้ากระดาษระหวา่ งกตั เตอรเื พอ่ื ใชพ้ ับในการ ทาเลม่ หรือเป็นส่วนทใี่ ชใ้ นการแบง่ สงิ่ พมิ พน์ น้ั

เอกสารประกอบการเรยี นวิชาการผลติ สอ่ื สิง่ พิมพท์ างธรุ กจิ ด้วยคอมพวิ เตอร์ หน้า | 10 ตวั อย่างการออกแบบส่งิ พมิ พโ์ ดยใชร้ ะบบกรดิ การใช้ระบบกริดในการออกแบบทางการพมิ พน์ นั้ เปน็ การวางแผนเพื่อกาหนดวา่ จะนาเอาขอ้ ความหรอื ภาพ ทั้งสว่ นที่เปน็ หวั เรอื่ ง ยอ่ หนา้ ข้อความ คาบรรยาย ภาพ แผนภูมิ ตาราง เลขหนา้ ช่ือหนงั สือหรือชอื่ บทความไว้ในตาแหนง่ ใดจึงจะถูกตอ้ ง เหมาะสม และสวยงาม เม่ือกาหนดจนเปน็ ที่พอใจแล้ว ก็นาไปสู่การดาเนินงานเพอื่ จัดทาเปน็ อารก์ เวรกิ ์ ดงั นั้น จงึ กล่าวได้ว่าระบบกริด เปรียบเสมือนพมิ พเ์ ขยี ว ที่ใชใ้ นการออกแบบจัดหน้าสิ่งพิมพ์ 

เอกสารประกอบการเรียนวชิ าการผลติ สอื่ สง่ิ พมิ พท์ างธุรกจิ ด้วยคอมพวิ เตอร์ หนา้ | 11การออกแบบหนังสือพมิ พ์ เนอื่ งจากหนังสือพมิ พ์ส่วนใหญ่จัดทาขน้ึ เพ่ือออกเผยแพร่เปน็ ประจา การออกแบบหนังสอื พมิ พจ์ งึ เปน็ เรอื่ งทีต่ ้องมีการแข่งขันกบั เวลามาก ท่สี ดุ เมื่อเทยี บกบั การออกแบบส่อื สิง่ พมิ พ์อืน่ ๆ นอกจากนหี้ นงั สือพิมพ์ทั่วไปซ่งึ ไม่ใชห่ นงั สอื พมิ พ์เฉพาะดา้ น เชน่ หนงั สือพมิ พ์กฬี า จะมีเน้อื หาขอ้ มลู ทเ่ี ป็น ข่าวสารมากมายหลายดา้ น เช่น การเมอื ง บนั เทงิ ศาสนา ฯลฯ ถ้าเพียงแค่พิจารณาตวั แปรสองประการดังกลา่ วกจ็ ะเหน็ ไดว้ ่า การออกแบบหนังสอื พิมพเ์ ป็น เรื่องท่ีท้าทายความสามารถของนักออกแบบอยา่ งมาก หลักการท่ัวไปในการออกแบบหนงั สือพิมพ์ มี 2 เรอ่ื งสาคญั คือสิง่ ท่ตี อ้ งกาหนดและวางแผนก่อนการออกแบบหนังสอื พมิ พ์กับองคป์ ระกอบและการจดั วางองคป์ ระกอบในการออกแบบหนังสอื พิมพ์กอ่ นจะทาการออกแบบหนังสือพมิ พน์ ัน้ มเี รือ่ งที่จะตอ้ งมกี ารกาหนดและวางแผนเฉพาะในสว่ นที่เกีย่ วขอ้ งในการออกแบบ ดงั นี้  การกา่ หนดขนาดและรูปแบบของหนงั สือพมิ พ์ ในการกาหนดขนาดและรปู แบบของหนังสอื พิมพน์ ้ัน ส่ิงแรกทจี่ ะต้องคานงึ ถึงกค็ ือประเภทของหนังสือพิมพ์นัน้ ซึง่ โดยทวั่ ไปแลว้ขนาดของ หนงั สอื พมิ พ์ทนี่ ยิ มใช้กันเป็นมาตรฐานมีดังนี้ 1. หนังสือพมิ พแ์ ผ่นใหญ่ ( Broad Sheet) หรือขนาดเตม็ หนา้ กระดาษ ( Full Size) เป็นขนาดที่ใชก้ นั ทั่วไปใน หนังสอื พิมพ์ประเภทหนงั สือพมิ พ์รายวันที่รายงานขา่ วทว่ั ไป 2. หนงั สือพิมพแ์ ผน่ เล็ก (Half Size หรือ Tabloid)เปน็ หนังสอื พมิ พ์ท่ีรายงานขา่ วเฉพาะดา้ น เช่น หนงั สือพมิ พ์กีฬา เปน็ตน้ ในต่างประเทศนยิ มใชก้ ับหนงั สือพิมพป์ ระเภท รายงานข่าวเร้าใจในประเทศไทยนยิ มใช้ทา หน้าแทรกในโอกาสตา่ ง ๆ (Supplement)นอกจากการกาหนดขนาดและรูปแบบตามประเภทของขา่ วท่ีหนงั สอื พิมพ์นน้ั รายงานแล้วยังตอ้ งคานึงถงึ ความสะดวกสบาย ในการถืออ่านและการจดั เกบ็ เม่อื อ่านเสรจ็ แลว้ นอกจากนย้ี ังตอ้ งนึกถึงความประหยัดในด้านต้นทนุ การพมิ พแ์ ละการผลิตดว้ ย

เอกสารประกอบการเรยี นวชิ าการผลติ สอ่ื สง่ิ พิมพท์ างธุรกจิ ดว้ ยคอมพิวเตอร์ หนา้ | 12  แบบและขนาดตัวอกั ษร เนือ่ งจากความหลากหลายในประเภทเนอ้ื หาของขา่ วในหนังสือพมิ พ์ ทาให้ดเู หมือนกับว่าจะต้องมีการใชต้ วั อกั ษรหลาย ๆ แบบเพ่ือใหเ้ หมาะสมกบัประเภทเนอื้ หาของขา่ วแต่ละเรื่อง ซึง่ ก็มีส่วนถกู อยู่บา้ ง แต่หากมีการเลือกใชแ้ บบของตวั อกั ษรเปล่ียนแปลงไปเร่ือย ๆ ก็อาจจะก่อใหเ้ กิดปญั หาทัง้ ในด้านประโยชน์ใช้สอยและดา้ นการส่ือสาร กลา่ วคืออาจจะเกดิ ความสบั สนในการอา่ นและความยุง่ ยากในการตดิ ตามขา่ วเนอื่ งจาก รปู แบบทหี่ ลากหลายย่อมทาให้ดซู ับซ้อนไดง้ ่าย นอกจากนีก้ ารไมม่ รี ปู แบบแน่นอนยังจะมีผล ทาใหผ้ อู้ า่ นไมส่ ามารถจบั ภาพลกั ษณ์ทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ของหนงั สอื พมิ พไ์ ด้ นอกจากแบบของตวั อักษร แลว้ขนาดของตวั อกั ษรกค็ วรจะมีการกาหนดด้วย ท้งั นจ้ี ะตอ้ งคานงึ ถงึ ความยืดหย่นุ เชน่ เดียวกัน โดยขนาดตัวอักษรทีใ่ ชเ้ ป็นตัวพิมพ์เน้อื เร่อื งนนั้ ไม่ควรมีขนาดเลก็ กว่า 12 พอยตเ์ พราะจะ ทาใหย้ ากตอ่ การอ่านเม่อื มีเน้ือหาของข่าวจานวนมาก สว่ นตัวอกั ษรทใี่ ชเ้ ปน็ ตัวพิมพ์หัวเร่อื ง หวั รอง ฯลฯ นั้นควรจะมีขนาดใหญ่ตง้ั แต่ 18 พอยตเ์ ป็นต้นไปเพอ่ื จะไดส้ ามารถเน้น หรอื เรียกรอ้ งความสนใจได้  หนา้ แรกของหนังสือพมิ พ์ คอื สว่ นของหนังสือพมิ พ์ซึง่ ผ้ผู ่านไปมาจะพบเหน็ และอา่ นก่อนหน้าอนื่ ๆ และเนอื่ งจากผทู้ ี่ผา่ นไปมาน้ันเลือกซือ้ หนงั สือพิมพ์ก็เพราะข่าวทีน่ าเสนอ สิง่ ท่ีนักออกแบบควรจะทาให้หนา้ แรกมปี ระสิทธภิ าพสงู สดุ กค็ ือ การเลอื กนาเสนอข้อมูลท่ีเปน็ หัวเร่ืองหรือพาดหัว และภาพของข่าวทนี่ ่าสนใจนั้นอย่างชัดเจน งา่ ยแกก่ ารอ่านหรอื ดูรู้เรอื่ งได้ในเวลาอันรวดเรว็ ท้ังนนี้ กั ออกแบบจะตอ้ งจัดการกบั องค์ประกอบซงึ่ ปรากฏอยู่ในหนา้ แรก รปู แบบมาตรฐานของหนา้ แรก หน้าแรกของหนังสือพมิ พ์ควรจะไดร้ บั การออกแบบใหม้ ีรูปแบบมาตรฐานในการจดั วางองค์ประกอบตา่ ง ๆ ท้งั น้เี ป็นตวั อกั ษรและภาพ รปู แบบนจี้ ะต้องไดร้ ับการรกั ษาไวใ้ ชท้ ุกฉบับตอ่ เนอื่ งกนั ไปเรอ่ื ย ๆ ไม่ว่าจะเปน็ ตาแหนง่ และขนาดของตวั อักษรและภาพ เพ่อื ใหก้ ลมุ่ เป้าหมาย เกดิ คุ้นเคยและจดจาไดจ้ นกลายเปน็ เอกลกั ษณเ์ ฉพาะตัวของหนังสือพิมพไ์ ปในทีส่ ดุ อย่างไรก็ตามรปู แบบมาตรฐานนี้จะต้องมีความยดื หยุ่นสงู เน่อื งจากภาพและตวั อกั ษรของแต่ละฉบบั น้ันจะต้องขนึ้ อยู่กับข่าวของแตล่ ะวนั ว่ามีปริมาณและ คณุ ภาพเป็นอยา่ งไร เช่น หากวันใดมภี าพทสี่ ่ือสาร ไดด้ ีก็อาจจะลดขนาดตวั อักษรที่เป็นหวั ขา่ วหรอื พาดหวัให้มขี นาดเลก็ ลง เปน็ ตน้ รปู แบบการจดั วางองค์ประกอบในหนา้ แรกของหนังสือพมิ พน์ ้ีอาจ แยกเป็นแบบทน่ี ยิ มใชก้ ันทั่วไปได้ 5 แบบดังน้ี

เอกสารประกอบการเรยี นวิชาการผลิตส่ือสง่ิ พิมพท์ างธุรกจิ ด้วยคอมพิวเตอร์ หนา้ | 13 1. แบบสมมาตร (Symmetrical Balance) เปน็ การจัดวางองคป์ ระกอบทางดา้ นซ้ายและขวาของหนา้ ให้เหมอื นกนั หรอื สมดลุ แบบเทา่ กันสองดา้ น โดยวางหัวหนงั สือพิมพ์ไว้ตอนบนตรงกลางหนา้ รปู แบบการจดั วางแบบสมมาตรนไี้ ม่คอ่ ยเป็นที่นยิ ม แลว้ ในปจั จบุ นั เน่ืองจากไมค่ อ่ ย มีความยืดหยุ่น ในการนาเสนอและทาใหห้ น้าหนังสอื พมิ พ์ดูนงิ่ ไม่น่าต่ืนเตน้ 2. แบบอสมมาตร (Asymmertrical Balance) เปน็ การจดั วางองคป์ ระกอบแบบทท่ี างดา้ นซ้ายและขวาไม่เหมือนกนั แต่มกี ารวางให้เกดิ ความ รู้สกึ โดยรวมแลว้ ดสู มดลุ รูปแบบการจดั วางแบบอสมมาตรนี้เป็นทน่ี ิยม ใช้มากเนื่องจากมคี วามยืดหยนุ่ ในการนาเสนอภาพและ ขอ้ ความอีกท้งั ยัง ทาให้หนา้ หนงั สอื พมิ พด์ ตู ่นื เต้นมีชวี ิตชีวา 3.แบบยดึ โยง (Brace) เป็นการจดั วางองคป์ ระกอบโดยจดั ใหข้ า่ วแต่ละเรอ่ื งเรยี งตัวเปน็ ลักษณะรูปตวั แอลใหญ่ (L) ทัง้ ตัวแอลปกติ และตวั แอลที่กลบั ซา้ ย-ขวา เพอื่ ใหแ้ ตล่ ะขา่ วสอดยดึ โยงกันและกันเอาไว้ รปู แบบการ จดั วางแบบยดึ โยงนี้ ไมค่ ่อยเป็นทีน่ ิยมมากนกั ในปจั จบุ ันแมจ้ ะมีความยดื หยนุ่ และดูตนื่ เต้นก็ตาม

เอกสารประกอบการเรียนวิชาการผลติ สือ่ สิ่งพิมพท์ างธรุ กิจด้วยคอมพิวเตอร์ หนา้ | 14 4.แบบละครสตั ว์ (Circus) เป็นการจดั วางองค์ประกอบแบบสนุกสนานดี ไม่เป็นทางการ มคี วามยืดหยุ่นในการจดั วางมากและ ดตู ่นื เต้น แต่ความเปน็ ทางการของรปู แบบนท้ี าให้ไม่เป็นทีน่ ิยมใช้กับหนังสือพมิ พ์ที่รายงานข่าวทัว่ ไป เพราะมีผลทาให้ข้อมูลทนี่ าเสนอดไู มน่ า่ เชอื่ ถือ 5.แบบแนวนอน (Horizontal) เปน็ การจัดวางองค์ประกอบโดยจัดใหข้ า่ วแตล่ ะเร่อื ง เรยี งตวั ละเปน็ แนวนอนไลจ่ ากด้านบนของ กระดาษลงมาสู่ ดา้ นลา่ ง รูปแบบนีม้ คี วามยดื หยุ่นในการจดั วางมากแตก่ ็ดูไม่ ต่นื เต้นนัก นอกจากการจัดท้งั 5 แบบที่นิยมใช้กันทวั่ ไปแลว้ ยงั มกี ารจดั แบบแนวตัง้ ( Vertical) ซงึ่เปน็ การจดั วางองค์ประกอบโดยจดั ใหข้ า่ ว แตล่ ะเร่อื ง เรยี งตัวกัน เปน็ แนวตง้ั ไลจ่ ากด้านซ้ายของกระดาษลงมาสู่ด้านขวารูปแบบนีไ้ ม่คอ่ ยเปน็ ทน่ี ิยมมากนักในปจั จุบนั หวั หนงั สอื พิมพ์ นิยมออกแบบโดยนาเอาตวั อักษรทเี่ ป็นชือ่ ของหนังสือพิมพน์ ัน้ ๆ มาจัดเรยี งและดดั แปลงให้มลี กั ษณะเฉพาะตวั โดยจัดองคป์ ระกอบให้เกิดเปน็ ตราสัญลกั ษณ์ประเภท ตวั อักษร (Logo) ซง่ึ จะตอ้ งโดดเดน่ และง่ายแกก่ ารจดจา หนังสอื พิมพ์ บาง ฉบับอาจจะมกี ารจัดวางคา ขวญั (Slogan) ของหนงั สอื พิมพ์น้ัน ๆ ประกอบไปกับช่อื ดว้ ย โดยคาขวญั นี้กจ็ ะเปน็ ตัวอกั ษรขนาดเลก็ กว่า ช่อื หนังสือพมิ พ์วางอยดู่ า้ นบนหรือล่างของแถบช่ือ

เอกสารประกอบการเรียนวิชาการผลติ ส่อื ส่ิงพมิ พท์ างธรุ กิจดว้ ยคอมพวิ เตอร์ หน้า | 15 หวั ข่าว หรือ “พาดหวั ” เน่อื งจากหัวขา่ วหรอื พาดหวั เปน็ เหมอื นจุดขายท่สี าคัญที่สดุ ของหนงั สอื พมิ พ์ การเลอื กใช้ตัวอกั ษรทีจ่ ะมาเป็นหัวขา่ วจึงต้องมีความพเิ ศษแตกตา่ งไปจากตวั อกั ษรอน่ื ๆ ในหน้า ทั้งในแง่ของขนาดซง่ึ จะต้องมีความใหญ่เด่นกวา่ ตวั อักษรอ่ืน ๆ ทั้งหมด และยงั จะต้องเลือกรปู แบบทมี่ คี วามโดดเดน่ กว่าปกติดว้ ย โดยอาจจะเลอื กเอาจากตวั อักษรประดษิ ฐ์ ( DisplayType) ซ่งึ มสี าเร็จรปู อยู่มากมายหลายพันแบบ หรอื อาจจะมี การออกแบบตัวอกั ษรสาหรบั หวั ข่าวขึน้ ใชเ้ องเปน็ พเิ ศษ สาหรบั หนงั สือพิมพ์นั้น ๆ โดยเฉพาะก็ได้ ขนาดของหัวข่าวก็ควรมีขนาดที่เห็นไดช้ ัดจากระยะไกลและมักนยิ มใช้ตวั เน้น ( Bold) หรือเนน้ พิเศษ (Extra bold) ทั้งนี้ตัวอกั ษรท่ีเปน็ หวั ข่าวน้อี าจจะมสี ที แี่ ตกต่างไปจากตวั อกั ษรอนื่ ๆ ในหน้า เช่น ตวั พมิ พเ์ นอ้ื เรอื่ งปกติเปน็ สีดาอาจจะใชต้ วั อกั ษรทีเ่ ป็นหัวข่าวเป็นสีนา้ เงิน เป็นตน้ ภาพประกอบข่าว ภาพประกอบในหนังสอื พมิ พน์ ัน้ ไม่เหมอื นกับภาพประกอบในส่อืส่ิงพิมพอ์ น่ื ๆเช่น หนงั สอื หรือนติ ยสาร กลา่ วคอืภาพประกอบในส่ือส่ิงพิมพ์อนื่ ๆ นนั้ นกัออกแบบสามารถกาหนดหรือออกแบบตามจินตนาการแล้วมอบหมายใหช้ า่ งภาพไปถ่ายภาพมาตามท่กี าหนดไว้ได้ แต่ภาพประกอบใน หนังสอื พมิ พ์น้นั เป็นภาพประกอบขา่ ว ซง่ึหมายถึงว่านกั ออกแบบ ไม่มีทางทราบล่วงหน้าวา่ ภาพ จะมลี กั ษณะและคณุ ภาพเป็นอย่างไร หน้าในหนังสอื พิมพ์ หน้าในของหนังสอื พิมพเ์ ป็นหนา้ ทร่ี วมความหลากหลายของขา่ วประเภทต่างๆ โดยท่วั ๆ ไป หนังสือพมิ พ์นิยมแบ่งหนา้ ต่าง ๆเป็นเร่อื งๆ คือ นาขา่ วทีเ่ ปน็ เร่อื งเดียวกนั มาไวใ้ นหน้าเดียวกัน เช่น หน้ากฬี า หน้าการศกึ ษา หน้าสงั คม เป็นต้น สาหรบั หนงั สอื พิมพ์บางฉบับท่ีตอ้ งการจะเนน้ เนื้อหาเร่อื งใดเรื่องหนึ่งเป็นพเิ ศษกอ็ าจจะ แยกเรอื่ งนน้ั ๆ ออกมาเป็นอีกสว่ นต่างหาก ก็ได้ การแบ่งหนา้ ในลกั ษณะนี้จะมผี ลต่อดีต่อนักออกแบบคอื จะช่วยใหท้ างานไดง้ า่ ยข้นึ กล่าวคอื สามารถ ออกแบบให้ทง้ั หน้าหรือทงั้ สว่ นนัน้ กลมกลนื กันเปน็ หนึ่งเดียวได้ นอกจากน้ยี งั มคี วามสะดวกในการผลติ อกี ดว้ ย การออกแบบหนา้ ในจะต้องคานึงถงึ องคป์ ระกอบตา่ งๆ ได้แก่

เอกสารประกอบการเรยี นวชิ าการผลติ สอื่ สง่ิ พิมพท์ างธุรกิจดว้ ยคอมพิวเตอร์ หนา้ | 161. หัวข่าว หรอื “พาดหวั ”เช่นเดยี วกนั กบั หัวข่าวในหน้าแรก ตัวอกั ษรที่จะนามาใชเ้ ป็นหัวข่าวในหน้าในนกี้ ็ต้องมีขนาดใหญก่ วา่ ตัวอกั ษรทเ่ี ปน็ตวั พิมพ์ เน้อื เรอ่ื งทัว่ ไป เพียงแตไ่ ม่มีขนาดใหญ่เท่ากบั หัวข่าวในหน้าแรก เนื่องจากความจากัดในเร่อื งเนอื้ ทีซ่ ึ่งมขี อ้ มูลที่ต้องการจะนาเสนอมาก ประกอบกบั หวั ข่าวในหนา้ ใน ไม่จาเป็นต้องเรียกร้องความ สนใจเท่ากบั หวั ข่าวในหนา้ แรก นอกจากความแตกต่างจากเนอ้ื เร่อื งในแง่ขนาดแลว้ ยงั อาจจะสร้างความเดน่ ของหัวขา่ วได้ดว้ ย การ เปลย่ี นรปู แบบของตวั อักษรใหแ้ ตกตา่ งออกไป หรือเปลย่ี นสีตวั อักษรหรือสพี นื้ หลังกไ็ ด้2. หวั รอง หวั รองมักจะใช้เป็นตวั อกั ษรขนาดใหญก่ วา่ เนอื้ เรื่องแต่เล็กกว่าหวั ข่าว หัวรองแทรกอยู่ในสว่ นเน้ือเร่อื ง มักนยิ มวางแบบเสมอกลาง เสมอหนา้ หรือเสมอหน้าหลงั ของคอลมั น์ 3. หัวตอ่ (Jump Head) หัวตอ่ มักจะใช้เป็นตวั อกั ษรขนาดใหญก่ ว่า เนื้อเรื่องแต่เลก็ กวา่ หัวข่าว มขี นาดใกลเ้ คยี งกบั หัวรองโดยจะอยู่นาใน สว่ นเน้ือเรอ่ื ง ซง่ึ เปน็ เนอ้ื เร่ืองที่ต่อมาจากหนา้ แรกหรอื หน้าในหนา้ อ่ืน มกั นิยมวางแบบเสมอกลาง หรอื เสมอหน้าของ คอลมั น์ 4.เนือ้ ข่าว เนื้อขา่ วนเี้ ปน็ องคป์ ระกอบทีเ่ ปน็ข้อความทมี่ ีขนาดยาวทสี่ ดุ การเรียงจะเรียงเป็นคอลมั นต์ ามระบบกริดท่ไี ด้

เอกสารประกอบการเรียนวิชาการผลติ สอื่ ส่งิ พมิ พท์ างธรุ กจิ ดว้ ยคอมพวิ เตอร์ หนา้ | 17วางเอาไวม้ ักนยิ มวางแบบเสมอหน้าหลังของคอลัมน์ โดยขนาดความกวา้ งของคอลัมน์นี้กไ็ ม่ควรจะกวา้ งหรือยาวเกนิ ไปเพราะจะมีผล ตอ่ การอา่ นงา่ ย ในการกาหนดขนาดความกวา้ งของคอลมั น์นจี้ ะต้องคานึงถึงขนาดของตัวอักษรเป็นสาคัญ คอื ควรจะมคี วามกวา้ ง แปรผนั ตามขนาดของตัวอักษร ตัวอกั ษรยง่ิ เล็กคอลมั นย์ ิง่ แคบ (บรรทดั สนั้ ) ตัวอักษรย่ิงใหญค่ อลัมนย์ ิ่งกวา้ ง (บรรทัดยาว)5.ภาพประกอบขา่ ว การใช้ภาพประกอบในการออกแบบหนังสอื พมิ พ์นน้ั นกั ออกแบบอาจจะไม่ไดม้ ีบทบาทมากนกั เมื่อเทยี บกับการออกแบบสื่อส่ิงพิมพอ์ นื่ ๆ อยา่ งไรกต็ ามการใช้ภาพประกอบข่าวในหนา้ ในของหนงั สอื พมิ พน์ ีก้ ็อาจจะมีกานามาใชไ้ ด้อยา่ งมลี กู เล่นมากกวา่ ในหน้าแรก เน่อื งจากเนอื้ ขา่ วบางเร่อื งเป็นเรือ่ งทม่ี ีการเตรียมการมาล่วงหน้าทาให้นกั ออกแบบมีเวลาที่จะเลอื กและนาภาพประกอบนน้ั มาปรบั ปรงุ หรอื ตกแตง่ ให้มีรูปแบบพเิ ศษจากภาพสเ่ี หลยี่ มธรรมดาหรอื อาจมกี ารสร้างภาพประกอบในลกั ษณะภาพวาดข้นึ มาเพ่ิมเตมิ จาการใช้ภาพถา่ ยก็ได้ โดยสรปุ แลว้ หลกั การทว่ั ไปในการออกแบบหนงั สอื พิมพ์ก็คือ หนงั สอื พมิ พค์ วรมีโครงสรา้ งหรือระบบกริดทย่ี ดื หยุ่นตอ่ ปรมิ าณ ของเน้ือหาของขา่ วแตล่ ะเรอ่ื งซง่ึ แตกต่างกันไปในแต่ละวนัและการเลอื กองคป์ ระกอบและตาแหน่งในการจดั วางองคป์ ระกอบ กต็ ้อง คานงึ ถึงความสะดวกของผู้อา่ นในการแยกยะ คน้ หาและตดิ ติดตามเนอื้ หาของขา่ ว ตงั้ แต่ตน้ จนจบ โดยองค์ประกอบทง้ัท่เี ปน็ ตัว อักษร และภาพจะตอ้ งเนน้ ให้ผอู้ า่ นเกิดความเข้าใจขา่ วไดง้ ่ายที่สดุ 

เอกสารประกอบการเรียนวิชาการผลิตสือ่ ส่ิงพมิ พท์ างธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ หน้า | 18การออกแบบนติ ยสาร นติ ยสารเปน็ สอ่ื สิ่งพมิ พ์ทส่ี นองความตอ้ งการเฉพาะกลมุ่ มากกว่าเม่อื เทยี บกับหนังสอื พมิ พ์ โดยมุ่งเน้นไปทกี่ ลมุ่ หน่งึ ซ่ึงมลี กั ษณะรปู แบบชีวติ คล้ายๆ กัน มีความสนใจในเรอื่ งตา่ งๆ คล้ายๆ กนั โดยความสนใจทแ่ี ตกต่างกันนจี้ ะแปรผันตามความซบั ซ้อนของสังคม อาจกลา่ วไดว้ า่ สงิ่ สาคัญท่มี ผี ลตอ่ ความสาเร็จของนิตยสาร คือ ความสามารถในการเขา้ ถึงกลุม่ เปา้ หมายที่เฉพาะเจาะจงและเปน็ กลมุ่ ทเี่ หมาะสมกับวตั ถุประสงค์ในการจัดทานิตยสารน้ัน ด้วยเหตุน้เี องหน้าที่สาคัญของนกั ออกแบบจึงไมใ่ ช่แคก่ ารพยายามสง่ ผ่านข้อมลูข่าวสารได้ชัดแจง้ รวดเร็วอย่างทจ่ี าเปน็ ตอ้ งทาในหนงั สอื พมิ พแ์ ต่นกั ออกแบบจะต้องพยายามสร้างบคุ ลกิ ภาพทเ่ี หมาะสมกับกลุม่ เปา้ หมายให้เกดิ ข้นึ กับนิตยสารทีต่ นรับผิดชอบเพอื่ ให้ผูท้ เี่ ป็นกลุ่มเปา้ หมายสามารถระบุเลอื กนิตยสารนนั้ แยกออกจากนิตยสารประเภทอ่นื ได้ หลักการทั่วไปในการออกแบบนิตยสาร มี 2 เร่ืองทส่ี าคญั คอื สง่ิ ท่ตี ้องกาหนดและวางแผนก่อนการออกแบบ นติ ยสารและองค์ประกอบ และการจัด วางองคป์ ระกอบในการออกแบบนิตยสารส่ิงทีต่ อ้ งกา่ หนดและวางแผนก่อนการออกแบบนติ ยสาร  ระบคุ วามต้องการในการออกแบบให้ชดั เจน หากเป็นนิตยสารท่ีมีวางจาหนา่ ยอยู่แล้ว จะต้องพิจารณาวา่ ควรจะทาการปรับปรุงจากบคุ ลิกภาพเดิมหรอื ควรจะเปลย่ี นบคุ ลิกภาพใหม่ เน่อื งจากกลมุ่ เปา้ หมายของนิตยสารย่อมจะเปลีย่ นไปตามกาลเวลาทีผ่ า่ นไป ดงั นนั้ นิตยสารก็จาเปน็ จะตอ้ งเปลย่ี นตวั เองไปดว้ ยเพ่ือรักษาความสัมพนั ธ์กับกลุ่มเปา้ หมายเอาไว้ บางครัง้ การเปลีย่ นแปลงขนาดใหญเ่ พื่อพยายามดึงกล่มุ เปา้ หมายใหม่ เคยมีผกู้ ลา่ ววา่ นติ ยสารควร จะมกี ารปรบั ปรุงหรอื เปลย่ี นแปลงทุกๆ 5 ปีตามการเปลี่ยนแปลงของกลุ่มเป้าหมาย  ก่าหนดขนาดและรปู แบบของนิตยสาร แมว้ ่านติ ยสารจะสามารถผลติ ได้ในทกุ ขนาดและรูปแบบ แต่ในการกาหนดขนาดและรูปแบบนนั้ จะตอ้ งมกี ารคานงึ ถงึ ความประหยดั ตน้ ทนุ การพมิ พ์และการผลิตต้นทนุ ทส่ี าคัญกค็ อื คา่ กระดาษทใ่ี ชใ้ นการพมิ พ์ การกาหนดขนาดท่ที าใหเ้ กดิ การตดั กระดาษได้โดยไมเ่ หลอื เศษหรือเหลอื เศษนอ้ ยจึงเป็นเรื่องท่ีนติ ยสารทกุ ฉบบั ตอ้ งคานึงถงึ ดงั นนั้ ขนาดของนิตยสารทีม่ ีอยใู่ นตลาดจงึ มกั มีขนาดท่นี ยิ มใช้กันอย่ใู นปจั จบุ ันมี 4 ขนาดดงั นี้1. นติ ยสารทม่ี ่งุ การนา่ เสนอภาพ มักนยิ มขนาด 10 * 13 นว้ิ ซึง่ เปน็ ขนาดท่คี อ่ นขา้ งใหญ่2. นติ ยสารท่ีมุง่ การน่าเสนอภาพและเนื้อหาท่เี ปน็ ตัวอกั ษร มักนยิ มขนาด 7 x 10 นว้ิ

เอกสารประกอบการเรยี นวชิ าการผลติ สื่อส่ิงพิมพท์ างธุรกิจดว้ ยคอมพวิ เตอร์ หน้า | 19 3. นติ ยสารทม่ี ุ่งการน่าเสนอภาพและเนอื้ หาทเ่ี ปน็ ตัวอกั ษร มักนิยมขนาด 8 x 11 นว้ิ ซึ่งเป็นขนาดที่ เปน็ ทน่ี ิยมใช้มากทส่ี ุด 4. นิตยสารทม่ี ่งุ การน่าเสนอเนือ้ หาที่เป็นตัวอกั ษรขนาด 5 x 7 นว้ิ ซ่งึ เป็นขนาดท่ี คอ่ นข้างเล็ก เรยี กว่า ขนาดพอ็ กเกต็ บุ๊ก นอกจากเรื่องความพยายามในการประหยัดกระดาษเพอ่ื ลดตน้ ทุนแล้ว ขนาดของนิตยสารจะตอ้ งเหมาะสมกบั การใช้งาน คอื สามารถถอื ไปมา และเปิดอ่านเปน็ เวลานานไดส้ ะดวกนอกจากน้ียงั ตอ้ งคานึงดว้ ยวา่ จะสามารถวางบนชน้ั หนังสือไดห้ รือไม่ รูปแบบของนิตยสารส่วนใหญม่ กั จะเปน็ แนวตั้งเสมอ และความหนาของนิตยสารกม็ ักจะมีจานวนหนา้ เทา่ กนั ทกุ ฉบับ โดยเฉพาะนติ ยสาร ทไ่ี มม่ ีหนา้ โฆษณานั้นอาจจะมจี านวนหน้าเปลี่ยนแปลงไปบา้ งตามจานวนหนา้ โฆษณาในแตล่ ะฉบบั  รูปแบบของปกหนา้ ปกหนา้ ของนติ ยสารเปน็ หนา้ ทสี่ าคัญท่สี ุดของนติ ยสาร ปกหนา้ เปรียบเสมือนหนา้ ตาของนิตยสารซึ่งก่อให้เกิดความประทับใจเมอ่ื แรกเหน็ อีกทั้งยังเปน็ จดุ ทแ่ี สดงออกซ่ึงบุคลิกภาพของนิตยสารไดช้ ัดเจน ดงั น้ันกอ่ นจะออกแบบในรายละเอยี ด ตอ้ งมีการตดั สนิ ใจในเรอื่ งตา่ งๆ ท่ีเกี่ยวกบั รปู แบบของหนา้ ปก ดังน้ี 1. จะเลอื กรูปแบบปกหนา้ ในตัว (Self cover) หรอื ปกหนา้ แยก (Separate Cover) ปกหน้าในตวั คอื ปกหน้าท่ีใช้กระดาษเชน่ เดยี วกบั หนา้ ในและพิมพ์ไปพรอ้ มกนั กับการพมิ พ์ หนา้ ใน สว่ นปกหน้าแยกคือปกหน้าที่ใช้ประดาษทแ่ี ตกต่างจากหนา้ ใน มกั จะเป็นกระดาษท่ี หนากวา่ และพิมพ์แยกเฉพาะส่วนที่เปน็ ปก (ปกหน้านอกด้านใน และปกหลังนอกด้านใน) ปก หนา้ ในตัวจะประหยดั ต้นทุนในการผลิตมากกวา่ ปกหน้าแยก แตก่ เ็ หมาะจะใช้ในกรณีกระดาษ ท่ใี ชใ้ นการพิมพเ์ ป็น กระดาษท่ีคอ่ นขา้ งหนาและคุณภาพดเี ทา่ นนั้ 2. จะให้มพี น้ื ท่ใี นการโฆษณาในปกหนา้ หรือไม่ เนอ่ื งจากปกหนา้ เปน็ สว่ นทเี่ ด่นทส่ี ุดของนิตยสาร การแบง่ พ้นื ทีบ่ างส่วนเพื่อขายเปน็ พื้นที่ โฆษณาจะนารายไดท้ ่ีแน่นอนมาให้นติ ยสาร แตใ่ นขณะเดียวกันก็จะทาให้เสยี พ้นื ทท่ี ี่จะใช้ ในการสรา้ งความประทบั ใจและชักจูงใจผูอ้ ่าน เม่อื เทยี บผลไดแ้ ละผลเสยี แลว้ จะพบว่า นิตยสารสว่ นใหญ่เลือกไม่ให้พ้นื ท่โี ฆษณาในปกหน้า เพราะพืน้ ทีโ่ ฆษณาในปกหน้าดา้ นใน ปกหลังดา้ นในและด้านนอกกม็ อี ยู่เพียงพอแล้ว

เอกสารประกอบการเรยี นวิชาการผลิตสอื่ สง่ิ พมิ พท์ างธรุ กิจดว้ ยคอมพวิ เตอร์ หนา้ | 20 3. จะก่าหนดสดั สว่ นระหวา่ งภาพและตัวอกั ษรอยา่ งไร ดังไดก้ ลา่ วมาแลว้ วา่ ปกหน้ามหี นา้ ท่ีสาคญั หลายประการ ท้งั เรียกร้องความสนใจ และสรา้ ง ความประทบั ใจ กอ่ น ทาการออกแบบจะตอ้ งมีการกาหนดเสียกอ่ นว่าจะให้มี สดั สว่ นระหวา่ งภาพ และตวั อักษรอยา่ งไรเร่ิมตง้ั แตช่ ่ือ นติ ยสาร ส่วนใหญ่ตอ้ งมีขนาดใหญ่เพอ่ื ใหเ้ ห็นได้ชัดและมัก วางอย่สู ่วนบนของหน้าเพอ่ื ไม่ให้ถูกบดบงั จากนิตยสาร อื่นเมือ่ วางอยู่บนแผงขายหนังสอื นอกจากแถบชอื่ แลว้ นติ ยสารส่วนใหญ่มกั จะใช้ภาพเปน็ องค์ประกอบหลักซ่ึง จะต้องกาหนดวา่ จะเปน็ การใช้ภาพเตม็ หนา้ หรอื อยใู่ น กรอบใต้แถบ  แบบและขนาดตัวอกั ษร ตวั อกั ษรในนติ ยสารนั้น แม้วา่ จะสามารถมีไดม้ ากแบบ แต่ก็ควรมกี ารกาหนดแบบ หลักๆสาหรับหนา้ ตา่ งๆ เอาไว้เพือ่ ใหเ้ กิดความสม่าเสมอ นอกจากแบบแลว้ กค็ วรมีการกาหนดขนาดเอาไว้ดว้ ยว่าตวั อกั ษรในส่วนใดควรจะมขี นาดเทา่ ใด  รปู แบบและขนาดภาพประกอบ ภาพประกอบ เช่นเดียวกับตัวอกั ษร ภาพประกอบในนติ ยสารก็ควรมีการกาหนดรปู แบบ และขนาดในการนาไปใช้ทงั้ น้ีเพอ่ื ใหเ้ กดิ เป็นภาพลักษณท์ ่เี ป็นเอกลกั ษณ์อนั บ่งถงึ ลกั ษณะเฉพาะตัวของนิตยสารเช่น ใช้ภาพทมี่ พี น้ื หลังเสมอไมม่ ีการไดคตัหรอื ตดั เอาพื้นหลงั ออกเพื่อแสดงว่าภาพนั้นไม่ได้มีการตกแตง่เพ่ือเพมิ่ ความนา่ เช่ือถอื เป็นต้น

เอกสารประกอบการเรียนวชิ าการผลติ สือ่ สิง่ พิมพท์ างธรุ กจิ ด้วยคอมพวิ เตอร์ หน้า | 21 องคป์ ระกอบและการจัดวางองค์ประกอบในการออกแบบนิตยสาร ทีจ่ รงิ แล้วการออกแบบนิตยสารก็มีหลักการเหมือนกบั การออกแบบส่ือสง่ิ พมิ พอ์ ืน่อย่างไรก็ตามนิตยสารมสี ่วนประกอบท่แี ตกต่างกบั จากส่อื สิง่ พิมพอ์ ืน่ ซึง่ ทาให้มีรายละเอยี ดเพ่ิมเติมในการออกแบบ ส่วนประกอบท่สี าคญั แต่ละส่วนดังน้ี  ปกหนา้ นติ ยสาร ปกหน้าคือสว่ นของนิตยสารซ่ึงผูด้ ูเห็นเป็นส่ิงแรก และนักออกแบบจะตอ้ งตระหนกั ว่าความหวงั ทง้ั มวลของ ผูท้ เี่ กี่ยวข้องกบั การจัดทานิตยสาร ขึ้นอย่กู ับหน้าน้ี โดยปกหนา้ นจี้ ะต้องทาหนา้ ทรี่ ะบุเอกลักษณ์ของนิตยสารให้โดดเด่นจากนติ ยสารอื่น ปกหนา้ จะต้องสามารถดงึ ดดู ความสนใจจาก ผ้ทู พี่ บเห็นไดใ้ นทนั ที นอกจากนยี้ ังต้องทาหน้าที่กระตุ้นหรือเรา้ อารมณ์ท่ีเหมาะสมกับนิตยสารนนั้ ให้ผอู้ ่านรูส้ กึ ได้ แม้ว่าจะไม่มวี ิธที ีร่ บั ประกัน ความสาเร็จในการออกแบบปกหน้า แตใ่ นความพยายามเพ่ือให้ปกหนา้ สามารถทาหนา้ ท่ขี า้ งต้นไดน้ ัน้ นักออกแบบจะต้องจัดการ กับองค์ประกอบซึง่ รวมกนั เปน็ ปกหนา้ 4 องค์ประกอบ ไดแ้ ก่ รปู แบบมาตรฐานของปกหนา้ปกหน้าของนิตยสารควรจะไดร้ บั การออกแบบให้มีรปู แบบมาตรฐานเชน่ เดียวกบั การออกแบบหน้าแรกของหนังสือพิมพใ์ นการจดั วางองค์ประกอบตา่ งๆ ทง้ั ทเ่ี ป็นตวั อักษรและภาพ ไม่ว่าจะเปน็ ตาแหนง่ และขนาดของตัวอกั ษร ลกั ษณะการวางภาพ แบบตัดตกหรือมกี รอบ ฯลฯ นักออกแบบจะตอ้ งกาหนดรายละเอียดของส่ิงเหล่านี้และนามาใชใ้ นฉบบั ตอ่ ๆ ไป1. หัวนติ ยสารและรายละเอียด 2. ข้อความบนปก 3. ภาพประกอบ1. หวั นิตยสารและรายละเอียดของฉบบั (ฉบับ ปีที่ ฯลฯ) ในบรรดาองค์ประกอบตา่ ง ๆ ปรากฎบนปกหน้าของนิตยสารสาคญั ที่สดุ คอื ชือ่ หรอื ทีเ่ รียกว่าหัวหนงั สือหรือหวั นติ ยสาร ซง่ึ โดยลกั ษณะสว่ นใหญ่จะเป็นตราสญั ลักษณ์ตวั อักษร ทส่ี ามารถอา่ นออกไดโ้ ดยประกอบไป ด้วยตวั อักษรท้งั หมดในชือ่ ของนิตยสารนนั้ ตราสัญลักษณ์น้ีไมไ่ ด้ถูกนามาใชง้ านเฉพาะที่เป็น

เอกสารประกอบการเรียนวิชาการผลิตสื่อสิง่ พมิ พท์ างธุรกิจดว้ ยคอมพวิ เตอร์ หนา้ | 22 แถบช่ือบนปกเท่านนั้ แตจ่ ะไปปรากฏในส่ือต่าง ๆ ทกุ สื่อทเ่ี ก่ยี วข้องกับนติ ยสารน้นั ตั้งแต่หัว จดหมายซอง นามบตั ร ไปจนถงึ สื่อโฆษณาทัง้ หมด2. ข้อความบนปก (Cover Lines) วตั ถปุ ระสงคข์ องการใช้ตวั โปรยเป็นขอ้ ความบนปกกเ็ พอ่ื แนะนาเรือ่ งท่ีนา่ สนใจในฉบบั นติ ยสารบางฉบบั อาจจะมขี อ้ ความบนปกขอ้ ความเดียวเพ่ือ แนะนาเรือ่ งเด่นสุดในฉบบั ในกรณีนนี้ ักออกแบบจะเลือกภาพประกอบปก ทเี่ ป็นเร่อื งเดยี วกัน กบั ข้อความนนั้ แต่หากมีข้อความบนปกหลายขอ้ ความเพ่อื ประนาเร่ืองหลายเรื่องในฉบับนัก ออกแบบก็สามารถเลอื กภาพประกอบท่เี กี่ยวข้องกับเรื่องใด กไ็ ด้ ทัง้ น้ีไม่จาเป็นต้องเปน็ ภาพ เกีย่ วกับเรื่องเดน่ ก็ได้ ส่วนขนาดของข้อความบนปกนน้ั ไม่ควรมีขนาดใหญเ่ กินไป เพราะจะ แยง่ ความความเด่นกับภาพประกอบ3. ภาพประกอบ การจดั วางภาพบนปกนติ ยสารสว่ นใหญแ่ ล้วมลี กั ษณะคอื แบบแรกเป็นแบบ เตม็ หนา้ กระดาษโดยตดั ตกแต่งท้ัง 4 ดา้ น มแี ถบชอื่ และตวั อักษรอ่ืน ๆ ซอ้ นอย่ใู นภาพน้นั แบบทสี่ องเป็นแบบอยู่ในกรอบใต้ช่อื โดยมพี ้นื ที่ว่างล้อมรอบ ทง้ั สองลกั ษณะมีขอ้ ดขี อ้ เสยี แตกตา่ งกัน โดยแบบใชภ้ าพตักตกนัน้ จะทาใหภ้ าพดูใหญส่ ะดดุ ตาและดเู หมือนวา่ ไม่ได้มแี ค่ น้ันแตม่ สี ่วนของภาพตอ่ ออกไปอกี แต่ในแบบซึ่งซ้อนอยู่ในภาพทาให้อา่ นออกได้ยากบาง กรณีก็สามารถแกไ้ ขไดด้ ว้ ยการเปลยี่ นสี ของตัวอกั ษรใหต้ ดั กบั สีของภาพแตห่ ากเป็นภาพทีม่ ี สีหลากหลายสีก็ย่งิ ยากทีจ่ ะแกไ้ ข หน้าสารบัญ หากนกั ออกแบบสามารถออกแบบปกหน้าให้ดงึ ดดู ใจพอทีจ่ ะทาใหผ้ ู้พบเหน็หยบิ นิตยสารขึ้นมาดแู ล้วส่ิงท่ีจะเกดิ ต่อไปก็คอื ผดู้ ูจะพลิกดูนติ ยสารผา่ นๆ อย่างรวดเร็ว หากมีหน้าใดทม่ี ีความน่าสนใจเปน็ พเิ ศษก็จะหยุดดู จากนัน้ บางคนอาจจะพลกิ หาเรือ่ งจากปก แล้วมาถึงหน้า สารบญั เพ่ือตรวจดวู ่ามีเร่ืองทน่ี า่ สนใจพอทจ่ี ะซ้อื หาไปอา่ นหรือไม่ หน้าสารบญั จึงเหมอื นกบั โอกาสสาคัญที่เสนอสงิ่ ท่คี ิดวา่ ผ้อู า่ นจะสนใจ ดงั น้นั ในการออกแบบหน้าสารบัญ นกัออกแบบจะต้องพยายามทาให้งา่ ยแกก่ ารอ่านและซึมซับข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว ในการออกแบบหน้าสารบัญมีองค์ประกอบทีจ่ ะตอ้ งนามาจดั วาง ท่สี าคญั คอื สว่ นสารบญั ซงึ่ ระบุชื่อ ชือ่ คอลมั น์ ชอ่ื ผ้เู ขยี น และเลขหนา้ ตราสัญลักษณ์ ของหัวหนงั สือ และคาขวญั ของ นติ ยสาร หากมี ขอ้ ความทีร่ ะบเุ ล่มท่ี ฉบับที่ เดอื นและปี รายชือ่ ตา่ แหน่ง และชอ่ื บุคคลในกองบรรณาธกิ าร ข้อมลู เกยี่ วกบั นติ ยสาร ท่ีอยู่ สถานที่พิมพ์ สถานท่ตี ิดตอ่ ฯลฯ

เอกสารประกอบการเรียนวชิ าการผลติ สอ่ื สิ่งพมิ พท์ างธรุ กจิ ด้วยคอมพวิ เตอร์ หน้า | 23จะเหน็ ไดว้ ่าในหน้าน้ีมอี งคป์ ระกอบท่ีต้องจัดวางไมน่ อ้ ย และเป็นองคป์ ระกอบทีม่ คี วามจาเป็นทง้ัในเชิงการใช้ประโยชนน์ ิตยสาร และเชงิ การระบุตามกฎหมาย ดังนนั้ สิ่งแรกทีน่ กั ออกแบบจะตอ้ งตระหนกั ก็คือจะทาอยา่ งไรไมใ่ หห้ น้าสารบญั น้ีดู มีเน้อื หาเยอะมากจน ผ้อู า่ นรู้สึกว่าแนน่ ไปหมดจนไมอ่ ยากจะหยุดดู หนา้ บรรณาธิการ ในการออกแบบหนา้ บรรณาธกิ าร นักออกแบบควรจะพจิ ารณาถงึ ความพเิ ศษประการหนง่ึทีท่ าใหห้ น้านแ้ี ตกต่างจากหน้าอืน่ ๆ ในนติ ยสาร นนั่ ก็คือในขณะทห่ี นา้ อน่ื ๆของนติ ยสารเปน็ การนาเรอ่ื งราวตา่ งๆจากภายนอกนติ ยสารมาบอกเลา่ แตห่ นา้ บรรณาธกิ าร เปน็ การบอกเล่าถึง

เอกสารประกอบการเรยี นวชิ าการผลิตสอื่ ส่ิงพมิ พท์ างธุรกิจดว้ ยคอมพิวเตอร์ หนา้ | 24เร่ืองราวความคิดความเห็น และความเช่อื ของผูเ้ ล่าเร่ืองราวเหล่านน้ั ซึ่งมปี รากฏอยใู่ นนิตยสารให้ผอู้ ่านไดร้ บั ทราบ องค์ประกอบทีป่ รากฏอยูใ่ นหนา้ บรรณาธกิ ารนี้ ได้แก่ ขอ้ ความ ท่ีเขยี นโดยบรรณาธิการ พาดหวั เพื่อดึงดดู ความสนใจส่ขู ้อความซ่ึงอาจจะมหี รอื ไม่มีก็ได้ ช่อื หรอื ลายมอื ชอื่ ของบรรณาธิการ ภาพถา่ ยของบรรณาธกิ าร ซ่ึงอาจจะมหี รือไมม่ ีกไ็ ด้ การแสดงภาพถ่ายอาจจะให้ประโยชน์ ในการเพิม่ ความเปน็ สว่ นตัวระหวา่ ง ผู้อ่านกับนติ ยสาร และยงั เป็นโอกาสอันดี ดที ีจ่ ะสรา้ งความนา่ เชอ่ื ถอื หากบรรณาธิการ เปน็ ผู้มีชอ่ื เสยี งเป็นที่รู้จกั ของผู้อ่าน์

เอกสารประกอบการเรยี นวชิ าการผลติ ส่ือส่งิ พมิ พท์ างธรุ กจิ ดว้ ยคอมพิวเตอร์ หน้า | 25 หน้าเปิดเรอื่ ง หน้าเปดิ เรอื่ งหรือหนา้ แรกของเรอ่ื งนบั เป็นหน้าท่สี าคญั อีกหน้าหนึง่ นกั ออกแบบจะตอ้ งพยายาม สรา้ งความรู้สกึ ตืน่ ตาตื่นใจให้เกิดข้นึ กับผอู้ า่ น สว่ นใหญน่ ติ ยสารจะมเี ร่ืองประจา(คอลัมน์ประจา) ซึ่งในกรณนี ้ีการออกแบบ รูปแบบ มาตรฐานไวใ้ ช้ไดใ้ นทกุ ๆ ฉบบั ก็มขี ้อดีในแงท่ ่ีช่วยในการจดจาและเป็นการชว่ ยสอ่ื สารให้ผู้อ่านเข้าใจได้รวดเรว็ วา่ หนา้ นี้คือจุดเริม่ ต้นของเรอื่ งใหม่ แมว้ า่ บางคร้งั อาจจะดนู ่าเบ่ือเม่อื ใชไ้ ปนานๆ แต่หากสามารถออกแบบใหม้ ีความยดื หยนุ่ คอืสามารถเปล่ียนแปลงได้ในรายละเอยี ดกจ็ ะเปน็ ประโยชน์อย่างมาก เนือ่ งจากหน้านติ ยสารส่วนใหญ่จะเตม็ ไปดว้ ยภาพและตัวอกั ษรเต็มหนา้ ไปหมด วธิ ที ี่อาจจะเรยี กวา่ เปน็ สูตรสาเร็จของการออกแบบหน้าเปิดเร่ืองกค็ อื การออกแบบให้ดู เรยี บงา่ ยและมีองค์ประกอบเทา่ ทีจ่ าเป็น โดยพยายามให้มพี นื้ ท่ีวา่ งมากกวา่ ปกติ วธิ นี จี้ ะทาให้หนา้ น้โี ดดเดน่ ออกจากหน้าอนื่ ๆ ของนติ ยสาร ในการออกแบบหน้าเปิดเรื่องนนั้ นักออกแบบ จะต้องวางแผนใหผ้ ู้อ่านได้รับขอ้ มูลตามลาดับที่ถูกต้องไลต่ ัง้ แต่ช่ือเรอื่ ง ชือ่ ผูเ้ ขยี น คานา และเนอ้ื เรอื่ ง ทั้งนี้จะต้องไมอ่ อกแบบให้องค์ประกอบท้ังหมดเด่นแข่งกนั จนผอู้ ่านไมท่ ราบวา่ ดูองคป์ ระกอบ ใดกอ่ น ดังนนั้ ขนาดและตาแหน่งขององค์ประกอบเหล่านจี้ งึ เปน็ เรอื่ งสาคัญ การใชภ้ าพประกอบในหนา้ เปดิ เร่อื งเปน็ สิ่งท่ีตอ้ งระวัง ปกติแล้วจะไม่นิยมใช้ภาพท่ใี หญ่หรือเดน่ มากเน่ืองจากผ้อู ่าน อาจจะนกึ วา่ เปน็ หน้าโฆษณาได้

เอกสารประกอบการเรียนวชิ าการผลติ ส่อื สง่ิ พิมพท์ างธุรกจิ ด้วยคอมพิวเตอร์ หนา้ | 26 หนา้ เนื้อเรอ่ื ง ในความเปน็ จรงิ แล้ว หนา้ เนื้อเรอื่ งเปน็หนา้ ทส่ี นองเจตนาหรอื วัตถุประสงคข์ องผูจ้ ดั ทานิตยสารมากท่สี ดุ กวา่ หน้าอ่ืนๆ หนา้ เน้อื เร่ืองน้ีเปน็ หนา้ ที่จะใช้ถา่ ยทอดขอ้ มลู อนั เปน็ หวั ใจของนิตยสารเพอ่ื ส่ือสารกับผูอ้ า่ น จนถงึ ขั้นอาจจะเปรยี บเทียบ ได้ว่า หนา้ เนอ้ื เรอื่ งคือของขวญั ที่แทจ้ รงิ ในขณะท่หี นา้ อื่นๆ นนั้ เป็นเหมือนกระดาษหอ่ ของขวัญเท่านน้ั องคป์ ระกอบในหน้าเนือ้ เร่อื งนีไ้ ม่มมี ากมายหลายอย่างเหมือนหน้าอ่ืน โดยแยกเปน็ เพยี งสองอย่าง ได้แก่ เนื้อเรื่อง ซึง่ เป็นเนอื้ หาทต่ี ้องการนาเสนอ ภาพประกอบเร่อื ง เป็นส่วนที่ให้รายละเอียดทอ่ี าจยากตอ่ การบรรยายหรือเพอ่ืช่วยให้ผู้อ่านสามารถจนิ ตนาการได้ชัดเจนขึน้ ในการออกแบบนิตยสารนั้น ส่วนหนา้ ปกเป็นส่วนท่ีไดร้ บั การเอาใจใส่ในดา้ นการออกแบบมากทสี่ ดุ ตามมาดว้ ยหน้าเปิดเร่อื งต่างๆ ในขณะที่หนา้ เนอื้ เรื่องไม่ได้มีการพิถีพถิ นั อะไรมากนักทง้ั นอ้ี าจจะเปน็ เพราะวา่ หนา้ เนอ้ื เร่อื งนมี้ ีองคป์ ระกอบท่ีสาคัญคอื เนอื้ เร่อื ง ซงึ่ เป็นสว่ นทม่ี ีเนือ้ หามากและตอ้ งการการตดิ ตามทีง่ ่าย ดังนัน้ ในการออกแบบจึงมักจะม่งุ เนน้ ไปท่ีความเรียบง่ายเพ่อื ใหเ้ กิดความ สะดวกในการอ่านและตดิ ตามเน้อื หา อยา่ งไรก็ตามความคดิ น้อี าจจะถอื วา่ถูกต้องเพียงคร่งึ เดยี ว เพราะนอกจากจะตอ้ งสนอง ประโยชน์ใช้สอยในแงก่ ารอา่ นแล้วก็จะต้องสนองความต้องการในเชิงจติ วทิ ยาด้วยกล่าวคอื จะตอ้ งดแู ล้วไม่นา่ เบ่อื นา่ ติดตามเนอื้ เรอื่ งไปจนจบในขณะเดียวกันก็ควรจะช่วยเสริมสรา้ งใหเ้ หน็ ถงึ ความร้สู กึ นกึ คิดของผูเ้ ขยี นท่ตี ้องการจะถ่ายทอด โดยขยายบุคลกิ ภาพของเนือ้ หาใหร้ บั รู้ไดช้ ดั เจนขนึ้ กว่าการอ่านแคต่ ัวหนงั สอื เฉยๆ 

เอกสารประกอบการเรยี นวิชาการผลติ สอื่ สง่ิ พิมพท์ างธรุ กิจด้วยคอมพิวเตอร์ หน้า | 27การออกแบบหนังสือ สงิ่ ที่ตอ้ งก่าหนดและวางแผนกอ่ นการออกแบบหนังสอื ก่อนจะทาการออกแบบหนงั สือนั้น มีเรอื่ งท่ีจะตอ้ งกาหนดและวางแผนเฉพาะในส่วนที่เก่ียวข้องกับการออกแบบ ดังน้ี ศกึ ษาและท่าความเข้าใจหนงั สือ ก่อนที่จะทาการออกแบบ นักออกแบบจะตอ้ งพยายามหาข้อมูลจากผู้เขยี นหรือสานกั พมิ พถ์ งึ วตั ถปุ ระสงคใ์ นการเขียนหรอื จัดทาหนังสอื และตอ้ งทราบถึงลกั ษณะของผู้อ่านท่ีเป็นกล่มุ เป้าหมายว่าเจตนาจะมงุ่ ทใี่ ครเป็นหลักและคนกลุม่ น้มี ีพฤติกรรมและความชอบไม่ชอบอย่างไร นอกจากนี้ยงั ตอ้ งทราบให้ชัดเจนวา่ ผู้เขยี นมีความคดิ หลกั หรือแนวคิดเบอ้ื งหลังของหนงั สอื อยา่ งไร รวมทง้ั เป็นหนังสอื ประเภทใดและควร จะมีบคุ ลกิ ภาพแบบไหน กา่ หนดขนาดและรูปแบบของหนงั สือ เม่อื เทียบกับหนงั สือพิมพ์และนิตยสารแลว้ หนังสือสามารถจดั ทาไดห้ ลายขนาดและหลายรูปแบบมากกวา่ ซ่ึงในการเลือกขนาดและรปู แบบ ทเ่ี หมาะสมน้จี ะตอ้ งดจู ากวัตถุประสงค์และประเภทของหนงั สือ เป็นหลัก สว่ นใหญแ่ ลว้ จะต้องพยายามเลอื กขนาดทีต่ ัดกระดาษไดโ้ ดยเหลอื เศษ นอ้ ยเพือ่ เปน็ การประหยดั กระดาษเพอื่ ลดต้นทุนนอกจากในกรณที ีเ่ ป็น หนังสอื ที่ ระลกึราคาแพงและต้องการ รปู แบบ ทแี่ ปลกแตกตา่ งไปจาก ปกติ ขนาดของหนังสือท่เี ปน็ ท่นี ยิ มกนั มากเชน่ 5 x 7 นิ้ว (16 หนา้ ยก หรอื ขนาดพ็อกเก็ตบกุ๊ ) 5 x 8 นว้ิ (ขนาด A5 หรอื ขนาด พอ็ กเกต็ บุ๊ก)เป็นต้น รปู แบบของปกหนา้ เนื่องจากความหลากหลายในรูปแบบทเี่ ป็นไปไดใ้ นการออกแบบปกหน้าของหนงั สอื นักออกแบบจึงควรตกลงรว่ มกันกับผเู้ ขียน หรือสานักพิมพเ์ ร่อื ง รูปแบบของปกหนา้ เสยี กอ่ นในเรอ่ื งตา่ งๆ ดงั น้ี1. กระดาษท่ีใช้ในการพมิ พป์ กหน้า จะเป็นกระดาษแบบเดียวกันกับหนา้ ใน หรอื จะเป็น กระดาษท่หี นากวา่ ปกติสว่ นใหญ่แลว้ กระดาษท่ใี ช้ในการทาปกหนา้ มกั จะเปน็ กระดาษแขง็ ในบางครัง้ อาจจะมกี ารหมุ้ หรอื เคลอื บเอาไว้ด้วยวัสดุชนิดอ่นื เช่น ผา้ หรอื พลาสตกิ ก็ได้2. หน้าห้มุ ปก หนังสอื ท่มี คี วามหนามาก หรอื มรี าคาสูงจะมหี นา้ หมุ้ ปกเพื่อรกั ษาปกหนา้ ไว้ ไมใ่ ห้เสยี หาย3. ระบบการพิมพ์และจ่านวนสีทจี่ ะพมิ พ์ รวมท้ังการใชเ้ ทคนิคพิเศษอน่ื ในทางการพมิ พ์ หรอื ไม่ เนอื่ งจากปกหน้าของหนงั สือทาหนา้ ท่ีเหมือนหนา้ โฆษณาขายหนงั สือเลม่ นั้นๆ จงึ เป็น เรอ่ื งท่สี มเหตสุ มผลท่ีจะใหค้ วามสาคญั เป็นพเิ ศษท้ังในงานออกแบบและการผลติ

เอกสารประกอบการเรยี นวิชาการผลติ ส่อื สิ่งพมิ พท์ างธุรกจิ ดว้ ยคอมพวิ เตอร์ หนา้ | 28 รปู แบบของหน้าใน รปู แบบของหนา้ ในของหนงั สือน้นั จะมลี กั ษณะเชน่ ไรยอ่ มขึ้นอย่กู บัลกั ษณะของสงิ่ ทจ่ี ะเป็นองคป์ ระกอบของเนอ้ื หา ไดแ้ ก่ เนือ้ หาท่ีเปน็ ตัวพิมพแ์ ละภาพประกอบตา่ งๆ ว่ามีมากนอ้ ยและต้องการคุณภาพในระดบั ใด ท้ังนีค้ วรพิจารณาในเร่อื งตอ่ ไปน้ี 1. กระดาษท่ใี ช้ในการพิมพเ์ ปน็ กระดาษชนดิ ใด และจะเป็นกระดาษท่มี ีความหนาหรือ นา้ หนกั เทา่ ใด 2. ระบบการพิมพท์ เี่ หมาะสมควรเปน็ ระบบใด และพิมพ์กส่ี ี ในหนงั สอื บางเล่มอาจจะมีหนา้ ในทม่ี กี ารพิมพส์ ไี ม่เท่ากนั จงึ ต้องมีการกาหนดวา่ จะเป็น หนา้ สส่ี ีทหี่ นา้ หนา้ สีเดียวกห่ี นา้ รวมท้งั มกี ารใช้เทคนิคพเิ ศษอื่นในทางการพมิ พ์หรอื ไม่ โดยปกตแิ ลว้ หน้าในของหนังสือมกั จะไม่คอ่ ยในเทคนิคพเิ ศษอะไรมากนัก ยกเว้นหนังสือ เดก็ ซึ่งอาจจะมกี ารอัดตดั ตามแมแ่ บบหรือไดคตั หรือป๊อปอพั ( Pop Up) เพื่อเพ่ิมมติ ใิ ห้ หนา้ หนงั สือ แบบและขนาดตวั อกั ษร ปกติแล้วตวั อักษรที่ใช้ในหนงั สอื หนงึ่ เลม่ จะไม่มคี วามหลากหลายมากนักแตอ่ าจมคี วามแตกต่างกนั ระหวา่ งตัวที่เป็นหวั เรือ่ งหรือพาดหัว กับตวั ทีเ่ ปน็ เน้ือเร่อื งเทา่ นนั้ อย่างไรกต็ ามในเร่อื งขนาดของตวั เนอื้ เร่อื ง จะต้องพจิ ารณาใช้ในขนาดท่เี หมาะสมกบั ผอู้ า่ นท่ีเปน็ กลมุ่ เป้าหมาย หากเปน็ ผ้มู อี ายุมากหรือเดก็ อาจจะ ต้องเลือกตัวอักษรท่มี ี ขี นาดใหญก่ ว่าตัวอักษรทใ่ี ช้ สาหรบั วนั รุ่นหรือผใู้ หญ่ทัว่ ไป แบบและจา่ นวนภาพประกอบ ภาพประกอบเป็นอกี ตัวแปรหนึง่ ทคี่ วรนามาพจิ ารณา วา่ ต้องการจะนาเสนอภาพประกอบเป็นสส่ี ีหรือขาวดา จานวนอย่างละกี่รปู ซ่งึ แบบและจานวนภาพประกอบน้จี ะไปมีผลตอ่ การเลือกชนดิ กระดาษ ระบบการพมิ พ์ และต้นทุนในการผลติ การกา่ หนดขั้นตอนหลังการพิมพ์ เน่ืองจากหนังสอื มขี นาดความหนาท่ีหลากหลาย ทาใหว้ ิธีการเยบ็ เลม่ หนงั สือทีเ่ หมาะสมแตกต่างกนั ไป นอกจากน้ีเทคนคิ พิเศษบางอย่าง เชน่ ดุนนนู ( Emboss) การประทับลายร้อน ป๊มัทอง (Foil Stamping) หรือไดคตั หรอื การอัดตดั ตามแมแ่ บบก็เปน็ สิ่งทตี่ อ้ งดาเนนิ การภายหลงัการพิมพเ์ สรจ็ สนิ้ ลง ดงั น้ันการไดส้ รุปขัน้ ตอนท่คี าดว่าจะใช้หลงั การพมิ พ์ไว้ล่วงหนา้ จะทาให้นกั ออกแบบได้คิดเผอ่ื ในขณะทีท่ าการออกแบบ

เอกสารประกอบการเรียนวชิ าการผลติ สื่อสิ่งพิมพท์ างธรุ กิจด้วยคอมพวิ เตอร์ หน้า | 29องค์ประกอบและการจัดวางองคป์ ระกอบในการออกแบบหนงั สือ ท่จี รงิ แล้วการออกแบบหนังสือกม็ ีหลกั การเหมือนกับการออกแบบสอ่ื สงิ่ พิมพ์อนื่ ซงึ่ ได้กลา่ วถึงไปแลว้ อย่างไรก็ตามหนงั สือมี ส่วนประกอบท่ีแตกต่างกบั จากส่ือสิ่งพิมพ์อื่น ทาให้มีรายละเอยี ดเพมิ่ เติมในการออกแบบสว่ นประกอบท่สี าคญั คอื ปกหน้าของหนังสือซง่ึ เป็นหนา้ ที่สาคญั ท่ีสดุ เชน่ เดยี วกับหนา้ แรกของหนังสอื พมิ พแ์ ละปกหนา้ ของนติ ยสาร โดยปกหนา้ จะต้องทาหนา้ ท่ี ดงึ ดดู ความสนใจของผ้พู บเหน็ ให้อยากจะหยิบขน้ึ มาดจู ากช้ันหนังสือ ในขณะเดยี วกนั ปกหนา้ ของหนงั สอื กจ็ ะตอ้ งทาหนา้ ทส่ี ือ่ สาร ให้เหน็ ถงึ ความคดิ เบอ้ื งหลังรวมทัง้ บคุ ลิกลักษณะของเนื้อเรือ่ งภายในหนังสือด้วย เพ่อื ให้บรรลวุ ตั ถุประสงค์ท้ังสองส่วนนีน้ ักออกแบบ จะตอ้ งทาการออกแบบส่วนต่างๆ ในปกหน้าของหนงั สือดังน้ี1. ตราสญั ลักษณ์ของสานักพมิ พ์2. ขอ้ ความประกอบปกหน้า3. ชอื่ หนงั สือ4. ชอ่ื ผู้แตง่ หรือผแู้ ปล5. ภาพประกอบปกหนา้

เอกสารประกอบการเรยี นวิชาการผลิตสือ่ สิ่งพมิ พท์ างธุรกิจดว้ ยคอมพิวเตอร์ หนา้ | 30การออกแบบสิ่งพมิ พเ์ ฉพาะกจิ การออกแบบโปสเตอร์ หลักการท่วั ไปในการออกแบบโปสเตอร์มี 2 เร่อื งทีส่ าคญั คือ ส่ิงทต่ี ้องกาหนดและวางแผนก่อนการออกแบบโปสเตอรแ์ ละองค์ประกอบและ การจัดวางองค์ประกอบ ในการออกแบบโปสเตอร์ส่งิ ทีต่ อ้ งกา่ หนดและวางแผนกอ่ นการออกแบบโปสเตอร์ โปสเตอร์ ก่อนออกแบบโปสเตอร์น้ัน มีเรอ่ื งต้องกาหนดและวางแผนเฉพาะในส่วนที่เกย่ี วขอ้ งกบั การออกแบบ ดงั นี้ 1. การก่าหนดขนาดและรปู แบบของโปสเตอร์ แม้วา่ โปสเตอร์จะสามารถผลติ ได้ในทกุ ขนาดและรูปแบบ แต่ในการกาหนดขนาดและ รปู แบบนั้น จะตอ้ งคานึงถงึ ความประหยดั ใน ด้านตน้ ทุน การพมิ พแ์ ละการผลติ ซึ่งตน้ ทุน ที่สาคญั คือคา่ กระดาษทใ่ี ชใ้ นการพมิ พ์ การกาหนดขนาดที่ทาให้เกดิ การตดั กระดาษ ได้โดยไม่เศษเหลือหรือเหลอื เศษน้อยจงึ เป็นเรอ่ื งท่ีควรคานึงถึง ยงิ่ ต้องการผลติ โปสเตอร์ เป็น จานวนมาก ก็จะยง่ิ คิดถึงเรื่องน้ี โปสเตอรโ์ ดยทั่วไปจะมขี นาดเป็นทนี่ ิยมใช้กนั เป็น ขนาดมาตรฐาน เช่น ขนาดตดั ส่ี ตดั สอง เปน็ ตน้ 2. รูปแบบภาพประกอบ รปู แบบของภาพประกอบในโปสเตอร์น้ันสามารถเปน็ ไปได้ทกุ ลักษณะ ทงั้ นี้ตวั แปรท่ีต้องคานึง ถึงคือความเหมาะสมในการนาเสนอความคิดที่ต้องการสอื่ สารไปยงั ผูด้ ู เพราะลกั ษณะของภาพประกอบ แต่ละแบบยอ่ มแสดงออกซ่ึงบคุ ลิก ลกั ษณะเฉพาะตัวเชน่ ภาพสีฝนุ่ จะดนู ุ่มนวลชวนฝัน ขณะทีภ่ าพ คอมพวิ เตอรก์ ราฟกิจะ ดทู นั สมัย เปน็ ต้น นอกจากนร้ี ะบบการพมิ พท์ ี่เลือกใช้ เป็นอีกตวั แปรหนงึ่ ที่มผี ลตอ่ การตัดสินใจเลอื ก รูปแบบของภาพประกอบ

เอกสารประกอบการเรยี นวิชาการผลติ สื่อสิง่ พิมพท์ างธรุ กจิ ดว้ ยคอมพิวเตอร์ หน้า | 31 องค์ประกอบและการจดั วางองค์ประกอบในการออกแบบโปสเตอร์ การออกแบบโปสเตอรม์ ีความซบั ซ้อนน้อยกว่าการออกแบบสือ่ สิ่งพิมพป์ ระเภทอนื่ ๆ ท่ไี ดก้ ลา่ วไปแล้วข้างตน้ ทงั้ นีเ้ พราะมีทั้งส่วนประกอบ และเน้อื หา น้อยกว่า โดยมีรายละเอียดพิเศษดงั น้ี1. พาดหัว2. ภาพประกอบ3. ภาพสนิ คา้4. ตราสัญลกั ษณส์ นิ ค้า5. ขอ้ ความ

เอกสารประกอบการเรยี นวิชาการผลติ ส่อื ส่งิ พมิ พท์ างธรุ กจิ ด้วยคอมพวิ เตอร์ หน้า | 32 การออกแบบแผน่ พับ หลักการท่วั ไปในการออกแบบแผ่นพับมี 2 เรอื่ งท่ีสาคญั คอื สิง่ ท่ีตอ้ งกาหนดและวางแผน ก่อนการออกแบบแผน่ พับและองคป์ ระกอบและการจัดวางองค์ประกอบในการออกแบบ แผน่ พับ สิง่ ทต่ี อ้ งกา่ หนดและวางแผนก่อนการออกแบบแผน่ พบั ก่อนจะทาการออกแบบแผน่ พับนน้ั มเี ร่ืองท่ีต้องกาหนดและวางแผนเฉพาะในสว่ นที่ เกย่ี วขอ้ งกบั การออกแบบ ดงั นี้1. การกา่ หนดขนาดและรูปแบบของแผน่ พับ แผ่นพับเปน็ สอ่ื สงิ่ พิมพ์ซง่ึ จดั เปน็ การเผยแพร่ถึงกลมุ่ เปา้ หมายโดยตรงชนดิ หน่ึง การนาไปใชง้ านนน้ั อาจทาไดห้ ลายวธิ ี โดยส่งทาง ไปรษณีย์ให้ผอู้ ่านทค่ี าดวา่ จะเปน็ กล่มุ ทีส่ นใจสินคา้ หรือบรกิ ารนัน้ ๆ หรอื นาไปใสไ่ ว้ในกล่องท่จี ดั ทาข้นึ เป็นพเิ ศษ ซงึ่ จะไปต้ังตามสถานที่สาธารณะ เชน่ ศนู ย์การคา้ เพ่ือให้ผูท้ ส่ี นใจหยบิ ไปเอง ( Take-Onebox) นอกจากน้ียงั มีการใชค้ นไปยืนแจกตามสถานท่ที ค่ี าดวา่ กลุ่มคนที่สนใจจะไปการผลติ รปู แบบของแผ่นพับจะเป็นกระดาษแผน่ เดียว พิมพท์ ัง้ สองหนา้ แลว้ พบั อยา่ งน้อย 1 พับ รูปแบบท่ีนิยมทสี่ ดุ คอื เป็นกระดาษขนาดเอสีแ่ ลว้ พับ 2 ครงั้2. การก่าหนดลักษณะการส่ง เนอ่ื งจากการนาแผน่ พับไปใชง้ านน้ันทาได้หลายวิธตี ามทไี่ ด้กล่าวไปขา้ งตน้ แลว้ การกาหนดลกั ษณะการแจกจ่ายแผ่นพับ ท่แี น่นอน จะทาให้ทราบ ลว่ งหน้าถงึ ข้อทีค่ วรคานงึ ถึงในข้ันตอนการออกแบบ เช่น หากจะสง่ ทางไปรษณยี ์ กอ็ าจตอ้ งออกแบบซองทจี่ ะใชใ้ ส่ หรอื เวน้พ้นื ท่วี า่ งเอาไวเ้ ขียนชือ่ และที่อยขู่ องผู้รับ รวมทงั้ การติดแสตมปห์ รอื การเสียคา่ ไปรษณยี ์เปน็การลว่ งหนา้ เปน็ ตน้3. การกา่ หนดกระดาษ โดยทั่วไปแล้วการกาหนดกระดาษสาหรบั ทาแผ่นพบั มกั จะคานงึ ถงึ ต้นทนุ ในการผลติ เปน็หลกั เพราะแผน่ พับ 1 ใบทีแ่ จกออกไปน้ัน จะมีผพู้ บเห็นเพยี งคนเดียวเทา่ นัน้ ผดิ กับสื่ออ่ืนๆเชน่ โปสเตอร์ 1 แผน่ ทีม่ ีผผู้ า่ นไปมาพบเห็นมากมาย อยา่ งไรก็ตามการกาหนดกระดาษทใ่ี ชใ้ นการทาแผน่ พับนั้นก็ต้อง มีความเหมาะสมกบั สินคา้ หรือบริการทตี่ ้องการสอ่ื สารด้วย เชน่ แผ่น

เอกสารประกอบการเรียนวชิ าการผลติ สอ่ื ส่ิงพมิ พท์ างธุรกิจด้วยคอมพวิ เตอร์ หนา้ | 33พับของเรือสาราญทีม่ คี วามหรหู ราก็ควรจะใชก้ ระดาษทพ่ี เิ ศษและมีราคากวา่ กระดาษทัว่ ไปลักษณะของกระดาษทแ่ี ตกตา่ งกันสามารถทาให้แผ่นพบั มีลกั ษณะไมเ่ หมอื นกนั อย่างส้ินเชงิและในดา้ นเทคนิคกระดาษบางชนิดก็มีขอ้ จากดั ในเรอื่ งการพบั โดยเฉพาะกระดาษท่มี คี วามหนามากกว่าปกติ คอื จะต้องพบั ไปในแนวเดียวกับทิศทางการเรยี งตวั ของเสน้ ใยกระดาษ (Grain) เทา่ นน้ั4. การก่าหนดล่าดบั ของการอา่ นตามลกั ษณะของแผน่ พบัเมอ่ื ผู้อ่านได้รบั แผน่ พับน้นั จะเปน็ ลักษณะทย่ี งั พบั อยู่ ทาให้ผอู้ ่านไดเ้ ห็นดา้ นหนา้ กอ่ นหน้าอน่ื ๆ จากนน้ั เม่ือผอู้ ่านคลี่แผ่นพับน้ันออกก็จะคอ่ ยๆ เหน็ หน้าอนื่ ๆ ดงั น้นั จึงตอ้ งกาหนดลาดับของเนื้อหาให้อยใู่ นตาแหน่งหน้าทส่ี อดคลอ้ งกับลาดบั ของการคลีแ่ ผน่ พับนนั้ ออกอ่านโดยต้องกาหนดว่าเน้ือหาส่วนใดควรมากอ่ นสว่ นใดควรมาทหี ลัง แลว้ จัดวางไปตามสว่ นตา่ งๆให้ถูกต้องตามลาดบั ของการคลี่ออกอ่าน องคป์ ระกอบและการจดั วางองค์ประกอบในการออกแบบแผ่นพับ ก่อนจะทาการออกแบบแผน่ พบั นนั้ มเี รอ่ื งท่ตี ้องกาหนดและวางแผนเฉพาะในส่วนท่ีเก่ยี วขอ้ งกับการออกแบบ ดังนี้1. พาดหวั มกั เป็นตวั อักษรขนาดใหญห่ รืออยูใ่ นตาแหนง่ ทเ่ี ดน่ พาดหวั ของแผ่นพบั จะต้อง อยดู่ า้ นหนา้ ของแผ่นพับ คอื ด้านท่เี หน็ ก่อนดานอืน่ เสมอ โดยมกั นิยมวางไว้ในสว่ นบนของ ดา้ นหน้าแผน่ พบั ทง้ั น้กี เ็ พราะเมอื่ นาแผ่นพบั นนั้ ไปวางไว้ในกล่องแลว้ ส่วนบนของแผน่ พับ

เอกสารประกอบการเรยี นวชิ าการผลติ ส่ือสง่ิ พิมพท์ างธรุ กิจดว้ ยคอมพิวเตอร์ หนา้ | 34 ก็จะยงั โผลอ่ อกมา ทาใหส้ ามารถอา่ นพาดหวั ได้ พาดหวั ของแผ่นพับมกั เป็นข้อความส้นั ๆ ทาให้อา่ นเข้าใจงา่ ย จึงสามารถเลือกใช้รูปแบบของตัวอักษรที่เหมาะสมกับสนิ ค้าและ บรกิ ารไดห้ ลากหลายโดยอาจเปน็ ตวั อักษรทีป่ ระดษิ ฐข์ ้ึนมาใหม่ได้ 2. ภาพประกอบ มักวางอยู่หน้าเดียวกับพาดหวั แต่ไม่จาเปน็ ต้องมีค่กู ันเสมอไปหาก ส่วนประกอบใดประกอบหนึง่ สามารถทาหนา้ ท่เี รียกร้องความสนใจใหผ้ อู้ า่ นตอ้ งการหยบิ แผน่ พับข้ึนมาอ่านได้ ภาพจะช่วยดึงความสนใจของผอู้ ่านหรือตามข้อความอาจมี ภาพประกอบเลก็ ๆ เพ่ือใช้ประกอบเนอ้ื หาแสดงใหเ้ ห็นรายละเอยี ดของสนิ คา้ และบรกิ าร ไดช้ ดั เจนมากขนึ้ 3. ข้อความ เน่ืองจากแผ่นพบั มพี ื้นทก่ี ารพิมพค์ ่อนข้างจากัดขอ้ ความเนอ้ หาจึงมกั มีขนาด เลก็ แตไ่ ม่ควรเล็กกว่า 12 พอยตแ์ ละควรใชต้ ัวอักษรสีเขม้ บนพ้ืนสีออ่ น ดกี วา่ ตวั อกั ษรสี อ่อนบนพื้นเขม้ แบบอักษรทใ่ี ช้ควรใชเ้ พียง 1-2 แบบ และต้องคานึงถึงการวางขอ้ มูล เพอื่ ใหล้ าดบั การอา่ นท่ถี กู ต้อง ในการออกแบบจะตอ้ งเวน้ พื้นที่ว่างไว้เพ่ือไม่ให้มีข้อความ มากเกนิ ไปเพราะจะทาให้นา่ เบอื่ ผอู้ ่านไม่สนใจทจี ะอ่าน 4. ภาพสนิ คา้ และตราสัญลักษณ์ ภาพสินคา้ อาจนามาเป็นภาพประกอบในหน้าแรกของแผ่น พับกไ็ ด้ แต่หากภาพสินคา้ ไม่ใชภ่ าพหลกั ในหนา้ แรกก็ควรมภี าพสินคา้ อยู่ในแผ่นพบั ด้วย สว่ นตราสัญลักษณ์ควรอยทู่ ีด่ า้ นหนา้ แผน่ พบั รวมกับพาดหัวหรอื ภาพประกอบหลกั และ ควรมตี ราสัญลกั ษณ์ในตอนท้ายของแผ่นพับด้วยเพื่อเป็นการยา้ เตือนถงึ สินคา้ และ สญั ลกั ษณ์ของบริษัท

เอกสารประกอบการเรยี นวชิ าการผลติ ส่อื สิง่ พมิ พท์ างธรุ กิจดว้ ยคอมพิวเตอร์ หน้า | 35 การออกแบบจดหมายขา่ ว หลกั การท่วั ไปในการออกแบบจดหมายข่าวมี 2 เร่อื งท่สี าคญั คือ ส่ิงท่ตี อ้ งกาหนดและวางแผนก่อนการออกแบบจดหมายข่าว และองค์ประกอบ และการจดั วางองคป์ ระกอบในการออกแบบจดหมายขา่ วสงิ่ ท่ตี ้องก่าหนดและวางแผนกอ่ นการออกแบบจดหมายขา่ ว ก่อนจะทาการออกแบบจดหมายข่าวนั้น มเี รอื่ งต้องกาหนดและวางแผนเฉพาะในส่วนท่ีเก่ยี วขอ้ งกับการออกแบบ ดังนี้1. การก่าหนดขนาดและรปู แบบของจดหมายข่าว ในการกาหนดขนาดและรปู แบบของจดหมายขา่ วนั้น สง่ิ ทต่ี ้องคานึงเปน็ การเพิม่ เติมจากการออกแบบส่อื สง่ิ พิมพ์อ่ืนๆ คอื ลักษณะการนาสง่ จดหมายข่าว เนอ่ื งจากจดหมายข่าวส่วนใหญ่จะส่งให้ผ้ทู ่ีเปน็ สมาชิกหรอื อยูใ่ นกลุม่ ขององค์กรนัน้ ๆ การนาส่งมกั ใชไ้ ปรษณยี ์หรอืบรกิ ารรบั สง่ ดังน้นั จดหมายข่าวนน้ั ตอ้ งมีขนาดที่สะดวกต่อการนาสง่ โดยไมเ่ สยี หายง่ายอีกท้ังตอ้ งไมส่ นิ้ เปลืองคา่ ขนสง่ จนเกินไป ขนาดที่เป็นทน่ี ยิ มมาก ขนาดหน่ึงคือขนาดเอส่ีจดหมายข่าวในปัจจุบันมกี ารจดั ทาในรูปแบบตา่ งๆ เช่น เป็นแผน่ ปลิวเพียงหน้าเดยี ว หรอื พบัครงึ่ แลว้ เยบ็ สนั ดว้ ยลวด เปน็ ตน้2. รปู แบบของปกหน้าหรอื หนา้ แรกของจดหมายข่าว จดหมายข่าวมสี องรปู แบบใหญๆ่ คอืรูปแบบแรกเป็นการคดั ขอ้ ความยอ่ ๆ ของเร่อื งตา่ งๆ ในฉบับมานาเสนอ และรปู แบบทส่ี องเป็นการ นาเสนอเรอื่ ง ที่เด่นทสี่ ุดในฉบับท้ังเร่ืองดงั นน้ั ก่อนออกแบบรายละเอยี ดจะตอ้ งตดั สินใจเลอื กเสียก่อนว่าจะเลือกใช้รปู แบบใด3. รปู แบบและขนาดตวั อักษร ในการออกแบบจดหมายข่าวน้ัน ควรกาหนดรปู แบบหลักๆ ของตวั อกั ษร สาหรบัหนา้ ต่างๆ เอาไวเ้ พอ่ื ให้เกดิ ความสม่าเสมอ และความรวดเรว็ ในการออกแบบ จดหมายข่าวฉบบั ต่อๆ ไป นอกจากแบบแล้วก็ควรกาหนดขนาดเอาไว้ด้วยวา่ ตวั อักษรในส่วนใดควรจะมี

เอกสารประกอบการเรียนวชิ าการผลติ ส่อื ส่ิงพมิ พท์ างธรุ กิจด้วยคอมพวิ เตอร์ หน้า | 36 ขนาดเท่าใด โดยขนาดตวั อักษรท่ีใชเ้ ปน็ ตวั พิมพ์เน้อื เร่ือง นนั้ ไม่ควรมีขนาดเลก็ กว่า 12 พอยต์ ส่วนตัวอกั ษรท่ใี ชเ้ ปน็ ตวั พิมพ์หวั เรือ่ ง หวั รอง ฯลฯ นัน้ ควรจะมขี นาดใหญ่ ตง้ั แต่ 18 พอยต์ ขึ้นไป อย่างไรก็ตาม เนอ่ื งจากจดหมายขา่ วมีกล่มุ ผ้อู ่าน ท่แี นน่ อน ซ่ึงผู้จดั ทาทราบแน่ชัด ดังน้ันขนาดตวั อักษรจึงควรเลือกให้เหมาะสม เชน่ อาจจะใช้ขนาดตวั อักษรที่ คอ่ นขา้ ง ใหญ่ กว่าปกตหิ ากกลุม่ ผู้รับเปน็ คนชรา เป็นต้น4. การกา่ หนดขนาดและรปู แบบของจดหมายข่าว ภาพประกอบในจดหมายข่าวควรได้รับการกาหนดลว่ งหนา้ เช่นเดยี วกันกับตัวอกั ษรด้วยเหตผุ ลเดยี วกนั เน่อื งจากจดหมายข่าวมีหน้าตา่ งๆ หลายหน้า จงึ ควรกาหนดลกั ษณะภาพประกอบใหม้ ีลักษณะเดียวกนั เพ่อื ใหเ้ กิดเอกภาพร่วมกนั ท้งั ฉบบัองคป์ ระกอบและการจัดวางองค์ประกอบในการออกแบบจดหมายขา่ ว การออกแบบจดหมายข่าวนัน้ มีลกั ษณะคล้ายกับการออกแบบหนังสือพมิ พแ์ ละนิตยสารปนกัน โดยเฉพาะจดหมายข่าว ทม่ี หี ลายๆ หนา้ ทัง้ นม้ี ีรายละเอียดท่เี ป็นพเิ ศษออกไป ดงั น้ี1. หนา้ แรกของจดหมายข่าว หน้าแรกของจดหมายข่าวมีความสาคัญเช่นเดียวกนั กับปก หน้าของนิตยสาร เพราะปกหน้า เปรยี บเสมือนหน้าตาของจดมายข่าวซึ่งจะกอ่ ใหเ้ กดิ ความประทับใจเมือ่ แรกเหน็ อกี ทั้งยังเป็นโอกาสสาคญั ทส่ี ุดทนี่ กั ออกแบบจะใชใ้ น การ ดึงดูดผู้ทไ่ี ด้รับจดหมายขา่ วน้ันหยบิ จดหมายขา่ ว ขน้ึ มาอ่านแทนทีจ่ ะโยนท้งิ ไปแถบชอื่ หรือ “หวั หนงั สือ” เปน็ องค์ประกอบ สาคัญสดุ ของจดหมาย ขา่ วกว็ ่าได้ โดย 1) เมื่อไดท้ ่าการออกแบบหัวหนังสอื แลว้จะตอ้ งยดึ รปู แบบเดิมนไี้ ว้ตลอด เพ่ือใหผ้ ูท้ ่ไี ด้รับจดหมายขา่ วสามารถรบั รไู้ ด้ทนั ทที ี่ได้รบั ว่าเปน็ จดหมายขา่ วของใครเพอื่ จะไดห้ ันไปให้ความสนใจกบั เรอ่ื งเด่นในฉบับไดใ้ นทันทีหวั หนังสือน้ีมหี ลกั การออกแบบในลักษณะเดียวกับหัวหนงั สอื นติ ยสารทไ่ี ด้กลา่ วมาแลว้ 2) สารบญั ของจดหมายข่าวจะแตกตา่ งจากสารบญั ของนติ ยสารหรอื หนงั สอื

เอกสารประกอบการเรยี นวชิ าการผลติ สื่อสงิ่ พิมพท์ างธรุ กิจด้วยคอมพิวเตอร์ หน้า | 37 ซงึ่ มักแยกออกมาเปน็ หน้าหน่ึงตา่ งหาก แต่สารบญั ของจดหมายขา่ วจะมลี กั ษณะเปน็พนื้ ท่ี สี่เหลย่ี มเล็กๆ (Box) วางอย่ใู นหนา้ แรก เน่อื งจากจุดประสงค์หลกั ของสารบญั น้เี พือ่ ช่วย ให้ผู้อ่านสามารถค้นหา เรื่องทต่ี อ้ งการ ไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว ดังนัน้ ในการออกแบบจึงควรเน้น ความเรยี บงา่ ย และทาใหพ้ ้นื ทส่ี ่วนน้แี ยกออกมาอยา่ งเดน่ ชดั ซ่งึ อาจมีการใช้สพี ้นื เปน็ สี ท่แี ตกตา่ งจากสว่ นอ่ืนๆ ของหนา้ แรก 2.องค์ประกอบอ่นื ๆ ที่มอี ยทู่ ั้งในหนา้ แรกและหนา้ ในนอกจากหวั หนงั สอื และสารบัญแล้วองคป์ ระกอบอน่ื ๆ ในหน้าแรกของจดหมายขา่ ว จะมีความคล้ายคลงึ กับหน้าใน ซ่งึ แยกเปน็องค์ประกอบตา่ งๆ ได้ ดงั นี้ 1) พาดหัว ควรเน้นความสมา่ เสมอของทัง้ รูปแบบและขนาดของตัวอักษร ไมค่ วรเปล่ียน รูปแบบและขนาดตัวอกั ษรบอ่ ยๆ เพราะเท่ากบั วา่ ไมไ่ ด้ใชป้ ระโยชนจ์ ากความคุ้นเคย ซ่ึงผูอ้ า่ น มีมาจากการได้อ่านจดหมายข่าวฉบับกอ่ นๆ พาดหวั น้จี ะเปน็ ตัวอกั ษรในรปู แบบ ทมี่ ีหวั หรอื ไมม่ กี ไ็ ด้แต่ต้องเป็นตัวท่ีอา่ นไม่ยากจนเกินไปนัก 2) ขอ้ ความ เปน็ ข้อมลู มีปริมาณมาก ดงั น้ันจึงควรคานึงถงึความสะดวกในการอ่านนอก จากการใช้ขนาดของตัวอักษรแล้ว สขี องตวั อกั ษรกม็ คี วามสาคัญโดยควรใชส้ ดี าหรอื สีเขม้ เทา่ นนั้ การใช้ตัวสอี ่อนบนพ้ืนสเี ขม้ จะอ่านยากกวา่ การใชต้ ัวสเี ข้มบนพ้ืนสอี ่อนรปู แบบของ ตัวอกั ษรทีม่ หี วั เป็นรูปแบบที่มีความเหมาะสมสาหรับใช้เปน็ ขอ้ ความเน้อื หามากกวา่ ตวั อกั ษรทีไ่ ม่มหี วั 3) ภาพประกอบ เปน็ องคป์ ระกอบทตี่ ้องการความสม่าเสมอในการนามาใช้เช่นเดยี วกนักับ องคป์ ระกอบอ่ืนๆ หากเปน็ ภาพประกอบต้องพจิ ารณาเทคนคิ ทีเ่ หมาะสมกบั องคก์ ร เชน่ภาพวาดด้วยคอมพวิ เตอร์กราพิกจะดูเหมาะสมกับจดหมายขา่ วองคก์ รที่เกีย่ วกับเทคโนโลยี เป็นตน้ การใช้ภาพถ่ายก็ตอ้ งพจิ ารณาในลกั ษณะเดยี วกันเช่น ภาพขาวดาอาจจะ ดูเหมาะสมกบั จดหมายขา่ วขององค์กรสาธารณะกุศลมากกวา่ ภาพ 4 สีสดใส เป็นต้น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook