Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอคลองท่อม

ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอคลองท่อม

Description: ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอคลองท่อม

Search

Read the Text Version

ขอ้ มูลปราชญช์ าวบา้ นและภมู ปิ ัญญาท้องถ่ิน กศน.อำเภอคลองท่อม ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอคลองท่อม สำนักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอัธยาศยั จงั หวดั กระบ่ี

ฐานข้อมลู ภูมิปญั ญาท้องถิน่ ภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ ท่ีเกย่ี วกับการดำรงชีวิตตามสภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาติ ภูมิปัญญาท้องถน่ิ เรือ่ ง การเลี้ยงแพะ และการบรหิ ารจัดการฟาร์มแพะ 1. ข้อมูลเจา้ ของภูมิปญั ญาท้องถิ่น ช่อื -สกลุ นายสฤษด์ิ ชนะเมือง วันเดอื นปเี กดิ 27 ธนั วาคม 2519 อายุ ๔๕ ปี ที่อยู่ ๔๗ หมู่ ๑๐ ตำบลพรุดนิ นา อำเภอคลองท่อม จงั หวัดกระบ่ี เบอรโ์ ทรศพั ท์ 0860787764 ครู กศน.ประจำพนื้ ท่ี นางนันทณ์ ภัส บำรงุ ผล 2. ขอ้ มลู การเดนิ ทางไปยงั ภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน โดยสังเขป (เริ่มตน้ จากท่วี ่าการอำเภอ) 3. ขอ้ มูล/รายละเอียดภูมิปญั ญาท้องถิน่ สัณหณัฐฟาร์มแพะ บา้ นทบั ไทร ม.10 ต.พรดุ นิ นา อ.คลองท่อมจ.กระบี่ 0860787764 https://www.youtube.com/watch?v=eIqWtql957A&list=PLTi3jfXuvGLzEBvk- XzzNnQdifB0E-qxb&index=7

ภาพประกอบภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ

ฐานข้อมูลภมู ิปัญญาทอ้ งถิน่ ภูมิปญั ญาท้องถ่นิ ท่ีเกี่ยวกบั การดำรงชีวติ ตามสภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาติ ภมู ิปัญญาท้องถิน่ เร่ือง การเลยี้ งแพะ และการบรหิ ารจัดการฟารม์ แพะ ๑. ขอ้ มลู เจ้าของภูมิปัญญาท้องถิ่น ชอ่ื -สกลุ นายสรุ ศกั ด์ิ เรืองมาก วนั เดอื นปีเกดิ 27 ธันวาคม 2519 อายุ ๔๗ ปี ทีอ่ ยู่ บา้ นเลขที่ 66 ม.1 ตำบลพรดุ นิ นา อำเภอคลองทอ่ ม จงั หวัดกระบี่ เบอร์โทรศพั ท์ 0860787764 ครู กศน.ประจำพนื้ ที่ นางนันทณ์ ภัส บำรงุ ผล ๒. ขอ้ มูลการเดินทางไปยังภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ิน โดยสงั เขป (เริ่มตน้ จากทว่ี า่ การอำเภอ) ๓. ข้อมูล/รายละเอยี ดภมู ิปัญญาท้องถน่ิ - เปน็ เจ้าของฟาร์มแพะ ทำอาหารสำหรบั แพะเอง ปลกู หญา้ ไวส้ ำหรบั ให้แพะกนิ เอง - ทำการเกษตรแบบผสมผสาน มีการเลยี้ งแพะ ปลกู ปาล์มและปลกู ผกั ปลอดสารพิษ - ทำปยุ๋ ชวี ภาพและน้ำหมักชวี ภาพ

ภาพประกอบภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ

ฐานขอ้ มูลภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน ภูมิปญั ญาท้องถิน่ ที่เกยี่ วกับการดำรงชวี ิตตามสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ภูมปิ ญั ญาท้องถนิ่ เร่อื ง การทำเกษตรผสมผสาน ๑. ขอ้ มูลเจ้าของภมู ิปัญญาท้องถ่ิน ชือ่ -สกลุ นายสำเนา จนั ทร์ส่งแสง วนั เดอื นปีเกิด ๑๔ กันยายน 25๐๔ อายุ ๖๐ ปี ท่อี ยู่ บ้านเลขท่ี 6๒ /๑ ม.1๐ ตำบลพรดุ ินนา อำเภอคลองท่อม จังหวดั กระบ่ี เบอร์โทรศัพท์ 080--7099206 ครู กศน.ประจำพน้ื ท่ี นางนันทณ์ ภสั บำรงุ ผล ๒. ขอ้ มูลการเดนิ ทางไปยังภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น โดยสงั เขป (เร่ิมตน้ จากท่ีว่าการอำเภอ) ๓. ข้อมลู /รายละเอียดภูมิปัญญาทอ้ งถนิ่ - ทำเกษตรแบบผสมผสาน มีฟารม์ แพะ - สวนปาลม์ - สวนยาง - สวนผลไม้

ภาพประกอบภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ

ฐานข้อมลู ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่นิ ภูมิปญั ญาท้องถิ่นทีเ่ ก่ียวกบั การดำรงชีวติ ตามสภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาติ ภมู ิปญั ญาท้องถิ่น เรอ่ื ง การทำชุมชนชีววถิ ี บา้ นควน ตำบลพรุดินนา ๑. ข้อมูลเจา้ ของภูมิปญั ญาท้องถิ่น ชอื่ -สกลุ นางจรุ ีย์ กณั หกุล วนั เดือนปีเกดิ ๑๔ กันยายน 25๐๔ อายุ ๖๐ ปี ท่อี ยู่ บา้ นเลขที่ ๓๑ ม.๔ ตำบลพรุดนิ นา อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบ่ี เบอร์โทรศพั ท์ 0๖๑ – ๒๓๔๓๒๘๗ ครู กศน.ประจำพ้นื ที่ นางนันทณ์ ภัส บำรุงผล ๒. ขอ้ มูลการเดนิ ทางไปยังภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิน่ โดยสงั เขป (เร่ิมต้นจากท่วี า่ การอำเภอ) ๓. ขอ้ มูล/รายละเอียดภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่น - เปน็ ศนู ย์เศรษฐกิจพอเพยี งแบบเกษตรธรรมชาติ - ทำปยุ๋ หมักและป๋ยุ แห้งแบบเกษตรธรรมชาติ - มกี ารแปรรปู ผลติ ภัณฑ์ทางการเกษตร

ภาพประกอบภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ

ฐานข้อมูลภูมปิ ญั ญาท้องถ่ิน ภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ ท่เี กยี่ วกับการดำรงชวี ิตตามสภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาติ ภมู ปิ ญั ญาท้องถิน่ เร่ือง การทำชุมชนชีววถิ ี บ้านควน ตำบลพรุดนิ นา ๑. ข้อมูลเจา้ ของภมู ิปญั ญาท้องถิ่น ชื่อ-สกุล นางจินตนา วิชติ จอมทอง วนั เดือนปีเกิด ๑๔ กันยายน 25๐๙ อายุ ๕๕ ปี ทีอ่ ยู่ บา้ นเลขท่ี ๓๑/๑ ม.๔ ตำบลพรดุ นิ นา อำเภอคลองท่อม จงั หวัดกระบี่ เบอร์โทรศพั ท์ 08๓-0๖๓๗๖๘๔ ครู กศน.ประจำพ้นื ท่ี นางนันท์ณภสั บำรงุ ผล ๒. ข้อมลู การเดินทางไปยังภมู ิปัญญาทอ้ งถนิ่ โดยสงั เขป (เร่ิมตน้ จากที่วา่ การอำเภอ) ๓. ข้อมลู /รายละเอียดภูมิปัญญาท้องถิน่ - ทำเศรษฐกจิ พอเพียง แปรรปู ผลิตภัณฑท์ างการเกษตร - ทำวุ้นว่านหางจระเข้ - ทำน้ำกระชายขาว

ภาพประกอบภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ

ฐานขอ้ มลู ภมู ิปญั ญาท้องถิน่ ภูมิปญั ญาท้องถิ่นทเ่ี ก่ียวกับการละเล่นพนื้ บา้ น ภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ เร่ืองการตีกลองยาว 1. ข้อมลู เจา้ ของภมู ิปัญญาท้องถ่ิน คณะกลองยาว หมู่ท่ี ๕ นายจำเนียร ชนะกุล ท่อี ยู่ บา้ นเลขท่ี ๐๐๙/๑ ม.๕ ตำบลพรดุ ินนา อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบ่ี เบอร์โทรศพั ท์ 0๙๗-0๘๗๓๐๐๙ ครู กศน.ประจำพนื้ ท่ี นางนันทณ์ ภัส บำรุงผล 2. ขอ้ มลู การเดินทางไปยังภูมปิ ัญญาท้องถิ่น โดยสังเขป (เร่ิมตน้ จากทีว่ า่ การอำเภอ) 3. ข้อมูล/รายละเอยี ดภูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ ๓. นายจำเนียร ชนะกุล ๖. นายมนูญ เวณุผล รายชอื่ คณะกลองยาว ๙. นายสพุ จน์ สำเภา ๑. นายอำนวย เทยี บแกว้ ๒. นายสราวฒุ สำเภา ๑๒. นายมงคล ปรางศรีอรุณ ๔. นายจำลอง ทองชยั ๕. นายสมบูรณ์ คงศิริ ๗. นายสมเกียรติ บุญชว่ ย ๘. นายสฤษด์ิ จินดาพร ๑๐.นายสมพร โจง้ บุตร ๑๑. นายสมมิตร เวณุผล

ภาพประกอบภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ



ฐานขอ้ มูลภูมิปัญญาทอ้ งถนิ่ ภมู ิปญั ญาท้องถิน่ ทเี่ กย่ี วกบั อาหารและผักพน้ื บ้าน ภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่น เร่ือง การปลูกผกั กางมุ้ง 1. ข้อมลู เจา้ ของภูมิปญั ญาท้องถิ่น ช่ือ-สกลุ นายคณติ แซ่อวิ๋ . วันเดอื นปีเกิด 14 พฤษภาคม ๒๕๐๘ อายุ ....๕๕...... ปี ท่ีอยู่ ๔/๓หมูท่ ่ี ๕ ต.พรดุ นิ นาอ.คลองทอ่ ม จังหวดั กระบี่ เบอร์โทรศพั ท์ ๐๘๐ ๗๐๘ ๓๖๔๓ ครู กศน.ประจำพืน้ ท่ี นางนันท์ณภัส บำรงุ ผล 2. ข้อมูลการเดินทางไปยงั ภูมปิ ัญญาท้องถิ่น โดยสังเขป (เร่ิมต้นจากทว่ี ่าการอำเภอ) 3. ขอ้ มูล/รายละเอยี ดภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ - จัดทำมุ้งเพอื่ การปลกู ผักปลอดสารพษิ - ทำน้ำหมักชีวภาพ - ทำนำ้ หมกั ป้องกนั แมลง - แปรรปู ผลิตภณั ฑ์ทางการเกษตร

ภาพประกอบภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ

ฐานขอ้ มลู ภูมิปญั ญาทอ้ งถ่นิ ภูมปิ ัญญาท้องถิน่ ทีเ่ กี่ยวกับอาหารและผกั พื้นบ้าน ภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ หมอดินและการทำปุ๋ยหมักชวี ภาพ ๑. ขอ้ มลู เจ้าของภมู ิปญั ญาท้องถิ่น ชื่อ-สกลุ นางอุไร แซ่อ๋ิว. วันเดอื นปีเกิด ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๑๕ อายุ ....๔๙.... ปี ทีอ่ ยู่ ๔/๓หม่ทู ี่ ๕ ต.พรุดินนา อ.คลองท่อม จงั หวัดกระบ่ี เบอร์โทรศัพท์ ๐๙๔ ๕๖๔ ๔๗๙๑ ครู กศน.ประจำพน้ื ที่ นางนันท์ณภสั บำรงุ ผล ๒. ขอ้ มลู การเดินทางไปยังภมู ิปัญญาทอ้ งถน่ิ โดยสังเขป (เร่ิมตน้ จากทวี่ ่าการอำเภอ) ๓. ข้อมลู /รายละเอียดภมู ปิ ัญญาท้องถนิ่ - เปน็ หมอดินประจำตำบลพรุดินนา - ปรับสภาพดนิ - ปลูกผักปลอดสารพษิ - ทำสารเคมีและน้ำยาลา้ งจาน

ภาพประกอบภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ

ฐานขอ้ มลู ภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ ภูมปิ ญั ญาท้องถ่นิ ที่เกย่ี วกับอาหารและผกั พนื้ บา้ น ภูมิปัญญาท้องถ่ิน การทำขนมกาละแม ๑. ขอ้ มลู เจา้ ของภูมิปัญญาท้องถ่ิน ช่ือ-สกุล นางสำเนา ทองหนูน. วันเดอื นปเี กิด ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๑๕ อายุ ....๔๙.... ปี ทอ่ี ยู่ ๔/๓หมทู่ ่ี ๕ ต.พรุดินนา อ.คลองท่อม จงั หวัดกระบ่ี เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๒ – ๒๔๘๙๕๖๔ ครู กศน.ประจำพน้ื ที่ นางนันท์ณภสั บำรงุ ผล ๒. ขอ้ มูลการเดนิ ทางไปยงั ภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ โดยสังเขป (เร่ิมต้นจากทว่ี ่าการอำเภอ) ๓. ข้อมูล/รายละเอยี ดภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ ละแมเป็นขนมดง้ั เดิมของตำบลพรุดนิ นา อำเภอคลองท่อม จงั หวดั กระบี่ โดยภายใต้ของกลุ่ม สตรี สหกรณ์พรุดินนาร่วมใจ โดยนางลำเนา ทองหนุน ประธานกลุ่มในภายใต้ตรา กะละแมล่ ำเนา กะละแมผลติ ภณั ฑ์ ทีพ่ ัฒนารปู แบบทันสมัยท่ีได้รับรองมาตรฐาน จากหนว่ ยงานเป็นขนมของฝากของจงั หวดั กระบี่ การนั ตีคุณภาพ ขน้ึ ทะเบียนเปน็ ผลติ ภัณฑ์สินคา้ โอทอประดับ 3 ดาวเมื่อปี พ.ศ. 2551 และระดบั 4 ดาว เมือ่ ปี พ.ศ.2553 ตามลำดับ กะละแม เป็นขนมไทยลักษณะเป็นแปง้ เหนยี วสีดำ เป็นขนมหนงึ่ ในสามชนดิ ทนี่ ิยมทำขึ้นในวนั ปใี หมข่ องคนไทยในสมยั ก่อน ซึ่งจะต้องทำให้เสรจ็ ก่อนวันสงกรานต์ คือ ขา้ วเหนียวแก้ว ขา้ วเหนียวแดง และ กะละแม ยงั ไม่ทราบวา่ กะละแมมีท่ีมาจากขนมหวานของชาตใิ ด บางท่านกลา่ ววา่ มาจากขนมกาลาเมก็ ของ ฝร่งั เศส หรือคาราเมลของอังกฤษ หรือเกละไมของชาวมลายู พุทธทาสภิกขุตง้ั ข้อเสนอว่านา่ จะมาจากขนมฮูละ วะของอนิ เดียทีม่ สี ่วนผสมเป็นนม แป้ง และนำ้ ตาลสว่ นราชบัณฑติ ยสถานกลา่ วว่า ขนมชนิดนีไ้ ด้มาจากมอญและ พมา่ เรียกว่า กฺวายนฺ กลาแม (อ่านวา่ กฺวาน-กะ-ลา-แม) กะละแมมี 2 ชนดิ แบง่ ตามวิธีการกวน คอื กะละแมเมด็ (ด้ังเดิม) กะละแมแบบน้สี ีเข้ม ขนมอาจจะมีลกั ษณะเปน็ จุดๆแทรกอยู่ กะละแมแปง้ แต่ใส่แปง้ ข้าวเหนียวแทนเมด็ ข้าวเหนยี ว กะละแมทกี่ วนขายในปจั จุบันสว่ นใหญเ่ ป็นกะละแมแป้งเพราะทำง่ายกวา่

ภาพประกอบภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ

ฐานข้อมลู ภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ ภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่นท่ีเกย่ี วกับอาหารและผักพืน้ บ้าน ภูมิปญั ญาท้องถิ่น ทเุ รยี นกวน ๑. ข้อมลู เจา้ ของภมู ิปญั ญาท้องถิ่น ชื่อ-สกุล นางสาวไอลดา หลีจิ วันเดอื นปีเกิด ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๓๓ อายุ ....๓๑.... ปี ท่ีอยู่ 29 ม. 4 ตำบลพรดุ ินนา อ.คลองท่อม จังหวัดกระบ่ี เบอรโ์ ทรศัพท์ 081 345 9876 ครู กศน.ประจำพื้นที่ นางนันทณ์ ภัส บำรงุ ผล ๒. ข้อมลู การเดนิ ทางไปยงั ภูมปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ โดยสงั เขป (เริ่มต้นจากทวี่ า่ การอำเภอ) ๓. ขอ้ มูล/รายละเอยี ดภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิ่น ละแมเป็นขนมดงั้ เดิมของตำบลพรุดินนา อำเภอคลองทอ่ ม จงั หวดั กระบ่ี โดยภายใตข้ องกล่มุ สตรี สหกรณพ์ รดุ นิ นารว่ มใจ โดยนางลำเนา ทองหนนุ ประธานกลุ่มในภายใต้ตรา กะละแมล่ ำเนา กะละแมผลติ ภัณฑ์ ที่พัฒนารูปแบบทันสมัยที่ได้รับรองมาตรฐาน จากหน่วยงานเปน็ ขนมของฝากของจงั หวดั กระบี่ การันตีคุณภาพ ข้นึ ทะเบยี นเป็นผลติ ภัณฑส์ นิ ค้าโอทอประดับ 3 ดาวเม่ือปี พ.ศ. 2551 และระดับ 4 ดาว เมอื่ ปี พ.ศ.2553 ตามลำดับ กะละแม เป็นขนมไทยลักษณะเปน็ แปง้ เหนียวสีดำ เปน็ ขนมหน่งึ ในสามชนดิ ทีน่ ิยมทำขน้ึ ในวนั ปีใหม่ของคนไทยในสมัยก่อน ซ่งึ จะต้องทำใหเ้ สรจ็ กอ่ นวันสงกรานต์ คือ ขา้ วเหนยี วแก้ว ข้าวเหนยี วแดง และ กะละแม ยังไมท่ ราบว่ากะละแมมีที่มาจากขนมหวานของชาตใิ ด บางท่านกลา่ วว่ามาจากขนมกาลาเมก็ ของ ฝรัง่ เศส หรือคาราเมลขององั กฤษ หรือเกละไมของชาวมลายู พทุ ธทาสภกิ ขุตงั้ ข้อเสนอว่าน่าจะมาจากขนมฮูละ วะของอินเดียที่มีส่วนผสมเป็นนม แป้ง และน้ำตาลสว่ นราชบัณฑติ ยสถานกลา่ วว่า ขนมชนิดน้ีได้มาจากมอญและ พมา่ เรียกวา่ กฺวายนฺ กลาแม (อ่านว่า กวฺ าน-กะ-ลา-แม) กะละแมมี 2 ชนดิ แบง่ ตามวิธีการกวน คือ กะละแมเมด็ (ด้งั เดิม) กะละแมแบบนส้ี เี ขม้ ขนมอาจจะมลี กั ษณะเปน็ จดุ ๆแทรกอยู่ กะละแมแป้ง แต่ใส่แป้ง ขา้ วเหนียวแทนเม็ดข้าวเหนยี ว กะละแมทก่ี วนขายในปจั จุบันสว่ นใหญ่เปน็ กะละแมแป้งเพราะทำง่ายกว่า

ภาพประกอบภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ

ฐานข้อมลู ภมู ิปัญญาท้องถนิ่ ภมู ปิ ัญญาท้องถิ่นทเี่ ก่ียวกบั การประดิษฐกรรม ภูมิปัญญาท้องถนิ่ เรื่อง การทำไมก้ วาดดอกอ้อ 1. ขอ้ มูลเจ้าของภมู ิปญั ญาท้องถ่ิน ชือ่ -สกลุ นางเพยี ร ชนะกุล วนั เดอื นปีเกิด ๑๓ พฤศจกิ ายน ๒๔๙๙ อายุ .....๖๕......... ปี ทีอ่ ยู่ .บ้านเลขที่ ๑๒ หม่ทู ี่ ๑๑ ตำบลพรดุ นิ นา อำเภอคลองท่อม จังหวดั กระบ่ี เบอรโ์ ทรศัพท์ 081 079 1342 ครู กศน.ประจำพ้ืนท่ี นางนันท์ณภัส บำรงุ ผล 2. ข้อมูลการเดนิ ทางไปยงั ภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ โดยสังเขป (เริ่มต้นจากทว่ี า่ การอำเภอ) 3. ข้อมูล/รายละเอียดภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่น วิถชี ีวติ ของนางเพียรและชาวบา้ นทบี่ า้ นช่องเสยี ด ม.๑๑ ต.พรุดนิ นา อ.คลองท่อม จ.กระบ่ี เหมอื นกับคนใต้ท่วั ไปอาชีพหลกั คือทำสวนยางพารา เวลาว่างกท็ ำน้ำอ้อยขาย และทำไม้กวาดดอกอ้อ ขาย

ภาพประกอบภูมิปญั ญาท้องถ่นิ

ฐานขอ้ มลู ภูมิปัญญาท้องถิน่ ฐานข้อมูลภมู ิปัญญาท้องถนิ่ ภูมปิ ัญญาท่ีเกย่ี วกบั ประดิษฐกรรม ภูมปิ ัญญาท้องถิน่ เรื่อง การจักสาน 1. ขอ้ มูลเจ้าของภูมิปัญญาท้องถนิ่ ช่ือ-สกุล นางเจย้ี ม ทองด้วง เกดิ เมื่อวันที่ 25 มถิ นุ ายน 2491 อายุ 82 ปี ทอ่ี ยู่ บ้านเลขท่ี 17 หมู่ 4 บ้านบางคราม ตำบลคลองทอ่ มเหนือ อำเภอคลองท่อม จังหวดั กระบี่ เบอร์โทร - ครู กศน.ประจำพ้ืนท่ี ตำบลคลองท่อมเหนือ 2. ขอ้ มูลการเดนิ ทางไปยังภูมิปัญญาท้องถนิ่ โดย สังเขป (เรมิ่ ตน้ จากที่วา่ การอำเภอ) 3. ข้อมูล/รายละเอียดภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน เป็นบคุ คลที่มีความร้คู วามสามารถ ในด้านจักสาน ซึ่งงานท่ีผลติ นั้นมีความปราณีต สวยงาม ตลอดจนมี ความทนทาน วัสดุทใ่ี ชใ้ นการผลติ ได้แก่ ไมไ้ ผ่ และหวาย

ภาพประกอบภูมิปญั ญาท้องถ่นิ

ฐานขอ้ มูลภมู ิปัญญาท้องถ่นิ ฐานขอ้ มลู ภมู ปิ ัญญาท้องถ่ิน ภูมิปัญญาที่เก่ยี วกับสมุนไพรและตำรายาพน้ื บา้ น ภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ เรือ่ ง การแพทย์แผนไทย 1. ขอ้ มูลเจ้าของภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ ชือ่ -สกุล นายลบั นาคช่วย เกดิ เมื่อวนั ท่ี 15 มนี าคม 2481 อายุ 79 ปี ทอ่ี ยู่บ้านเลขท่ี 1 หมู่ 2 บ้านบางเตยี ว ตำบลคลองท่อมเหนือ อำเภอคลองท่อม จงั หวัดกระบ่ี เบอรโ์ ทร - ครู กศน.ประจำพ้นื ที่ ตำบลคลองท่อมเหนือ 2. ขอ้ มูลการเดินทางไปยงั ภูมิปัญญาท้องถนิ่ โดย สังเขป (เริม่ ต้นจากที่ว่าการอำเภอ) 3. ข้อมูล/รายละเอียดภูมิปัญญาท้องถ่นิ ความสามารถเฉพาะ มีความสามารถในการรักษากระดูก จะใชว้ ิธีการจับ คลำ สมั ผัสเบา ๆ กจ็ ะรู้วา่ กระดูกหักส่วนไหนของ รา่ งกายบ้าง เชน่ แขนหกั ขาหัก ข้อมือ นว้ิ สะโพกหลดุ และไหปลาร้า วิธกี ารรกั ษาแบบหมอพ้นื บา้ น หมอพื้นบา้ นรักษากระดูก จะใช้วิธกี ารจับ คลำ สมั ผสั เบา ๆ กจ็ ะรู้วา่ กระดูกหกั สว่ นไหนของรา่ งกาย บ้าง เช่น แขนหกั ขาหกั ข้อมือ นวิ้ สะโพกหลุด และไหปลารา้ เปน็ ตน้ กรณีกระดูกหักจะใช้เฝือกไม้ในการพันมัดไว้และใช้น้ำมันมะพร้าว น้ำมันงา ที่ทำขึ้นมาเองทาและ นวด และ กรณีกระดูกไหปลาร้าหัก หมอจะจัดกระดูกพันรักแร้เต้าไปที่ไหล่และพันไว้ไม่ให้กระดูกเกย กัน เพราะถ้ากระดูกเกยกันจะทำให้เจ็บและรักษาไม่หาย พันเฝือกไว้ประมาณ 3 วัน จะแกะออกมาดูว่า กระดูกติดหรือยัง เพราะกระดูกสามารถเคลื่อนได้ หากกระดูกเคลื่อนต้องจัดกระดูกใหม่ แต่ถ้ากระดูกแตก มาก ตอ้ งไปให้หมอแผนปัจจุบนั ในโรงพยาบาลรกั ษา

ภาพประกอบภูมิปญั ญาท้องถ่นิ

ฐานขอ้ มลู ภูมิปัญญาท้องถ่นิ ฐานข้อมลู ภมู ิปัญญาท้องถ่ิน ภูมิปญั ญาที่เก่ียวกบั ศิลปะพื้นบ้าน ภมู ิปัญญาท้องถิ่น เรอ่ื ง ศิลปะพืน้ บ้าน 1. ข้อมูลเจา้ ของภูมปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ชอ่ื -สกุล นายเฉลียว ทองทรัพย์ เกดิ เมื่อวันท่ี 17 พฤษภาคม 2495 อายุ 64 ปี ทอ่ี ยู่บา้ นเลขท่ี หมู่ 4 บ้านบางคราม ตำบลคลองท่อมเหนือ อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบ่ี เบอรโ์ ทร - ครู กศน.ประจำพื้นที่ ตำบลคลองท่อมเหนือ 2. ขอ้ มูลการเดินทางไปยงั ภูมิปัญญาท้องถนิ่ โดย สังเขป (เรมิ่ ตน้ จากท่ีวา่ การอำเภอ) 3. ข้อมูล/รายละเอียดภมู ิปัญญาท้องถนิ่ ผมู้ คี วามรู้ความสามารถ และความชำนาญในการทำจาดสารทเดอื นสิบ ภาพประกอบภูมปิ ัญญาทอ้ งถนิ่

ฐานข้อมลู ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ภูมปิ ัญญาท้องถิ่นทเี่ กยี่ วกบั โภชนาการ ภมู ิปัญญาท้องถนิ่ เรอ่ื ง ทำปลาหวาน 1. ข้อมูลเจ้าของภูมปิ ัญญาทอ้ งถิน่ ชอื่ -สกุล นางสมฤทยั ญาติพิทักษ์ วนั เดือนปีเกิด ๓๐ เดือน มถิ ุนายน พ.ศ.251๓ อายุ 4๗ ปี ทีอ่ ยู่ บ้านเลขที่ ๑๕๓ หมู่ที่ ๔ บา้ นบอ่ มะมว่ ง ตำบลทรายขาว อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ เบอร์โทรศพั ท์ - ครู กศน.ประจำพ้ืนที่ ตำบลทรายขาว 2. ขอ้ มูลการเดินทางไปยงั ภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ โดยสงั เขป ( เรม่ิ ต้นจากท่ีว่าการอำเภอ ) เดินทางจากที่ว่าการอำเภอคลองท่อมไปตามถนน กระบี่-ตรงั ไปถงึ ส่ีแยกไฟแดงตำบลทรายขาว เล้ยี ว ขวาเข้าถนนทรายขาว-บอ่ มะมว่ ง เขา้ ไปประมาณ ๗ กโิ ลเมตร เลยี้ วขวาเข้าซอยท้ายพรุ เข้าไปในซอยประมาณ ๒ กิโลเมตร เจอ ๓ แยก เล้ียวซ้ายกถ็ ึงบา้ น 3. ข้อมูล/รายละเอียดภูมปิ ัญญา นางสมฤทัย ญาตพิ ทิ ักษ์ (จะ๊ อ้วน) อายุ ๔๗ ปี ใชช้ ีวติ เรยี บงา่ ยเปน็ ทร่ี ักของลูกหลาน เนือ่ งจากในชุมชน ทอ้ งถิ่นอยใุ่ กล้ทะเล ประชากรสว่ นใหญ่มีอาชพี ประมงทำใหห้ าปลาตัวเล็กได้ง่ายในการมาทำปลาหวาน และมี ธรุ กิจเลก็ ๆเปดิ รา้ นอาหารริมทะเล ทำปลาหวาน และแบง่ ปันใหเ้ พ่ือนบา้ นในหมู่บ้านมีความรเู้ กย่ี วกับ วิธีการทำ ปลาหวาน และยังส่งเสริมให้มีรายไดเ้ พ่ิมขึ้นอีกดว้ ย ภาพประกอบภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่น

ฐานขอ้ มูลภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ ภูมปิ ัญญาท้องถนิ่ ทเี่ ก่ยี วกบั การแพทยแ์ ผนไทย ภมู ิปัญญาท้องถนิ่ เร่ือง นวดแผนโบราณ 1. ข้อมูลเจา้ ของภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิน่ ชอ่ื -สกุล นางสมจติ ร จงรักษ์ วนั เดอื นปีเกดิ ๓๑ เดอื น พฤษภาคม พ.ศ.2๔๙๐ อายุ ๗๐ ปี ท่ีอยู่ บ้านเลขที่ ๕๕ หมูท่ ี่ ๓ บา้ นหว้ ยพลหู นัง ตำบลทรายขาว อำเภอคลองท่อม จงั หวัดกระบ่ี เบอร์โทรศพั ท์ - ครู กศน.ประจำพื้นท่ี ตำบลทรายขาว 2. ขอ้ มูลการเดนิ ทางไปยังภูมปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ โดยสงั เขป ( เริม่ ตน้ จากที่ว่าการอำเภอ ) เดนิ ทางจากทว่ี ่าการอำเภอคลองท่อมไปตามถนน กระบ่ี-ตรัง ไปถงึ สแ่ี ยกไฟแดงตำบลทรายขาว เล้ยี ว ขวาเข้าถนนทรายขาว-บ่อมะมว่ ง เข้าไปประมาณ ๓ กโิ ลเมตร เลย้ี วขวาเขา้ ซอยท้ายพรุ เข้าไปในซอยประมาณ ๒ กิโลเมตร เจอ ๓ แยก เล้ียวซา้ ยกถ็ งึ บา้ น 3. ขอ้ มูล/รายละเอียดภมู ิปัญญา นางสมจติ ร จงรกั ษ์ (โตะ๊ แหมะ) อายุ ๗๐ ปี ใช้ชวี ติ เรียบงา่ ยเปน็ ทีร่ ักของลูกหลาน ใชเ้ วลาวา่ งปลูกผัก สวนครวั ปลกุ สมนุ ไพรไว้กินเอง และแบง่ ปันให้เพื่อนบ้านมีความร้เู กย่ี วกับสมุนไพรในการรักษาโรคต่างๆ เช่น ไข้ ทบั ฤดู ปวดประจำเดือน ปวดเม่อื ยตามรา่ งกาย เปน็ ตน้ และยงั มีการนวดแผนโบราณ สำหรับคนทปี่ วดเม่ือยตาม ร่างกาย สาเหตุจากการตัง้ ครรภ์ หรอื ไขท้ ับฤดู ภาพประกอบภูมปิ ัญญาท้องถนิ่

ฐานข้อมูลภมู ิปัญญาท้องถิ่น ภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ ท่เี กย่ี วกบั สมนุ ไพรและตำรายาพนื้ บา้ น ภูมิปัญญาท้องถ่นิ เรือ่ ง นวดแผนไทย 1. ขอ้ มูลเจ้าของภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่น ชื่อ-สกุล น.ส. กันญาภา สขุ รวย อายุ 49 ปี ท่ีอยู่ บ้านเลขที่ 187/ 5 หมู่ที่ 2 ตำบลคลองทอ่ มใต้ อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ เบอร์โทรศพั ท์ 082-080-8920766 ครู กศน.ประจำพืน้ ท่ี ศรช.บา้ นคลองขนาน 2. ข้อมูลการเดนิ ทางไปยงั ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน โดยสังเขป ( เร่มิ ต้นจากท่ีวา่ การอำเภอ ) เดนิ ทางจากที่วา่ การอำเภอคลองท่อมตามเสน้ ทางหมายเลข 4038 ผ่านโรงเรยี นกาญจนาภิเษกวทิ ยา ลัยกระบี่ ผา่ น ปตท.เพหลา ขับไปเรอื่ ย ๆ จนถึงเสน้ ทางหมายเลข 1009 เทศบาลคลองทอ่ มใต้ เข้าซอย 2 3. ข้อมูล/รายละเอียดภมู ปิ ัญญา การนวดแผนไทย หรอื นวดแผนโบราณ เปน็ การนวดชนดิ หนง่ึ ในแบบไทย ซ่ึงเปน็ ศาสตรบ์ ำบัดและ รักษาโรคแขนงหนึ่งของการแพทย์แผนไทย โดยจะเนน้ ในลักษณะการยืดเสน้ และการกดจดุ ซง่ึ รู้จักกันโดยทว่ั ไป ในช่ือ “นวดแผนโบราณ” โดยมหี ลกั ฐานวา่ นวดแผนไทยนั้นมีประวัตมิ าจากประเทศอินเดยี และมีการนำเขา้ มา ในประเทศไทย จากนั้นได้ถกู พัฒนาและปรับปรุงแก้ไขให้เข้ากนั กับวัฒนธรรมของสังคมไทย จนเป็นรปู แบบแผนท่ี เป็นมาตรฐานของไทยและสง่ ทอดมาจนถงึ ปจั จบุ ัน ภาพประกอบภูมิปัญญาทอ้ งถ่นิ

ฐานข้อมูลภูมปิ ัญญาท้องถิน่ ภูมิปัญญาท้องถ่ินทเ่ี ก่ียวหตั ถกรรม ภมู ปิ ัญญาท้องถิน่ เรือ่ ง การสานใบมะพร้าว 1. ข้อมูลเจ้าของภูมิปัญญาท้องถ่นิ ชื่อ-สกุล นางพาณี พธิ กจิ อายุ 46 ปี ทีอ่ ยู่ 143/7 หมู่ที่ 2 ตำบลคลองท่อมใต้ อำเภอคลองท่อม จงั หวดั กระบี่ เบอรโ์ ทรศพั ท์ 080-8920766 ครู กศน.ประจำพ้ืนท่ี ศรช.บ้านคลองขนาน 2. ข้อมูลการเดนิ ทางไปยังภูมิปัญญาท้องถน่ิ โดยสังเขป ( เรม่ิ ตน้ จากท่ีว่าการอำเภอ ) เดนิ ทางจากท่วี ่าการอำเภอคลองท่อมตามเสน้ ทางหมายเลข 4038 ผ่านโรงเรยี นกาญจนาภิเษกวิทยา ลัยกระบี่ ผา่ น ปตท.เพหลา ขับไปเร่ือย ๆ จนถึงเสน้ ทางหมายเลข 1009 เทศบาลคลองท่อมใต้ 3. ข้อมูล/รายละเอียดภมู ปิ ัญญา เป็นพชื ยนื ต้นชนดิ หนงึ่ อยู่ในตระกูลปาล์ม มะพรา้ ว เป็นพืชซงึ่ สามารถใชป้ ระโยชน์ได้ในหลายทาง เช่น นำ้ และเน้อื มะพรา้ วอ่อนใชร้ บั ประทาน เนอ้ื ในผลแก่นำไปขูดและค้ันทำกะทิ กะลานำไปประดิษฐ์สิ่งของต่าง ๆ เช่น กระบวย โคมไฟ ฯลฯ นอกจากนี้มะพรา้ วจดั เปน็ พรรณไม้มงคลชนดิ หน่งึ ตามตำราพรหมชาตฉิ บบั หลวง ได้ กำหนดให้ปลูกมะพร้าวไว้ทางทศิ ตะวันออกของบา้ น เพอ่ื ความสิริมงคล จัดเปน็ ภมู ิปญั ญาทางภาคเหนืออีกอย่างหน่งึ ซง่ึ เกิดจากการมีชีวิตความเปน็ อย่ทู เ่ี รียบงา่ ย รกั ธรรมชาติ ยม้ิ แย้มแจม่ ใสใจดี รักศลิ ปะ เสียงเพลงและดนตรี มนี สิ ยั อ่อนโยนออ่ นน้อมถอ่ มตนและสามารถปรับตวั ให้เขา้ กบั สถานการณ์และสภาพแวดล้อมได้เปน็ อย่างดีมีภมู ปิ ัญญาสามารถนำสิ่งท่ีใกล้มือในท้องถ่ินมาประดิษฐเ์ ปน็ เคร่ืองมอื เครอ่ื งใช้เพื่อประกอบอาชีพและดำเนนิ ชีวิตในประจำวนั หมวกถือเป็นอุปกรณ์ในการปอ้ งกันแดด ปอ้ งกันฝนของคนในชมุ ชนส่วนใหญ่ สบื เนือ่ งมาจากสมยั ก่อนมีการนิยมทำไรทำนา ซึ่งตอ้ งทำกิจกรรมกลางแจ้ง หมวกจึงเปน็ สง่ิ ที่ขาดไม่ได้ในการประกอบอาชีพ ภาพประกอบภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน

ขอ้ มูลภมู ิปัญญาท้องถ่ิน ภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ ท่ีเกี่ยวกบั การดำรงชีวติ ตามสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ เร่ือง การเกษตรแบบผสมผสาน 1. ข้อมูลเจา้ ของภูมปิ ัญญาท้องถิ่น ชื่อ-สกุล นางร่ิม แก้วโลก วันเดอื นปเี กิด 22 เดือน พฤษภาคม พ.ศ.2507 อายุ 57 ปี ทีอ่ ยู่ บ้านเลขท่ี 4/3 หมทู่ ่ี 5 บ้านพรเุ ตียว ตำบลเพหลา อำเภอคลองท่อม จังหวดั กระบี่ เบอรโ์ ทรศัพท์ 082-2618749 ครู กศน.ประจำพน้ื ที่ ตำบลเพหลา 2. ข้อมูลการเดินทางไปยังภูมิปัญญาท้องถนิ่ โดยสงั เขป ( เรมิ่ ต้นจากที่วา่ การอำเภอ ) เดินทางจากทีว่ ่าการอำเภอคลองท่อมตามเส้นทางหมายเลข 4038 ผา่ นโรงเรียนกาญจนาภิเษกวทิ ยา ลัยกระบ่ี ผ่าน ปตท.เพหลา ขับไปเร่ือย ๆ จนถึงเส้นทางหมายเลข 1009 โดยมีปอ้ มตำบลเพหลา และผา่ นวดั เพ หลา ขบั เรือ่ ย ๆ จนถึงถนน หมายเลข 1007 ผา่ น องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลเพหลา ขับเรอื่ ย ๆตามถนนเส้นทาง หมายเลข 1007 จนถึง สามแยกวัดพรุเตย เลีย้ วขวา ขบั อีก500 เมตร จนถึงทห่ี มาย 3. ข้อมูล/รายละเอียดภูมปิ ัญญา การทำเกษตรผสมผสานหมนุ เวยี น ชว่ ยให้ชาวบา้ นสามารถใช้ท่ดี ินให้เกดิ ประโยชนส์ งู สุด สามารถลด รายจา่ ยในการซื้อวตั ถดุ ิบในการประกอบอาหาร มีความมัน่ คงทางด้านรายได้อย่างต่อเน่ืองจากการขายผลผลิต ทางการเกษตร มีความมน่ั คง และมีอสิ ระในการใชช้ วี ิต ลดการพง่ึ พาจากภายนอก ใชแ้ รงงานในการทำเกษตร จากครัวเรอื น อาศัยช่วยกนั ทำคนละไมค้ นละมือ “ปา้ ริ่ม” เปน็ เกษตรกรคนหนึง่ ทม่ี ีการปลูกพชื แบบผสมผสานภายในบา้ น ประกอบด้วย ผกั ผลไม้ พชื สวนครวั และมกี ารลยี้ งไก่ไข่ ภายในบรเิ วณบา้ น และยงั มีการทำ ถังหมักชีวภาพ เพื่อเป็นปยุ๋ เนอ่ื งจากป้าริม่ เจอกับต้นทุนการใชป้ ุ๋ยเคมี ยาปราบศัตรูพชื ซึง่ เป็นตน้ ทนุ ระยะยาว และเกิดความจำเปน็ ที่ต้องใชเ้ พ่ิมขนึ้ บางคร้ังคดิ ว่าได้กำไร แต่ต้องมาแบกรบั ภาระตน้ ทุนดา้ นน้ีไว้อยา่ งมาก ปา้ รม่ิ จึงคิดทำนำ้ หมักใช้ในครวั เรือนและ ปุย๋ หมักจากขีไ้ ก่และเศษใบหญา้ จากบรเิ วณบ้าน เพ่ือลดการใช้ปยุ๋ เคมแี ละรายได้ก็เพ่ิมขึ้นตามมา

ภาพประกอบภูมิปญั ญาท้องถ่นิ

ฐานขอ้ มูลภมู ิปัญญาท้องถ่นิ ภมู ิปัญญาท้องถ่นิ ท่เี กี่ยวกบั ศลิ ปะวัฒนธรรม ภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน เรื่อง การตีกลองยาว 1. ขอ้ มูลเจา้ ของภูมปิ ัญญาท้องถนิ่ ชอ่ื -สกุล นายกิตติศกั ด์ิ คงภักดี วนั เดอื นปีเกิด 15 เดือน กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ.2518 อายุ 46 ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ 13 หมทู่ ่ี 6 บ้านบางใหญ่ ตำบลเพหลา อำเภอคลองท่อม จังหวดั กระบ่ี เบอร์โทรศัพท์ 082-2618749 ครู กศน.ประจำพ้ืนท่ี ตำบลเพหลา 2. ขอ้ มูลการเดินทางไปยงั ภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ โดยสงั เขป ( เริ่มต้นจากที่วา่ การอำเภอ ) เดินทางจากทว่ี ่าการอำเภอคลองท่อมตามเสน้ ทางหมายเลข 4038 ผา่ นโรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวิทยา ลยั กระบ่ี ผา่ น ปตท.เพหลา ขับไปเรอ่ื ย ๆ จนถึงเส้นทางหมายเลข 1009 โดยมีป้อมตำบลเพหลา และผ่านวัดเพ หลา ขบั เรือ่ ย ๆ จนถงึ ถนน หมายเลข 1007 3. ข้อมูล/รายละเอียดภูมปิ ัญญา ลองยาวคณะแผ่นดินไหว เป็นคณะที่สืบทอดมาจากบิดา ของนางเลียบ จันทร์ส่งแสง ซึ่งก่อตั้งใหม่และ เล่นเป็นอาชีพอีกครั้งในปี พ.ศ. 2559 จนถึงปัจจุบัน กลองยาว เป็นเครื่องดนตรีสำหรับตดี ้วยมือท่ีทำจากไม้ มี ลักษณะกลมกลวงมีรูปร่างยาวเจาะทะลุ เป็นโพรงตลอดทั้งลูกตอนบนตั้งแต่หน้ากลองลงมาคอดเป็นกระพุ้งอุ้ม เสียงทรงกลมตกแต่งด้วยผ้าสีสวยสดใสสะท้อนแสงที่ใช้วิธีการเย็บเป็นกระโปรงหุ้มส่วนสายสะพายที่ใช้ขึงด้ วย หนังหน้าเดียวมีสายสำหรับใช้สะพายในเวลาตี สามารถพบการเล่นกลองยาวได้ทั้งในภาคกลาง ภาคเหนือ ภาค อีสาน ภาคตะวันออกและภาคใต้ บางแห่งเรยี กว่ากลองหาง บางแห่งเรยี กกลองแอว แตม่ กั เรยี กว่ากลองยาวด้วย ลักษณะทเี่ ป็นเอกลักษณ์ทโี่ ดดเด่นของกลองชนิดน้ี ทีม่ ีชว่ งกระพุ้งเสียงที่เป็นหางยาว อย่างไรก็ตามเม่ือพิจารณา ลักษณะรูปร่างทรวดทรงของกลองยาวของแต่ละภาค อย่างผิวเผินก็อาจดูเหมือนๆกัน แต่ในข้อเท็จจริงแล้วมี รายละเอียดที่แตกต่างกันออกไป เช่น กลองยาวภาคกลางและกลองแอวของอีสานนั้น ช่วงหน้ากลองที่ขึงหน้า กลองของกลองแอวจะยาวกว่ากลองยาวภาคกลาง แต่มีช่วงหางที่สั้นกว่าปลายหางกลองจะมีลักษณะบานออก มากกว่าทำใหส้ ามารถต้ังไดอ้ ยา่ งม่ันคงและการขึ้นหนงั นนั้ จะเอาด้านทีม่ ีขนไว้ดา้ นนอกเปน็ ต้น วงกลองยาวน้ันนิยมใช้ในงานรื่นเริงสนุกสนานในเทศกาลต่างๆ และงานมงคลต่างๆ ที่มีกระบวนแหเ่ ชน่ งานบวชนาค งานทอดกฐินผ้าป่า งานแต่งงาน งานขน้ึ บา้ นใหม่ งานสงกรานต์ ฯลฯ พบได้ในภาคกลางภาคเหนือ ภาคอสี าน ภาคตะวนั ออกและภาคใต้ จะประกอบด้วยผูแ้ สดงทั้งหญงิ และชายทีแ่ ต่งกายแบบชาวบ้านคือ ชายใส่ กางเกงสวมเสื้อแขนสั้น คอสวมพวงมาลัยมีผ้าคาดเอวคาดศีรษะ ส่วนผู้หญงิ น่งุ โจงกระเบนหรือผา้ ถงุ ยาวสวม เสอ้ื แขนกระบอก ห่มสไบเฉียงไหล่ คาดเข็มขัด ใส่สร้อยคอตุ้มหูสร้อยตัวกำไลข้อมือ ปล่อยผม ทัดดอกไม้ด้านซ้าย สำหรับวงกลองยาวทีใ่ ช้ประกอบในการแสดงรำกลองยาวจะประกอบไปด้วย กลองยาวหลายๆลูกที่สอดประสาน ร่วมกับเครื่องดนตรีประกอบจังหวะอื่นๆ เช่น ฉิ่ง ฉาบ กรับ โหม่งตีบรรเลงเป็นทำนองซ้ำๆ กันไปเรื่อยๆ ผสมผสานกับเสยี งโห่รอ้ งประกอบไปกับการรา่ ยรำให้เกดิ ความสนุกสนาน

ภาพประกอบภูมิปญั ญาท้องถ่นิ

ฐานข้อมูลภมู ปิ ัญญาท้องถ่ิน ภูมิปัญญาท้องถนิ่ ท่เี กีย่ วกบั การแปรรูปอาหาร ภมู ิปัญญาท้องถ่นิ เรอ่ื ง กะปิน้ำร้อน 1. ข้อมูลเจา้ ของภูมปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ชอ่ื -สกุล นางรัชนี เกกนิ ะ วนั เดอื นปีเกดิ - อายุ 67 ปี ที่อยู่ บา้ นเลขที่ 53 หมู่ท่ี 9 บ้านควน ตำบลห้วยน้ำขาว อำเภอคลองท่อม จังหวดั กระบ่ี เบอรโ์ ทรศัพท์ - ครู กศน.ประจำพ้ืนที่ ตำบลห้วยนำ้ ขาว 2. ขอ้ มูลการเดนิ ทางไปยังภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน โดยสงั เขป (เร่ิมต้นจากที่ว่าการอำเภอ) 3. ข้อมูล/รายละเอียดภมู ิปัญญา การทำกะปิจากกุ้งเคยนั้นมีขั้นตอนไม่ยุ่งยาก โดยการออกไปช้อนกุ้งเคยตามชายหาด หรือป่าโกงกาง เมื่อหากุ้งเคยได้แล้วก็นำมาคัดแยก นำกุ้งที่ได้มาล้างกับน้ำทะเลไม่ควรล้างในน้ำธรรมดาเพราะจะทำให้กุ้งเสีย รสชาติได้ เพื่อให้ได้รสชาติกะปิดี และล้างสิ่งสกปรกที่ติดมากับกุ้งออกแล้วนำกุ้งไปตากแดด โดยไม่ให้แห้ง จนเกินไป ควรตากพอหมาดๆ เพราะหากตากแห้งจะทำให้ตำได้ไม่ละเอียด จากนั้นนำกุ้งที่ตากไว้พอหมาดๆ มา ตำ นางรัชนี เกกินะ เป็นบุคคลทมี่ ีความรู้ความสามารถ ในด้านการแปรรปู อาหาร การทำกะปิบ้านน้ำร้อน ยดึ อาชพี นี้มาจากมารดา เมอ่ื 35 ปีทแ่ี ลว้ โดยจำหนา่ ยเองท่บี ้านและท่ตี ลาด ทำกันเองในครอบครัวหลังวา่ งจาก งานทำสวนและประมง ชาวบ้านน้ำร้อน ม.3 ต.ห้วยน้ำขาว อ.คลองท่อม จ.กระบี่ ทำกะปิจากกุ้งเคย นำภูมิ ปญั ญาทไ่ี ด้ศกึ ษาเรียนรู้มาประกอบเป็นอาชีพหลักสรา้ งรายไดเ้ ลยี้ งครอบครวั และเปน็ กะปทิ ไี่ ดร้ ับความนิยมจาก ลูกค้าจำนวนมาก เนื่องจากเป็นกุ้งที่หามาเอง โดยการช้อนตามลำคลอง และเป็นเนื้อกุ้งล้วนๆ ไม่มีส่วนผสมอ่ืน ทำให้รสชาติดี มีคุณค่าทางอาหารสูง โดยเฉพาะคนในหมู่บ้านมาสั่งซื้อไม่ขาดสาย ราคากิโลกรัมละ 180 -200 บาท มรี ายไดเ้ ฉลีย่ เดือนละ 10,000-15,000 บาท

ภาพประกอบภูมิปญั ญาท้องถ่นิ

ฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถ่นิ ภูมิปญั ญาท้องถ่นิ ทเี่ กีย่ วกับด้านการตอ่ เรือประมง ภมู ิปัญญาท้องถน่ิ เรอ่ื ง การต่อเรอื ประมง/เรอื หัวโทง 1. ข้อมูลเจ้าของภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่น ชื่อ-สกุล นายรอด ลกู เหล็ม วันเดือนปเี กิด - อายุ 65 ปี ท่ีอยู่ บา้ นเลขท่ี 203 หมู่ท่ี 3 บ้านนำ้ ร้อน ตำบลหว้ ยนำ้ ขาว อำเภอคลองท่อม จงั หวัดกระบี่ เบอรโ์ ทรศัพท์ - ครู กศน.ประจำพืน้ ที่ ตำบลห้วยน้ำขาว 2. ข้อมูลการเดินทางไปยังภูมปิ ัญญาทอ้ งถิน่ โดยสังเขป (เร่มิ ตน้ จากทว่ี ่าการอำเภอ) 3. ขอ้ มูล/รายละเอียดภูมิปัญญา การต่อเรือประมง/เรือหัวโทง มีกระบวนการการต่อเรือที่สืบทอดกันมาแต่บรรพบุรุษ มีกระบวนการ ขั้นตอนการต่อเรือที่คล้ายกันและมีรายละเอียดบางขั้นตอนแตกต่างกันไปบ้าง เนื่องจากความเจริญด้าน เทคโนโลยีและคุณภาพของวัสดุในแต่ละท้องถิ่น ปัจจัยการด ารงอยู่ของภูมิปัญญาการต่อเรือประมงพื้นบ้านใน ภาคตะวันออก ขึ้นอยู่กับอุดมการณ์ของเจ้าของอู่ต่อเรือ ฝีมือเชิงช่าง ความนิยมของผู้มาว่าจ้างต่อเรือและผู้ ประกอบอาชีพประมง ระบบนิเวศที่ส่งผลกระทบต่อจำนวนสัตว์น้ำในทะเล ปัจจัยที่ทำให้ภูมิปัญญาการต่อ เรอื ประมงพนื้ บา้ นเกิดการเปล่ยี นแปลงมจี ำนวนลดลง คือ วสั ดแุ ละไม้สำหรับต่อเรือขาดแคลนและมรี าคาสูง ขาด ผสู้ บื ทอดชา่ งฝมี อื ทมี่ ีความชำนาญในการต่อเรือมีน้อยลง การเขม้ งวดของกฎหมายของการท าประมงชายฝ่ัง คน รนุ่ ใหม่ไมน่ ยิ มประกอบอาชีพต่อเรือ เนือ่ งจากค่าแรงน้อยได้ เงนิ ช้า ขาดการพฒั นาการจัดการความรู้อย่างย่ังยืน ตามลำดบั นายรอด ลูกเหล็ม เปน็ บคุ คลที่มีความรคู้ วามสามารถ ในดา้ นการต่อเรือหัวโทง ยึดอาชีพน้ีมาจากบิดา เมื่อ 50 ปีที่แล้ว โดยทำจำหน่ายเองที่บ้าน ทำตามคนสั่ง เนื่องจากอายุเริ่มมากแล้ว ไม่มีผู้สานต่อ ปัจจุบันการ ต่อเรอื หัวโทงอาจจะเลือนหายไปจากตำบลหว้ ยนำ้ ขาว เนอ่ื งจากมีผ้เู คยมาศึกษาและนำไปผลิตแต่ไม่สามารถทำ ได้ อาจเปน็ เพราะเป็นการทำทีค่ อ่ นข้างยากต้องอาศยั ความชำนาญและประสบการณ์

ภาพประกอบภูมิปญั ญาท้องถ่นิ

ปราชญช์ าวบ้านด้านการจกั รสาน 1. ขอ้ มูลเจ้าของภูมปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ช่อื -สกลุ นายสุทิน ศรีกมุ าร เกิดเมื่อวนั ที่ 25 มถิ นุ ายน 2479 ปจั จบุ ันอายุ 85 ปี ปจั จบุ ันอยูบ่ ้านเลขท่ี 11/5 หมู่ 1 ตำบลคลองท่อมใต้ อำเภอคลองท่อม จงั หวัดกระบี่ 2.ข้อมูลการเดนิ ทางไปยงั ภูมิปัญญาท้องถ่ิน 3. ข้อมูล/รายละเอียดภมู ิปัญญาท้องถิ่น การสร้างสรรคง์ านจกั สานไมไ้ ผ่ต้องใชท้ ้ังภมู ิปัญญา ความประณีต ความละเอียดอ่อน และทักษะฝีมือเชงิ ชา่ ง ต้ังแต่ การรจู้ กั คุณสมบตั ิของไม้ไผแ่ ต่ละชนดิ ที่มีความเหมาะสมกบั การนำมาใชป้ ระโยชนใ์ นการจกั สาน การ เตรยี มเสน้ เพื่อการสาน ทเี่ หมาะสมกบั การสานผลติ ภัณฑแ์ ตล่ ะชนดิ แตล่ ะรูปแบบ และที่สำคัญคือการสานข้ึนรูป จนสำเรจ็ เปน็ ผลิตภณั ฑเ์ ครอื่ ง จักสานไม้ไผ่ท่นี ำไปประโยชนใ์ ชส้ อยตามท่ีต้องการ งาน หตั ถกรรมจักสานไม้ไผ่ จึง ยังคงเปน็ งานหตั ถกรรมพน้ื บา้ นที่ ยงั คงมีการสบื ทอดต่อกันมา นับจากอดตี กาลจนถงึ ปัจจบุ นั ภาพประกอบภูมิปญั ญาท้องถ่ิน

ปราชญ์ชาวบา้ นดา้ นการด้านการจักรสาน จังหวัดกระบี่ 1.ข้อมูลเจ้าของภูมปิ ญั ญาท้องถ่นิ ช่อื -สกลุ นาง บุหงา เคี่ยมการ เกิดเม่ือวันท่ี 25 พฤษภาคม 2502 ปัจจุบนั อายุ 62 ปี ปจั จุบันอยู่บา้ นเลขที่ 148 หมู่ 1 ตำบลคลองทอ่ มใต้ อำเภอคลองท่อม 2.ขอ้ มูลการเดนิ ทางไปยงั ภูมปิ ัญญาท้องถิ่น 3.ขอ้ มูล/รายละเอยี ดภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน สมัยก่อนปู่ ย่า ตา ยาย ไดท้ ำการจกั สานของใช้ในการ ประกอบอาชีพและการดำรงชีวติ โดยนำวัสดุจาก วสั ดุ ธรรมชาติมาใช้ในการจักสาน เชน่ ไมไ้ ผ่ หญ้า แฝก กก ผือ และอกี หลายๆ อยา่ ง จนก่อให้เกิดงาน อาชีพสืบ ต่อกันมาเป็นภูมิปัญญาสู่ลูกหลานแต่วัสดุ อุปกรณ์จากธรรมชาติเหล่านั้นไม่คงทนเท่าที่ควร ปัจจุบัน ความก้าวหนา้ ทางวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ต่างๆ เกดิ ขึ้นมากมาย ทำใหม้ กี ารดัดแปลงจาก อุปกรณ์เหล่านี้ไป เป็นเส้นพลาสตกิ แทน โดยได้นำเอา เส้นพลาสติกท่ีมีลักษณะคล้ายตอกแตม่ ีสสี นั ลวดลายที่ สวยงามและคงทนมา ทำการสาน สภาพปัจจุบันเด็ก และเยาวชนถูกสภาพสังคมแห่งการบริโภคนิยมเป็น ผู้บริโภคมากกว่าเป็น ผผู้ ลติ จนพฒั นามาเป็นภมู ิปญั ญา ภาพประกอบภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน

ปราชญช์ าวบา้ นด้านการแพทย์แผนไทย จังหวดั กระบ่ี 1.ขอ้ มลู เจ้าของภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ ชอ่ื -สกลุ นางระเบียบ สมเก้ือ เกิดเม่ือวันที่ 16 มนี าคม 2495 ปัจจบุ ันอายุ 69 ปี ปัจจบุ ันอยู่บา้ นเลขที่ 30 หมู่ 1 ตำบลคลองท่อมใต้ อำเภอคลองทอ่ ม 2.ขอ้ มูลการเดินทางไปยงั ภูมิปญั ญาท้องถิน่ 3.ขอ้ มลู /รายละเอียดภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน การนวดเพื่อสุขภาพจึงเปน็ การมุง่ เน้นด้านการส่งเสริมสุขภาพทง้ั สุขภาพทางกายและจิตใจให้อยู่ในภาวะ ทส่ี มบรู ณท์ ำใหม้ ีการไหลเวียนของเลือดไปทัว่ ร่างกาย ยดึ เส้นเอ็นที่ตึงใหห้ ย่อนลง ทำใหก้ ล้ามเนอ้ื ท่ีตึงเครียดจาก อริยาบถในการทำงานประจำวนั ผ่อนคลายลง ทำใหก้ ระดกู และกลา้ มเนื้อมีประสิทธิภาพดขี ึ้น รักษาความยืดหยุ่น ของข้อต่อไม่ให้ติดขัด ทำให้รู้สึกผ่อนคลายสบายกาย สบายใจ ลดความเครียด และทำให้รู้สึกสดชื่นแจ่มใส กระฉับกระเฉง ดังนั้นการนวดจึงเหมือนยาอายุวฒั นะ ซึ่งทำให้สุขภาพสมบูรณ์ในทางตรง และเป็นผลให้อายุยนื ยาวในทางอ้อม เนื่องจากปราศจากโรคภัยไข้เจ็บนั่นเอง ประโยชน์ของการนวดเพื่อสุขภาพ เป็นการนวดเพ่ือ ส่งเสริมสุขภาพร่างกาย และสภาพจิตใจให้สมบูรณ์ คือ 2.1 ระบบการไหลเวียนของเลือด ช่วยให้ระบบการ ไหลเวียนเลือดแดง เลือดดำ และน้ำเหลืองไหลขึ้นลงสะดวกและอยู่ในภาวะสมดุล 2.2 ระบบกระดูกและ กลา้ มเน้ือ ทำให้กระดกู แข็งแรง กลา้ มเน้อื มีประสิทธิภาพสูงขน้ึ สามารถขจัดของเสียในกลา้ มเน้ือออกทางผิวหนัง ทำใหก้ ล้ามเนื้อและข้อต่อมีความยืดหยุ่นผ่อนคลาย 2.3 ด้านจิตใจ ทำใหร้ สู้ ึกผ่อนคลายสบายกาย สบายใจ รู้สึก แจม่ ใส กระฉบั กระเฉงและลดความเครียด การนวดมผี ลทำให้จิตใจและอารมณด์ ีขึน้ ภาพประกอบภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน

ปราชญ์ชาวบ้านด้านแพทย์แผนไทย 1.ขอ้ มลู เจ้าของภูมิปัญญาท้องถิ่น ช่อื -สกลุ นายคลอ่ ง บุตรครธุ เกดิ เม่ือวนั ที่ 22 เมษายน 2482 ปัจจบุ นั อายุ 82 ปี ปจั จบุ นั อยูบ่ ้านเลขที่ 14 หมู่ 1 ตำบลคลองท่อมใต้ อำเภอคลองท่อม จังหวดั กระบี่ 2.ข้อมูลการเดินทางไปยงั ภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่น 3.ข้อมูล/รายละเอียดภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิ่น การเลือกสมุนไพรที่จะนำไปใช้ ก็ต้องเปน็ สมนุ ไพรท่ีใชร้ ักษาโรคหรืออาการเจบ็ ป่วยเลก็ นอ้ ยทีส่ ามารถ วินจิ ฉยั ไดเ้ อง เช่น อาการจุกเสียด ทอ้ งผกู ท้องเสีย บาดแผลเล็กน้อย งูกัด โรคผวิ หนังบางชนิด เปน็ สมุนไพร ท่หี างา่ ยในท้องถน่ิ เพ่ือให้ง่ายตอ่ การใช้งานและต้องแน่ใจวา่ สมนุ ไพรนัน้ ให้ผลดี ปลอดภัย ทส่ี ำคญั สมุนไพรท่ี นำมาใช้ตอ้ งถูกชนดิ จึงจะได้ผลดีในการรกั ษา แตท่ ั้งนี้การใชส้ มุนไพรในการรกั ษาโรคกม็ ีขอ้ ควรระวงั ด้วยเช่นกัน คอื ๑. ไม่ควรใชย้ าสมุนไพรนานเกนิ ความจำเป็น ถ้าใชย้ าสมนุ ไพรแล้ว ๓ - ๕ วนั อาการยงั ไม่ดี ขึ้นควรปรกึ ษาแพทย์อาจใชย้ าไม่ถูกกับโรค ๒. เมื่อใช้ยาสมุนไพรควรสงั เกตอาการผดิ ปกตทิ ่ีอาจเกิดขึ้น ๓. ควรใชย้ าตามหลกั การรักษาแพทย์แผนโบราณอยา่ งเคร่งครดั เพราะการดัดแปลงเพื่อ ความสะดวกของผู้ใชอ้ าจทำให้เกดิ อนั ตรายได้ ๔. อย่าใช้ยาเขม้ ข้นเกนิ ไปเพราะอาจทำให้เกดิ พิษได้ ๕. การใช้ยาสมนุ ไพร ควรดูท่ีขนาดและปริมาณการใชส้ ำหรับเด็กและผู้ใหญด่ ว้ ย ๖. ควรระวงั ความสะอาดของสมุนไพร เพราะบางทีที่ซ้ือมาจากรา้ นอาจเก่ามาก ถ้า สังเกตเหน็ ราหรอื แลงชอนไช ไมค่ วรใช้ ท้งั น้ี เน่อื งจากสาระสำคญั อาจมีการเปลีย่ นแปลงไปแล้วทำใหใ้ ช้ไม่ได้ผล และยังอาจไดร้ บั พษิ จากแมลงหรอื เช้ือราน้ันได้

ภาพประกอบภูมิปญั ญาท้องถ่นิ

ปราชญ์ชาวบา้ นดา้ นการดา้ นการจกั รสาน 1.ขอ้ มูลเจ้าของภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ ชื่อ-สกลุ นางขวญั ยืน บุตรครุธ เกิดเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2499 ปัจจุบนั อายุ 65 ปี ปจั จุบนั อยู่บ้านเลขที่ 129 หมู่ 2 ตำบลคลองทอ่ มใต้ อำเภอคลองท่อม จงั หวัดกระบ่ี 2.ขอ้ มลู การเดนิ ทางไปยังภูมิปญั ญาท้องถิ่น 3.ข้อมูล/รายละเอยี ดภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน ผ้ามัดย้อมสีธรรมชาติเป็นการย้อมสีผ้าทั้งผ้าผืนและเสื้อผ้าสําเร็จรูป โดยใช้เทคนิคการมัดหรือ พับด้วย วัสดุที่มีความทนทาน เช่น แผ่นไม้ก้อนหิน แล้วมัดด้วยเชือกฟาง เชือกกล้วย หรือหนังยางให้ แน่นเพื่อกันสีซึม ผ่าน หลังจากนั้นจึงนําไปย้อมสีธรรมชาติตามต้องการ สีธรรมชาติ จัดได้ว่าเป็นความรู้ดั้งเดิมที่สืบทอดมาจาก บรรพบุรษุ ซึ่งแหล่งวัตถดุ บิ ธรรมชาติ สามารถหาไดจ้ ากตน้ ไม้ท่ใี ห้สีสันสวยงาม

ภาพประกอบภูมิปญั ญาท้องถ่นิ

ฐานข้อมลู ภูมิปัญญาท้องถ่นิ ภมู ปิ ญั ญาท้องถิน่ ทเี่ กีย่ วกับการประดิษฐกรรม ภมู ิปัญญาท้องถ่ิน เร่อื ง การประดษิ ฐว์ ่าว 1. ขอ้ มูลเจา้ ของภูมิปัญญาท้องถน่ิ ชอื่ -สกุล นายสหัส ชาวนา วันเดอื นปีเกิด วันที่ 19 สงิ หาคม 2499 ปจั จบุ ัน อายุ 65 ปี ที่อยู่ บ้านเลขท่ี 118/1 หมู่ท่ี 3 บ้านนา ตำบลคลองพน อำเภอคลองท่อม จงั หวดั กระบ่ี เบอร์โทรศพั ท์ 087-2753892 ครู กศน.ประจำพื้นท่ี ตำบลคลองพน 2. ขอ้ มูลการเดินทางไปยังภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่น โดยสงั เขป ( เรมิ่ ตน้ จากที่ว่าการอำเภอ ) 3. ข้อมูล/รายละเอียดภมู ปิ ัญญา นายสหสั ชาวนา ผูร้ กั การเลน่ กีฬาวา่ ว จะประดิษฐว์ ่าวตา่ งๆ ขึ้นสทู่ ้องฟา้ เพราะมีกระแสลมดแี ละ ท้องทุ่งนากว้างขวางว่างเปล่า กับการทำกิจกรรมเกบ็ เกีย่ วแล้วเสรจ็ หรือขณะเก็บเกี่ยวก็จะนำวา่ วข้ึนผูกไวฟ้ ัง เสยี งด๊ยุ ดยุ่ ปานประหน่ึงว่ามีเทพยดามาขบั กลอ่ มดนตรีใหเ้ กิดความสนกุ สนานเพลดิ เพลินไปกบั การทำงาน ใน เวลาคำ่ คนื ผู้ท่ีทำหนา้ ท่นี อนเฝา้ ข้าวท่นี ำมากองรวมไว้ในลานกจ็ ะนำวา่ วขึน้ ส่ทู ้องฟ้าฟังคีตบรรเลงเปน็ เพ่ือนแก้ เหงา การเล่นวา่ วจึงเปน็ ประเพณที ีม่ ีความผกู พนั กับชาวนาไทยของทุกภาคตลอดมา ระยะเวลาการเล่น วา่ วแตล่ ะภาคแตล่ ะท้องถ่นิ อาจจะแตกตา่ งกันบ้างตามสภาพของอากาศและภูมิประเทศ สว่ นใหญจ่ ะประมาณสน้ิ ฤดูฝนเขา้ ฤดูหนาวไปสน้ิ สุดประมาณปลายฤดูร้อนเข้าฤดูฝน เด็กๆมกั จะเลน่ ว่าวทที่ ำและเล่นงา่ ยเชน่ วา่ วปกั เปา้ ว่าวงู เป็นต้น ผู้ใหญจ่ ะเลน่ วา่ วทใี่ หญ่และมีโครงสร้างท่ีซับซ้อนข้ึน เช่นวา่ วจุฬา วา่ วแอก เป็นต้น ว่าวคือเคร่อื งเลน่ ชนิดหนึ่งสว่ นใหญม่ ไี ม้ไผ่เป็นโครง นำไมไ้ ผ่ป่ามาตากแดดใหแ้ หง้ แล้วนำมาฝ่าและ เหลาให้เป็นซ่ีซง้ึ ส่วนประกอบของโครงว่าวแต่ละชนดิ ตาม ขนาดและประเภทของว่าวปิดทบั ดว้ ยกระดาษ ผา้ หรือ พลาสติก วิธเี ลน่ กป็ ลอ่ ยใหล้ อยอยู่ในอากาศด้วยแรงลม โดยมีเชือกปอ ดา้ ยไนล่อนหรอื ป่านสำหรบั การบงั คบั

ภาพประกอบภูมิปญั ญาท้องถน่ิ