อุทยานธรณี สตลู จัดทําโดย...นางสาวชลลดา กอราบนั หลง
สารบัญ ประวตั ิอุทยานธรณสี ตลู การกําเนิดแผน่ ดนิ อุทยานธรณสี ตลู แหลง่ ท่องเทียวเชงิ นิเวศ-ผจญภยั แหลง่ ท่องเทียวทางทะเล-หมูเ่ กาะ
ประวตั ิอุทยานธรณีสตลู ตงั อยทู่ างภาคใตข้ องประเทศไทย ครอบคลมุ 4 อําเภอของจงั หวดั สตลู คือ ทงุ่ หวา้ มะนั ง ละงู และอําเภอเมอื ง ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศเปน เทอื กเขาหินปนู มเี กาะน้ อยใหญ่ และชายหาดทสี วยงาม ดว้ ยความโดดเดน่ ทางธรณีวทิ ยา ภมู ปิ ระเทศและธรรมชาตขิ อง อุทยานธรณีสตลู กอ่ ให้เกดิ กจิ กรรมการทอ่ งเทยี วทางธรรมชาตหิ ลาก หลายประเภท ไมว่ า่ จะเปนการทอ่ งเทยี วแนวผจญภยั เชน่ ลอ่ งแกง่ ดํานา เทยี วถา การทอ่ ง เทยี วพักผอ่ นหยอ่ นใจทนี าตก ชายหาด รวมถงึ เลอื กซอื ของฝากผลติ ภณั ฑช์ มุ ชน และสัมผสั วฒั นธรรมทอ้ งถนิ ทหี ลาก หลาย
541–485 ล้านปกอ่ น แผ่นดินอทุ ยานธรณีสตลู เรมตน้ จากพืน ทะเล “ยคุ แคมเบรยน” อายุเกา่ แกก่ วา่ 500 ลา้ นปโดยพบหลกั ฐานเปน ซากดึกดําบรรพส์ ตั วท์ ะเลอายเุ กา่ แก่ทีสดุ ในประเทศไทยในหนิ ทรายสแี ดงบน เกาะตะรุเตา การกําเนิดแผน่ ดนิ อุทยานธรณสี ตลู 485 – 444 ล้านปก่อน ยคุ ออร์โดวเชยี น แผน่ ดนิ แหง่ นีกลายเปน แหล่งผลติ ก๊าซอ็อกซิเจนให้กบั โลกยคุ โบราณโดยกลุ่มสิงมีชีวตขนาดเล็กทีเรยกวา่ “สโตรมาโตไลต”์ ทะเลยคุ นเี ปนชว่ งเวลาแหง่ ความอดุ มสมบูรณข์ องสัตวท์ ะเลโดยเฉพาะ นอร์ตลิ อยหรอหมึกโบราณ
247 ลา้ นป–ปจจบุ นั “ยคุ ไทรแอสสิกตอนกลาง–ปจจบุ นั ” เปนชว่ งเวลา สําคญั ทีเปลอื กโลก 2 แผน่ ชนกนั ทําให้พนื ที อทุ ยานธรณีสตลู ยกตัวขึนอย่างตอ่ เนอื งจากพืน ทะเลส่ภู เู ขาสงู ชนั และถกู กดั กร่อนโดยสายลมและ สายนํานบั ลา้ นปจนเกิดลักษณะภมู ปิ ระเทศทหี ลาก หลายและสวยงามดังปจจุบัน 444 – 247 ลา้ นปกอ่ น “ยุคไซลูเรยน-ไทรแอสสกิ ตอนต้น” แผน่ ดนิ อทุ ยานธรณีสตลู ยังจมอยใู่ ต้ทะเลแตเ่ ปลอื กโลก เคลอื นทีตลอดเวลาทําให้แผ่นดนิ อุทยานธรณี สตลู เคยอยซู่ ีกโลกใต้เคลือนทขี นึ มาซีกโลกเหนอื สูงขึนเรอยๆ
“6,000 ป” จดุ เรมตน้ ของความเชือมโยงระหวา่ ง ภูมิประเทศ หนิ และมนษุ ย์โดยใช้ถําเปน บ้านหลังแรก เพอื พกั อาศยั จากหลักฐาน เครองมือทที ําจากกระดูกสัตวแ์ ละซากสตั ว์ ทอี ยใู่ นถําทมี คี วามสงู จากพืนดนิ กวา่ 30 เมตร ปจจบุ ัน อุทยานธรณีสตลู ยงั คงเปนพนื ทที ีผู้คนมี ความผูกพันกบั ผืนแผน่ ดินและสภาพ ภูมปิ ระเทศโดยสงั เกตไุ ดจ้ ากวถีชวี ต ประจาํ วนั ประวตั ศิ าสตร์และวฒั นธรรมที เปนเอกลกั ษณ์
แหล่งท่องเทียวเชงิ นเิ วศ-ผจญภัย
ถาํ ภูผาเพชร เปนถาํ หนิ ปนู ขนาดใหญ่ มหี ินงอกหนิ ย้อย บาง บรเิ วณยงั มนี ําหยดซงึ กอ่ ให้เกิดหินงอกหินยอ้ ยได้ ตลอดทงั ป นอกจากนผี นังถํา บางบรเิ วณยังพบ ซากดึกดาํ บรรพ์ของแบคทเี รีย (สโตรมาโตไลท์) และหมึกทะเลโบราณ (นอติลอยด์) ซึงเปนตัวบ่งชวี ่า หินปนู บรเิ วณถําภผู าเพชรนี มีอายอุ ยใู่ นช่วงยุคออรโ์ ดวิเชยี น หรือเมือประมาณ 450 ล้านปมาแลว้ และยังพบเศษภาชนะ เครอื งปนดินเผา ซงึ บง่ บอกถงึ การเคยเปนทอี ยอู่ าศัย ของมนุษยย์ ุคกอ่ นประวัติศาสตร์
นําตกวังสายทอง เปนนําตกชันหินปนู ขนาดใหญ่เปนชนั นอ้ ยชันใหญ่ มีความสวยงาม และมหัศจรรย์น่าหลงใหล เปนนาํ ตก หินปนู ทีมแี หล่งนําแตล่ ะชนั ไหลลดหลนั ผ่านชันหนิ ปนู สีเหลอื งอร่ามดังทอง เมือกระทบ กับแสงอาทติ ย์ดู งดงามราวกับดอกบัว บรเิ วณนําตกมีต้นไม้สูงใหญร่ ่มรนื แหล่งนาํ มาจาก การอัด และทะลกั ของนําในถําใตภ้ เู ขาทะลอุ อกมา ตามช่องเขาลงสู่แอง่ ตา่ งๆ ทรี องรบั อยูบ่ ริเวณรอบๆ ทถี ูกพอกด้วยหินปนู นําจืดเปนทาํ นบเล็กๆ และเตม็ ไป ดว้ ยพันธุไ์ ม้นานาชนดิ
ถําเล สเตโกดอน เปนถําอยู่ในเทือกเขาหนิ ปนู ทอดยาวมีลักษณะคลา้ ยอุโมงคใ์ ตภ้ เู ขา ภายในถาํ มลี กั ษณะคดเคียว สิงทีโดดเดน่ ของถําแหง่ นคี อื การพบซากดึกดําบรรพ์ของช้าง และ แรดสมยั ไพลสโตซีน โดย เฉพาะอย่างยิงช้าง สกลุ สเตโกดอน ซึงเปนทมี าของการเรียกชอื ถําแหง่ นีว่า “ถาํ เล สเตโกดอน” ซากดึกดําบรรพ์ ดงั กล่าวเปนซาก กระดูกขากรรไกรพร้อมฟนกราม ซที ี 2 และ 3 ด้านล่างขวาของชา้ งดกึ ดาํ บรรพ์เชือกันว่าการพบ เจอฟนกรามช้างสกุล สเตโกดอน เปนจุดกาํ เนดิ เรอื งราวการศึกษาคน้ คว้าทางธรณวี ทิ ยาใน จังหวดั สตูล
ถาํ เจ็ดคต เปนพืนทีทมี ีการล่องแก่งทีมีชอื เสียงของอทุ ยานธรณี สตลู มีลกั ษณะเปนถําธารลอด มปี ากถาํ สองด้านทะลุ เขา้ หากันลักษณะคลา้ ยอโุ มงค์ ลักษณะคดเคยี วไปมาผ่าน สัณฐานถาํ ทีโดดเด่น 7 ลกั ษณะ เปนทมี าของชอื ถํา 7 คต อาทิ คตม่านเพชร เปนหนิ ย้อยสีขาวและสีนําตาล เปนก ลบี ซ้อนกนั คลา้ ยผ้ามา่ น และมกี ารกอ่ ตัวของผลึกแร่ แคลไซต์ ทาํ ใหเ้ มือส่องแสงไฟไปกระทบจะเกิดประกาย ระยบิ ระยับเหมือนมา่ นเพชร
นาํ ตกธารปลวิ เปนนําตกสูงประมาณ 5 เมตร มีนําไหลออกมาจากชอ่ งโพรงหินปนู บรเิ วณตีนเขาหนิ ปนู แหลง่ ตน้ นํานเี ปนโพรงถําในเทือกเขาหินปนู ทที อดยาว และ เปนหนา้ ผาสูงชนั นาํ ทไี หลออกมา จากถาํ ในภูเขาไหลลาดไปตามพืนหนิ ลาดเอยี ง แลว้ ไหลตกลงเปนนําตกสูง พืนหินทนี าํ ไหลผ่านมีการพอกพูนของสารแคลเซยี มคารบ์ อเนตเปนปนู นําจืดเคลือบพืนผวิ โขดหนิ โค้งมน สามารถเดินผา่ นไปโดยไม่ลืน
แหล่งท่องเทียวทางทะเล-หมูเ่ กาะ
เปนเกาะขนาดเลก็ มชี ายหาดหินกรวดสีดําลวดลาย สวยงามโดยเฉพาะเมอื สัมผสั กบั นําทะเลจะเปน ประกายสวยงามเปนจดุ ทนี ักท่องเทียวทกุ คนจะต้อง แวะชมความสวยงามของหนิ กรวดตัดกับขอบฟาและนํา ทะเล บนเกาะมปี ายเตอื นเกียวกบั คาํ สาปแช่งของเจา้ พ่อตะ รุเตาว่า “ผู้ใดบงั อาจเกบ็ หินงามจากเกาะนีไปผนู้ นั จะ ถงึ ซึงความหายนะนานานปั การ” ดว้ ยความเชือเหล่านี ถือเปนมาตรการการปองกนั ทรัพยากรทางจติ ใจไดเ้ ปน อยา่ งดี เกาะหนิ งาม
เกาะหลเี ปะ หนงึ ในมลั ดีฟส์เมืองไทย เกาะหลีเปะเต็มไปด้วยปะการงั อนั สมบูรณ์ มีเวิงอา่ วทีสวยงาม หาดทรายละเอียดนิมเนอื งจากเม็ดทรายของชายหาดนี เกดิ จากการทับถมของปะการงั จึงมี ความละเอยี ด และสีขาวราวกับแปงมนั เปนศูนย์กลางของความสะดวกสบายมากมายทังทพี ัก ทกี นิ ทเี ทยี วยามคําคนื ครบครัน กิจกรรมทีนิยม ได้แก่ การดําผวิ นาํ เพราะเพียงแคอ่ อกจากชายหาดก็ตืนตาตืนใจไปกบั ปะการัง และ ปลาทะเลทสี วยงามเปนจาํ นวนมาก
เกาะไข่ เปนสัญลกั ษณ์ของจังหวัดสตลู ในเชิงการท่องเทียว เปนเกาะหินขนาดเลก็ สองเกาะมีสันดอน ทรายเชอื มระหวา่ งสองเกาะ หนิ ส่วนใหญเ่ ปนหินทรายมีโครงสรา้ งรอยแตกฉหี ลายทิศทาง โดยใน ชอ่ งรอยแตกดงั กลา่ ว มกั มีสารเหลก็ ออกไซดเ์ ข้าไปสะสมตวั อยู่ และมคี วามแขง็ แรงทนทานตอ่ การสึกกรอ่ นสูงกว่า เนอื หินทราย จึงพบโครงร่างตาขา่ ยสามมติ ิของเหล็กออกไซด์โดยทเี นือหินไดส้ ึกกรอ่ นหลุดออกไป หมดแลว้ เกาะดา้ นเหนือมซี มุ้ หนิ ชายฝงเกดิ จากคลนื ทะเลซัดมลี กั ษณะทสี วยงามแปลกตา และถอื เปนสัญญาลักษณแ์ ห่งการท่องเทียวของจงั หวัดสตลู
เขตข้ามกาลเวลาเขาโต๊ะหงาย เขาโต๊ะหงายเปนภูเขาลูกโดดๆ เปนลักษณะของหัวแหลมผาชนั ยนื ออกไปในทะเล ดา้ นตะวันออก เฉียงเหนอื เปนอา่ วทเี ปนหาดทรายโค้งเว้าเขา้ ไปในแผ่นดนิ และเปนทีตงั ทที าํ การอทุ ยานแห่งชาติหมู่ เกาะเภตรา มีสะพานเดินเทา้ จากทที าํ การอทุ ยานแหง่ ชาติหมเู่ กาะเภตรา เลยี บไปตามชายฝงผาชันดา้ นตะวนั ออก แล้วโค้งไปทางตะวนั ตกผา่ นเขตรอยต่อระหวา่ งหินปนู สีเทากับหินทรายสีแดง (หินปนู สีเทานนั เปนหนิ ปนู กลุ่มหินทงุ่ สูงยคุ ออรโ์ ดวเิ ชยี น ส่วนหินทรายสีแดงนนั เปนหินทราย กลุม่ หินตะรเุ ตายุคแคมเบรียน)
หาดสนั หลังมงั กร ตันหยงโป หาดสันหลงั มงั กร (ทะเลแหวก) คอื คาํ เรียกขานเกาะแหง่ หนึงของชาวชุมชนตนั หยงโป อ.เมอื ง สตลู ซงึ เปนสิงมหัศจรรยก์ ลางทะเลอนั ดามัน ในยามนาํ ทะเลลดลงเหมอื นกระแสนําหลกี ทางให้ สันทรายโผลข่ นึ มา ซึงเปนสันทรายทเี ตม็ ไปด้วยซากเปลือกหอยนบั หลายล้านตวั ทบั ถมกัน ทําใหเ้ กิดเปนเส้นทาง คดเคยี วยาวกวา่ 3 กิโลเมตร สามารถเชือมไปยังอีกเกาะหนึงได้ หรือเปรยี บเสมือนกบั มงั กรฟา ถลาลงเลน่ นาํ ใหเ้ ราได้เดนิ บนสันหลงั มงั กรทีเคลอื นไหวพลวิ ตวั อยา่ งสวยงาม จงึ เปนทมี าของชอื หาดแห่งนี “หาดมงั กร”
และนี เปนแค่ตวั อยา่ งของอุทยานธรณีสตลู ใครทสี นใจสามารถศึกษาเพิมเตมิ ไดจ้ าก www.satun-geopark.com และสามารถมาเรยี นรู้ ทอ่ งเทยี ว ชมเมอื งสตลู ของเรากนั น้ า ชาวสตลู ยนิ ดีต้อนรบั
Search
Read the Text Version
- 1 - 19
Pages: