โครงการทาํ นบุ ํารงุ ศิลปวฒั นธรรม การอนุรักษ์กระบอื ในจังหวัดชลบุรี คณะสตั วแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก จดั ทําโดย ฝา่ ยกิจการนักศกึ ษาและกจิ การพเิ ศษ
คาํ นํา กระบอื หรือควายนนั้ กับคนผูกพันกันมาแต่โบราณ โดยเฉพาะวิถีชีวิต คนไทยในอดีตได้ใช้แรงงานควายเพื่อการเกษตร คนไทยในอดีตยกย่องควาย ว่าเป็นสัตว์ที่มีบุญคุณ โดยจะทําขวัญควายเม่ือส้ินฤดูไถหว่านเพ่ือแสดงความ กตัญญตู ่อควาย สมัยกอ่ นเราจะไมฆ่ า่ ควายเพ่ือกินเนื้อ แต่จะเลี้ยงดูอยู่ด้วยกัน จนกว่าจะแก่เฒ่าและตายตามอายุขัย ประเทศไทยเป็นประเทศหนึ่งเดียวใน โลก ทมี่ ีประเพณีว่ิงควาย โดยจัดขึ้น ณ จังหวัดชลบุรี เพื่อเป็นการสร้างความ รับรู้ในคุณประโยชน์ของควายไทย สร้างความตระหนกั รู้และให้ความสําคัญใน การส่งเสริมและอนุรักษ์การเล้ียงควายไทย และสืบสานประเพณีวัฒนธรรมท่ี เกยี่ วขอ้ งกับวถิ คี นกบั ควายในพ้นื ทจ่ี งั หวัดชลบุรี คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก จึงเห็นความสําคัญท่ีจะให้นักศึกษาได้เรียนรู้ความสําคัญของการเล้ียงกระบือ ในจังหวัดชลบุรี เพ่ือยกระดับการแข่งกระบือสู่สากล รวมถึงการใช้ภูมปิ ัญญา ชาวบ้านที่สืบทอดกันมาอย่างยาวนาน ทางคณะฯจึงจัดทําโครงการอนุรักษ์ และส่งเสริมสุขภาพกระบือพื้นเมืองจังหวัดชลบุรี โดยบูรณาการโครงการกับ การเรียนการสอนในหลักสูตร พร้อมท้ังจัดทําเอกสารรวบรวมองค์ความรู้ใน การเล้ียงและการจัดการสุขภาพที่เหมาะสม เพ่ือใช้เป็นข้อมูลการศึกษาและ อนุรกั ษ์กระบอื ในจงั หวดั ชลบรุ ีสบื ไป คณะสัตวแพทยศาสตร์ 2
ประเพณีวิ่งควายประจําจังหวดั ชลบรุ ี ประเพณีวิ่งควายเป็นงานประเพณีประจําจังหวัดชลบุรี เป็นหนึ่งใน ประเพณีเก่าแก่ที่ได้จัดสืบทอดกันมายาวนานอันเป็นเอกลักษณ์ของ จังหวัดชลบุรีท่ีมีการจัดมากว่า 100 ปี โดยจะจัดข้ึนเป็นประจําทุกปีใน วันข้ึน 14 คํ่า เดือน 11 หรือก่อนออกพรรษา 1 วัน เพื่อเป็นการทํา ขวัญควายและให้ควายได้พักผ่อนหลังจากตรากตรํากับการงานในท้อง นามายาวนาน อกี ทงั้ ยงั เป็นการแสดงความกตัญญูรคู้ ุณต่อควาย ซึ่งเปน็ สัตวท์ ม่ี ีบญุ คุณต่อชาวนา นอกจากน้ีประเพณีว่ิงควายยังเปิดโอกาสให้ชาวบ้านได้มีโอกาส พักผ่อน มาพบปะสังสรรค์กันในงานว่ิงควาย เพื่อให้สอดคล้องกับความ เชื่อที่ว่า หากปีใดไม่มีการวิ่งควายปีนั้นควายจะเป็นโรคระบาดกันมาก นอกจากน้ีประเพณีว่ิงควายยังเป็นการประชาสัมพันธ์จังหวัดชลบุรีให้ เปน็ ทรี่ ้จู ักและสง่ เสริมการทอ่ งเที่ยวของจังหวัดชลบุรี คณะสัตวแพทยศาสตร์ 3
การจําแนกสายพนั ธ์ุควาย ควายเป็นเป็นสัตว์เล้ียงลูกด้วยนม มีสี่ขา เท้าเป็นกีบ ตัวขนาด ใกลเ้ คยี งกบั วัวโตเต็มวัยเม่ืออายรุ ะหวา่ ง 5-8 ปี นํา้ หนักตัวผู้โตเตม็ วยั โดยเฉลีย่ 520-560 กิโลกรัม ตัวเมียเฉล่ียประมาณ 360-440 กิโลกรัม ตัวผู้จะใหญ่กว่า ตัวเมียเล็กน้อย ลูกควายจะกินนมแม่จนอายุประมาณ 1 ปี 6 เดือน ควายจะ เจริญเติบโตใช้แรงงานได้ระหว่างอายุ 2.5-3 ปี ช่วงท่ีใช้งานได้เต็มที่ คือ ระหว่างอายุ 6-9 ปี ควายแต่ละตวั จะใชง้ านได้จนอายุย่างเข้า 20 ปี อายุควาย โดยท่วั ไปเฉล่ยี ประมาณ 25 ปี ควายแบง่ ไดเ้ ปน็ 3 ประเภท คอื 1. ควายเอเชยี (Asiatic Water Buffalo-Bubalus bubalis) 1.1 ควายแม่นํ้า (River or Riverine Buffalo) พบในประเทศ อินเดีย ปากสี ถาน อยี ปิ ต์ และประเทศในยุโรปตอนใตแ้ ละยุโรปตะวันออก ควายเอเชีย 1.2 ควายปลกั (Swamp Buffalo) เล้ยี งกันในประเทศ ไทย ฟลิ ปิ ปินส์ มาเลเซีย อนิ โดนเี ซยี เวียดนาม พม่า กมั พชู า และลาว คณะสัตวแพทยศาสตร์ 4
2. ควายแอฟริกา (Africa buffalo-Syncerus Caffer) ควายแอฟริกา 3. ควายแคระ (Anoas-Anoa) มักพบท่ีประเทศอนิ โดนเี ซีย ควายแคระ คณะสตั วแพทยศาสตร์ 5
ประเภทของกระบือไทย กระบือในภูมิภาคต่างๆ ของประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นกระบือปลัก ซ่ึง โดยท่ัวไปมีลักษณะเหมือนหรือแตกต่างกันบ้างในแต่ละพื้นที่ การจัดจําแนก กระบือไทย ตามรูปร่างลักษณะ การเรียกชื่อ และถิ่นท่ีอยู่ มีความแตกต่างกัน ออกไป ดงั น้ี (กรมปศุสตั ว์) 1. กระบือทยุ อย่ใู นแถบจังหวัดลําพูน ลําปาง และอุตรดิตถ์ มผี ิวหนังสีดํา ขน หน้าสีดํา หัวยาว ตัวเมียคอยาวและลึก มีเต้านมใหญ่กว่าชนิดอ่ืนๆ สูง ประมาณ 140 ซม. น้าํ หนกั ตวั ประมาณ 450 กก. 2. กระบอื แขม อยู่ในแถบจงั หวัดลําพูน และลําปาง กระบือชนิดน้ีมขี นาดเล็ก, น้ําหนักตัวประมาณ 350 กก. มักชอบหากินใบไม้ หนังและขนมีสีเทา หัว คอ และลาํ ตวั สน้ั กวา่ กระบอื ทุย สงู ประมาณ 130 ซม. 3. กระบือประ อยูท่ ี่อาํ เภอลาดยาว จงั หวดั นครสวรรค์ คาดว่าเป็นกระบือที่ถูก ตอ้ นมาจากอําเภอแมส่ อด จังหวัดตาก มขี นาดเล็ก ไม่ค่อยมีกล้ามเน้ือ ตีนเล็ก นํา้ หนักประมาณ 300-450 กก. และมีลักษณะคอ่ นขา้ งเปรียวมาก 4. กระบือตู้ (กระบอื ทู่) อยู่ทางภาคตะวันออกของประเทศไทย เป็นกระบือท่ีมี กระดูกขาใหญ่ เขากาง มโี ครงกระดูกใหญ่ 5. กระบอื ในภาคกลาง อยูใ่ นจังหวดั อุทัยธานี คาดว่าอพยพมาจากหลายที่ ท้ัง ภาคอีสานและกระบือทุยทางภาคเหนือ สูงประมาณ 135-145 ซม. หนัก ประมาณ 700-750 กก. 6. กระบอื แกลบ อยู่แถบอําเภอกุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ลักษณะเหมอื น กระบือทางภาคกลางแต่ตวั เล็กกวา่ น้าํ หนกั ประมาณ 300-400 กก. 7. กระบือจ้อน อยู่ทางภาคใต้ของประเทศไทย ในอําเภอควนขนุน จังหวัด พัทลุง คล้ายกระบือแกลบ มีขนาดเลก็ หเู ลก็ น้ําหนักประมาณ 300 กก. คณะสัตวแพทยศาสตร์ 6
การประมาณอายขุ องควายโตเต็มวยั อายุของควายที่โตเตม็ วัยสามารถพิจารณาไดจ้ าก จาํ นวนคขู่ องฟันแท้ ดังตาราง จำนวนค่ ูฟั นแท้ อำยุ 1 คู่ 2.5-3 ปี 2 คู่ 3.5-4 ปี 3 คู่ 4.5-5 ปี 4 คู่ 5-5.5 ปี คณะสัตวแพทยศาสตร์ 7
ลกั ษณะควายสายพนั ธช์ุ ลบุรี 8 ควายชลบุรมี ลี กั ษณะเฉพาะดังนี้ 1. หใู หญเ่ ป็นรปู ใบโพธิ์ 2. เขาโคง้ กระจาย ทรงอุ้มบาตร 3. หน้าผากกวา้ ง หนา้ ตาสวยงาม 4. มสี ร้อยสังวาน หรือออ้ งคอ 5. คอส้นั ใหญ่ หนา บึกบนึ รับหัวไหล่ 6. ขาหน้ายาว แขง้ ขาใหญ่ตรงรับส่วนหน้า ขาหลงั ยนื ตรง ไมช่ ดิ 7. กบี กลม เรียบ แบบธรรมชาติ 8. โคนหางใหญ่ หางยาวเลยเข่า พ่เู ป็นทรง มีขนเยอะ 9. ที่เทา้ มีสขี าว ลักษณะคล้ายใส่ถงุ เท้า 10. สว่ นท้องลัดเหมอื นทอ้ งม้า 11. คนั ตะหงอกยาวโคง้ ดง่ั ลูกศร ส่วนหลงั ค่อนขา้ งตรง 12. สะโพกใหญ่ บน้ั ทา้ ยมน ** หากมีขวญั ตรงแสกหนา้ และขอ้ เท้า จะไมน่ ิยมคดั ไว้ ** แต่ปัจจบุ ันควายในจงั หวดั ชลบรุ มี กั นิยมผสมกับสายพนั ธุ์อ่ืนๆ เช่น สายพันธอุ์ ุทัยธานมี รี ปู ร่างใหญต่ นั สายพันธุ์อีสานมีรปู รา่ ง เต้ยี กวา้ ง เปน็ ตน้ เพือ่ ดึงลักษณะเด่นของแตล่ ะสายพนั ธุใ์ ห้อยู่ ภายในตัวเดียว คณะสตั วแพทยศาสตร์
ลกั ษณะควายที่มีสขุ ภาพดี 1. ดวงตาแจม่ ใส นูนเด่นเปน็ ประกาย 2. เย่อื เมือกมสี ีชมพูออ่ น 3. ผวิ หนังชุ่มช้นื 4. ขนเงางาม ไม่แหง้ กรา้ น 5. ลําตัวขนาดสมสว่ น 6. ขาตรงท้งั สี่ขา 7. กบี เท้าได้รปู ไม่บิดเขา้ หรอื ออก คณะสัตวแพทยศาสตร์ 9
ภูมปิ ัญญาชาวบา้ นในการเลยี้ งควาย ปกตกิ ารเล้ียงควายมักจะให้หญ้า, ฟาง, หญ้าหมกั และอาหาร ข้น แต่ในตัวประกวดบางตัว จะมีการนําสมุนไพรมาใช้ เพ่ือเพิ่ม ประสิทธิภาพการกินอาหาร โดยเช่ือว่าสามารถกระตุ้นความอยาก อาหาร และช่วยบํารุงร่างกายแก่ควาย สมุนไพรท่ีใช้ ได้แก่ ไพล โคคลาน เถาเอ็นอ่อน และ บอระเพ็ด โดยนํามาบดให้ละเอียด จากน้ัน ผสมในอาหารใหก้ ระบอื กนิ ไพล เถาเอ็นออ่ น โคคลาน บอระเพ็ด คณะสตั วแพทยศาสตร์ 10
การแข่งขนั ว่งิ ควาย งานประเพณีวิ่งควายจะจัดงานในเขตเทศบาลเมืองชลบุรี และอําเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี เดิมมีแต่คนในท้องถิ่นรู้จัก แต่ในปัจจุบันประเพณีวิ่งควายเป็น ประเพณีประจําจังหวัดชลบุรีที่โด่งดังเป็นท่ีรู้จักท่ัวทั้งชาวไทยและชาว ต่างประเทศโดยงานจะจัดข้ึนเป็นประจําทุกปี ในวันข้ึน 14 ค่ํา เดือน 11 หรือ กอ่ นออกพรรษา 1 วัน การแขง่ ขันวิ่งควายมี 5 ประเภท โดยแบ่งจากกลมุ่ ฟัน (ซึ่งจะไมพ่ จิ ารณาจาก ขนาดตวั ) ดงั น้ี 1. ร่นุ ซุปเปอร์จิ๋ว 2. รนุ่ จวิ๋ พิเศษ 3. รนุ่ จว๋ิ เลก็ 4. รุน่ จว๋ิ ใหญ่ 5. รุน่ ใหญ่ คณะสตั วแพทยศาสตร์ 11
โรคทพ่ี บบอ่ ยในกระบือ 1.โรคคอบวม • เกิดจากเชอ้ื แบคทีเรยี มกั พบมากในชว่ งฤดูฝน ถา้ ควายป่วยด้วยโรคนี้จะแสดง อาการรนุ แรง มีการบวมน้ําบริเวณคอ ไขส้ ูง และมักตายหากไมท่ ําวคั ซีน 2. โรควัณโรค • เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย เป็นโรคติดต่อร้ายแรงในควาย สามารถติดไปยังคนได้ จะมอี าการอ่อนเพลีย ซูบผอม หายใจหอบ หายใจลําบาก ไอแห้งๆ ควรมีการ ปอ้ งกันโดยทาํ การทดสอบโรคนีป้ ีละคร้งั เพ่ือคัดตัวป่วยออกจากฝงู 3. โรคพยาธเิ ม็ดเลือด • เกิดจากปรสิตในเม็ดเลือด มีแมลงเป็นพาหะ เช่น เหลือบ เห็บ ควายจะ ผวิ หนังและเยอ่ื เมอื กซดี หายใจหอบและถ่ี โลหิตจางรุนแรง แท้ง สัตว์ป่วยที่มี อายมุ ากจะตายภายใน 1-4 วัน คณะสตั วแพทยศาสตร์ 12
โรคทีพ่ บบอ่ ยในกระบอื 4. โรคพยาธใิ บไม้ในตบั • เกิดจากพยาธิในทางเดินอาหาร พบในตับและท่อน้ําดี ควายจะซูบผอม โลหิต จาง ซีด บวมน้ําใต้คาง ท้องมาน การป้องกันทําได้โดยไมป่ ล่อยควายลงแหล่ง นํา้ และถา่ ยพยาธทิ ุก 3 เดอื น 5. โรคไขส้ ามวนั /ไข้ขาแขง็ • เกิดจากเช้ือไวรัส พบได้ทุกอายุ ที่มแี มลงเป็นพาหะ เช่น ยุง ทําให้ควายแสดง อาการขาเหยียดเกร็ง มีไข้สูงเฉียบพลัน ลิ้นแข็ง กลืนลําบาก และมักหายได้ เองในวนั ที่ 3 ของการปว่ ย • *** หากควายแสดงอาการป่วยควรติดต่อสัตวแพทย์ในพื้นท่ี เพ่ือตรวจ วินิจฉัยและทําการรักษา หรือติดต่อได้ท่ีโรงพยาบาลปศุสัตว์ คณะสัตว แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ จังหวดั ชลบุรี *** คณะสตั วแพทยศาสตร์ 13
ร่วมกนั สบื สานอนรุ ักษ์ควายไทย เนื่องจากปัจจุบันจํานวนควายไทยและผู้เล้ียงควายไทยมี แนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งควายยังเป็นสัตว์ท่ียังได้รับ ความเอาใจใส่ค่อนข้างน้อยจากทางภาครัฐในการส่งเสริมและ สนับสนุนในการสร้างเสริมอาชีพ จึงได้มีการร่วมกันสืบสาน อนุรักษ์ควายไทย โดยมีการกําหนดวันอนุรักษ์ควายไทยข้ึน ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติให้วันท่ี 14 พฤษภาคม ของทุกปี เป็นวัน อนุรักษ์ควายไทย เพ่ือสร้างความตระหนักให้กับคนไทยถึง ความสําคัญของควายและช่วยกันอนุรักษ์ก่อนท่ีควายไทยจะสูญ พันธุ์ไป และทางคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลตะวันออก ได้จัดโครงการอนุรักษ์และส่งเสริมสุขภาพ กระบือในจังหวัดชลบุรี โดยจะลงพ้ืนท่ีอบรมให้ความรู้กับผู้เล้ียง พร้อมกับตรวจสุขภาพกระบือก่อนการแข่งขัน และเพ่ือให้ นักศึกษาได้ฝึกทักษะในวิชาชีพ อีกทั้งชาวบ้านได้เห็นถึงการเลี้ยง และการจัดการท่ีเหมาะสม สามารถนําความรู้ท่ีได้มาร่วมกัน อนุรักษ์กระบือของจังหวัดชลบุรี เพ่ือเป็นการสืบสานอนุรักษ์ ควายไทยให้คงอยคู่ ่กู บั ประเทศไทยอย่างยงั่ ยืนและยาวนานสืบไป คณะสตั วแพทยศาสตร์ 14
ปราชญช์ าวบา้ นทใี่ หค้ วามรู้เร่อื งควายไทย ในจงั หวดั ชลบรุ ี นายอนนั ต์ เฉลิมลาภ หรอื นา้ ล้าน เป็นคนจังหวดั ชลบุรี 193/1 หมู่ 9 ตําบลหนองอิรุณ อ.บ้านบึง เป็นเกษตรกรตัวอย่างทั้งเลี้ยงควายและเลี้ยงไก่ชน เพื่อการอนุรักษ์ นอกจากการอนุรักษ์ควายแล้ว น้าล้านยังมีฟาร์มสาธิตไก่ พื้นเมืองและไก่ชนเป็นการดําเนินการของสํานักงานปศุสัตว์ชลบุรี กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นา้ ลา้ นกาลงั อธิบายและช้ีใหอ้ าจารยพ์ งศ์ศักด์ิ ประดษิ ฐศิลป์ และพิมพรรณ พรหมนอ้ ย ดู“แสค้ วาย”หรอื แส้ทจี่ ้อกก้ีขี่ควายใช้บงั คับในระหวา่ ง “วงิ่ ควาย” คณะสตั วแพทยศาสตร์ 15
ฝ่ ายกิจการนกั ศึกษาและกจิ การพิเศษ คณะสตั วแพทยศาสตร์ คณะสตั วแพทยศาสตร์ 16
Search
Read the Text Version
- 1 - 16
Pages: