Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มืออนุรักษ์ควายชลบุรี

คู่มืออนุรักษ์ควายชลบุรี

Published by sk.wiiwii, 2020-05-20 01:20:00

Description: คู่มืออนุรักษ์ควายชลบุรี

Search

Read the Text Version

คณะสัตวแพทยศำสตร์ มหำวทิ ยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลตะวันออก การอนุรักษก์ ระบือในจงั หวดั ชลบุรี จดั ทำโดย ฝ่ ำยกจิ กำรนักศึกษำและกจิ กำรพเิ ศษ

คานา กระบือหรือควายนนั้ กบั คนผกู พนั กนั มาแตโ่ บราณ โดยเฉพาะวถิ ีชีวติ คน ไทยในอดีตได้ใช้แรงงานควายเพื่อการเกษตร คนไทยในอดตี ยกยอ่ งควายวา่ เป็น สตั ว์ท่ีมีบญุ คณุ โดยจะทาขวญั ควายเม่ือสนิ ้ ฤดไู ถหวา่ นเพ่ือแสดงความกตญั ญตู อ่ ควาย สมยั ก่อนเราจะไมฆ่ า่ ควายเพื่อกินเนือ้ แตจ่ ะเลยี ้ งดอู ยดู่ ้วยกนั จนกวา่ จะแก่ เฒ่าและตายตามอายขุ ยั ประเทศไทยเป็นประเทศหนงึ่ เดยี วในโลก ที่มีประเพณี วิ่งควาย โดยจดั ขนึ ้ ณ จงั หวดั ชลบรุ ี เพ่ือเป็นการสร้างความรับรู้ในคณุ ประโยชน์ ของควายไทย สร้างความตระหนกั รู้และให้ความสาคญั ในการสง่ เสริมและอนรุ ักษ์ การเลยี ้ งควายไทย และสืบสานประเพณีวฒั นธรรมท่ีเกี่ยวข้องกบั วิถีคนกบั ควาย ในพืน้ ท่ีจงั หวดั ชลบรุ ี คณะสตั วแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลตะวนั ออก จงึ เห็นความสาคญั ท่ีจะให้นกั ศกึ ษาได้เรียนรู้ความสาคญั ของการเลยี ้ งกระบือใน จงั หวดั ชลบรุ ี เพื่อยกระดบั การแขง่ กระบือสสู่ ากล รวมถงึ การใช้ภมู ปิ ัญญา ชาวบ้านท่ีสบื ทอดกนั มาอยา่ งยาวนาน ทางคณะฯจงึ จดั ทาโครงการอนรุ ักษ์และ สง่ เสริมสขุ ภาพกระบือพืน้ เมอื งจงั หวดั ชลบรุ ี โดยบรู ณาการโครงการกบั การเรียน การสอนในหลกั สตู ร พร้อมทงั้ จดั ทาเอกสารรวบรวมองค์ความรู้ในการเลยี ้ งและ การจดั การสขุ ภาพที่เหมาะสม เพ่ือใช้เป็นข้อมลู การศกึ ษาและอนรุ ักษ์กระบือใน จงั หวดั ชลบรุ ีสบื ไป คณะสตั วแพทยศาสตร์ 2

ประเพณีวงิ่ ควายประจาจงั หวดั ชลบุรี ประเพณีวิง่ ควายเป็นงานประเพณีประจาจงั หวดั ชลบรุ ี เป็นหนงึ่ ใน ประเพณีเกา่ แก่ที่ได้จดั สืบทอดกนั มายาวนานอนั เป็นเอกลกั ษณ์ของจงั หวดั ชลบรุ ีที่ มีการจดั มากวา่ 100 ปี โดยจะจดั ขนึ ้ เป็นประจาทกุ ปี ในวนั ขนึ ้ 14 ค่า เดอื น 11 หรือก่อนออกพรรษา 1 วนั เพื่อเป็นการทาขวญั ควายและให้ควายได้พกั ผอ่ น หลงั จากตรากตรากบั การงานในท้องนามายาวนาน อีกทงั้ ยงั เป็นการแสดงความ กตญั ญรู ู้คณุ ตอ่ ควาย ซง่ึ เป็นสตั ว์ท่ีมีบญุ คณุ ตอ่ ชาวนา นอกจากนีป้ ระเพณีว่งิ ควายยงั เปิดโอกาสให้ชาวบ้านได้มีโอกาสพกั ผอ่ น มาพบปะสงั สรรค์กนั ในงานวิง่ ควาย เพ่ือให้สอดคล้องกบั ความเชื่อที่วา่ หากปี ใดไม่ มีการว่ิงควายปี นนั้ ควายจะเป็นโรคระบาดกนั มาก นอกจากนีป้ ระเพณีวิ่งควายยงั เป็นการประชาสมั พนั ธ์จงั หวดั ชลบรุ ีให้เป็นที่รู้จกั และสง่ เสริมการทอ่ งเท่ียวของ จงั หวดั ชลบรุ ี คณะสตั วแพทยศาสตร์ 3

การจาแนกสายพนั ธุค์ วาย ควายเป็นเป็นสตั ว์เลยี ้ งลกู ด้วยนม มีสข่ี า เท้าเป็นกีบ ตวั ขนาดใกล้เคียงกบั ววั โต เตม็ วยั เม่ืออายรุ ะหวา่ ง 5-8 ปี นา้ หนกั ตวั ผ้โู ตเตม็ วยั โดยเฉลย่ี 520-560 กิโลกรัม ตวั เมียเฉล่ียประมาณ 360-440 กิโลกรัม ตวั ผ้จู ะใหญ่กวา่ ตวั เมียเลก็ น้อย ลกู ควาย จะกินนมแมจ่ นอายปุ ระมาณ 1 ปี 6 เดอื น ควายจะเจริญเตบิ โตใช้แรงงานได้ ระหวา่ งอายุ 2.5-3 ปี ช่วงที่ใช้งานได้เตม็ ที่ คือระหวา่ งอายุ 6-9 ปี ควายแตล่ ะตวั จะใช้งานได้จนอายยุ า่ งเข้า 20 ปี อายคุ วายโดยทวั่ ไปเฉลย่ี ประมาณ 25 ปี ควายแบง่ ได้เป็น 3 ประเภท คอื 1. ควายเอเชีย (Asiatic Water Buffalo-Bubalus bubalis) 1.1 ควายแมน่ า้ (River or Riverine Buffalo) พบใน ประเทศอนิ เดยี ปากีสถาน อียปิ ต์ และประเทศในยโุ รปตอนใต้และยโุ รปตะวนั ออก 1.2 ควายปลกั (Swamp Buffalo) เลยี ้ งกนั ในประเทศ ไทย ฟิลปิ ปินส์ มาเลเซีย อนิ โดนีเซีย เวียดนาม พมา่ กมั พชู า และลาว 2. ควายแอฟริกา (Africa buffalo-Syncerus Caffer) 3. ควายแคระ (Anoas-Anoa) มกั พบท่ีประเทศอนิ โดนีเซีย ควายเอเชีย ควายแอฟริกา คณะสตั วแพทยศาสตร์ ควายแคระ 4

การประมาณอายขุ องควายโตเตม็ วยั อายขุ องควายท่ีโตเตม็ วยั สามารถพิจารณาได้จาก จานวนคขู่ องฟันแท้ ดงั ตาราง จำนวนค่ฟู ันแท้ อำยุ 1 คู่ 2.5-3 ปี 2 คู่ 3.5-4 ปี 3 คู่ 4.5-5 ปี 4 คู่ 5-5.5 ปี คณะสตั วแพทยศาสตร์ 5

ลกั ษณะควายสายพนั ธุช์ ลบุรี 6 ควายชลบรุ ีมีลกั ษณะเฉพาะดงั นี ้ 1. หใู หญ่เป็นรูปใบโพธ์ิ 2. เขาโค้งกระจาย ทรงอ้มุ บาตร 3. หน้าผากกว้าง หน้าตาสวยงาม 4. มีสร้อยสงั วาน หรืออ้องคอ 5. คอสนั้ ใหญ่ หนา บกึ บนึ รับหวั ไหล่ 6. ขาหน้ายาว แข้งขาใหญ่ตรงรับสว่ นหน้า ขาหลงั ยืนตรง ไมช่ ิด 7. กีบกลม เรียบ แบบธรรมชาติ 8. โคนหางใหญ่ หางยาวเลยเขา่ พเู่ ป็นทรง มีขนเยอะ 9. ที่เท้ามีสขี าว ลกั ษณะคล้ายใสถ่ งุ เท้า 10. สว่ นท้องลดั เหมือนท้องม้า 11. คนั ตะหงอกยาวโค้งดงั่ ลกู ศร สว่ นหลงั คอ่ นข้างตรง 12. สะโพกใหญ่ บนั้ ท้ายมน ** หากมีขวญั ตรงแสกหน้า และข้อเท้า จะไมน่ ิยมคดั ไว้ ** แตป่ ัจจบุ นั ควายในจงั หวดั ชลบรุ ีมกั นิยมผสมกบั สายพนั ธ์ุอื่นๆเช่น สายพนั ธ์อุ ทุ ยั ธานีมีรูปร่างใหญ่ตนั สายพนั ธ์อุ ีสานมีรูปร่างเตยี ้ กว้าง เป็นต้น เพ่ือดงึ ลกั ษณะเดน่ ของแตล่ ะสายพนั ธ์ใุ ห้อยภู่ ายในตวั เดยี ว คณะสตั วแพทยศาสตร์

ลกั ษณะควายท่ีมีสุขภาพดี 1. ดวงตาแจ่มใส นนู เดน่ เป็นประกาย 2. เย่ือเมือกมีสีชมพอู อ่ น 3. ผิวหนงั ชมุ่ ชืน้ 4. ขนเงางาม ไมแ่ ห้งกร้าน 5. ลาตวั ขนาดสมสว่ น 6. ขาตรงทงั้ สข่ี า 7. กีบเท้าได้รูป ไมบ่ ิดเข้าหรือออก คณะสตั วแพทยศาสตร์ 7

ภูมิปัญญาชาวบา้ นในการเล้ียงควาย ปกตกิ ารเลยี ้ งควายมกั จะให้หญ้า, ฟาง, หญ้าหมกั และอาหารข้น แตใ่ น ตวั ประกวดบางตวั จะมีการนาสมนุ ไพรมาใช้ เพื่อเพ่มิ ประสทิ ธิภาพการ กินอาหาร โดยเช่ือวา่ สามารถกระต้นุ ความอยากอาหาร และชว่ ยบารุง ร่างกายแก่ควาย สมนุ ไพรที่ใช้ ได้แก่ ไพล โคคลาน เถาเอน็ ออ่ น และ บอระเพด็ โดยนามาบดให้ละเอียด จากนนั้ ผสมในอาหารให้กระบือกิน ไพล เถาเอน็ ออ่ น โคคลาน บอระเพด็ คณะสตั วแพทยศาสตร์ 8

การแข่งขนั วง่ิ ควาย งานประเพณีว่งิ ควายจะจดั งานในเขตเทศบาลเมอื งชลบรุ ี และอาเภอบ้านบงึ จงั หวดั ชลบรุ ี เดมิ มีแตค่ นในท้องถ่ินรู้จกั แตใ่ นปัจจบุ นั ประเพณีวิง่ ควายเป็น ประเพณีประจาจงั หวดั ชลบรุ ีที่โดง่ ดงั เป็นที่รู้จกั ทว่ั ทงั้ ชาวไทยและชาวตา่ งประเทศ โดยงานจะจดั ขนึ ้ เป็นประจาทกุ ปี ในวนั ขนึ ้ 14 คา่ เดือน 11 หรือก่อนออกพรรษา 1 วนั การแข่งขนั วิง่ ควายมี 5 ประเภท โดยแบง่ จากกลมุ่ ฟัน (ซง่ึ จะไมพ่ จิ ารณาจาก ขนาดตวั ) ดงั นี ้ 1. รุ่นซปุ เปอร์จ๋ิว 2. รุ่นจิ๋วพเิ ศษ 3. รุ่นจิ๋วเลก็ 4. รุ่นจว๋ิ ใหญ่ 5. รุ่นใหญ่ คณะสตั วแพทยศาสตร์ 9

โรคท่ีพบบ่อยในกระบือ 1.โรคคอบวม เกิดจากเชือ้ แบคทีเรีย มกั พบมากในชว่ งฤดฝู น ถ้าควายป่ วยด้วยโรคนีจ้ ะแสดงอาการ รุนแรง มกี ารบวมนา้ บริเวณคอ ไข้สงู และมกั ตายหากไมท่ าวคั ซนี 2. โรควัณโรค เกิดจากเชือ้ แบคทเี รีย เป็ นโรคติดตอ่ ร้ายแรงในควาย สามารถตดิ ไปยงั คนได้ จะมอี าการ ออ่ นเพลยี ซบู ผอม หายใจหอบ หายใจลาบาก ไอแห้งๆ ควรมกี ารป้ องกนั โดยทาการทดสอบ โรคนีป้ ี ละครัง้ เพื่อคดั ตวั ป่ วยออกจากฝงู 3. โรคพยำธิเม็ดเลือด เกิดจากปรสิตในเม็ดเลอื ด มีแมลงเป็ นพาหะ เช่น เหลือบ เห็บ ควายจะผวิ หนงั และเยอ่ื เมือกซีด หายใจหอบและถ่ี โลหิตจางรุนแรง แท้ง สตั ว์ป่ วยทมี่ ีอายมุ ากจะตายภายใน 1-4 วนั 4. โรคพยำธิใบไม้ในตบั เกิดจากพยาธิในทางเดินอาหาร พบในตบั และทอ่ นา้ ดี ควายจะซบู ผอม โลหิตจาง ซีด บวมนา้ ใต้คาง ท้องมาน การป้ องกนั ทาได้โดยไมป่ ลอ่ ยควายลงแหลง่ นา้ และถา่ ยพยาธิทกุ 3 เดอื น 5. โรคไข้สำมวนั /ไข้ขำแข็ง เกิดจากเชือ้ ไวรัส พบได้ทกุ อายุ ที่มแี มลงเป็ นพาหะ เช่น ยงุ ทาให้ควายแสดงอาการขา เหยียดเกร็ง มไี ข้สงู เฉียบพลนั ลนิ ้ แข็ง กลนื ลาบาก และมกั หายได้เองในวนั ที่ 3 ของการป่ วย *** หากควายแสดงอาการป่ วยควรติดตอ่ สตั วแพทย์ในพนื ้ ท่ี เพอื่ ตรวจวินิจฉยั และทาการรักษา หรือ ติดตอ่ ได้ที่โรงพยาบาลปศสุ ตั ว์ คณะสตั วแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลตะวนั ออก วทิ ยาเขตบางพระ จงั หวดั ชลบรุ ี *** คณะสตั วแพทยศาสตร์ 10

ร่วมกนั สืบสานอนุรักษค์ วายไทย เนื่องจากปัจจบุ นั จานวนควายไทยและผ้เู ลยี ้ งควายไทยมีแนวโน้มลดลง อยา่ งตอ่ เน่ือง อีกทงั้ ควายยงั เป็นสตั ว์ที่ยงั ได้รับความเอาใจใสค่ อ่ นข้างน้อยจากทาง ภาครัฐในการสง่ เสริมและสนบั สนนุ ในการสร้างเสริมอาชีพ จงึ ได้มีการร่วมกนั สืบ สานอนรุ ักษ์ควายไทย โดยมีการกาหนดวนั อนรุ ักษ์ควายไทยขนึ ้ ซง่ึ คณะรัฐมนตรีได้ มีมตใิ ห้วนั ที่ 14 พฤษภาคม ของทกุ ปี เป็นวนั อนรุ ักษ์ควายไทย เพื่อสร้างความ ตระหนกั ให้กบั คนไทยถงึ ความสาคญั ของควายและช่วยกนั อนรุ ักษ์กอ่ นทีค่ วายไทย จะสญู พนั ธ์ไุ ป และทางคณะสตั วแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล ตะวนั ออก ได้จดั โครงการอนรุ ักษ์และสง่ เสริมสขุ ภาพกระบือในจงั หวดั ชลบรุ ี โดยจะ ลงพืน้ ท่ีอบรมให้ความรู้กบั ผ้เู ลยี ้ งพร้อมกบั ตรวจสขุ ภาพกระบือก่อนการแขง่ ขนั และ เพื่อให้นกั ศกึ ษาได้ฝึกทกั ษะในวชิ าชีพ อีกทงั้ ชาวบ้านได้เห็นถงึ การเลยี ้ งและการ จดั การท่ีเหมาะสม สามารถนาความรู้ที่ได้มาร่วมกนั อนรุ ักษ์กระบือของจงั หวดั ชลบรุ ี เพื่อเป็นการสืบสานอนรุ ักษ์ควายไทยให้คงอยคู่ กู่ บั ประเทศไทยอยา่ งยง่ั ยืน และยาวนานสืบไป คณะสตั วแพทยศาสตร์ 11

ทะเลงำม ข้ ำวหลำมอร่ อย อ้อยหวำน จกั สำนดี ประเพณีว่งิ ควำย ฝ่ ำยกจิ กำรนักศึกษำและกจิ กำรพเิ ศษ คณะสัตวแพทยศำสตร์ คณะสตั วแพทยศาสตร์ 12


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook