BASIC OF PHOTOSHOP
ส่วนประกอบต่างๆ ของโปรแกรมAdobe Photoshop โปรแกรม Adobe Photoshop ไดป้ รับเปลย่ี นรปู แบบ นอกจากจะ มีสีสนั สวยงามขน้ึ แลว้ ยงั จดั การกบั พาเนลหรือเครอ่ื งมอื ทจ่ี ัดวางไมเ่ ปน็ ระเบียบ ออกไปจากหน้าต่างการทางานคอ่ นข้างมาก เช่น เพิม่ ปุ่มคาส่งั และ จดั เรียงป่มุ คาสง่ั บางปมุ่ ใหม่ จึงมีความจาเป็นต้องรจู้ กั กับสว่ นประกอบท่ี สาคญั เพอื่ ใหส้ ามารถคน้ หาและเรยี กใช้เครอ่ื งมอื ได้อยา่ งรวดเร็ว สาหรบั หนา้ ต่างโปรแกรม Adobe Photoshop ประกอบไปด้วย พาเนลและกล่องเครื่องมอื ทีว่ างอยู่บนพน้ื ทว่ี า่ งซง่ึ เปรียบเสมือนกบั โต๊ะทางาน ดงั น้นั จึงสามารถเคล่อื นย้ายตาแหนง่ พาเนลและเครอ่ื งมอื ไปยงั จุดทต่ี ้องการ ได้ ส่วนประกอบสาคญั ของหนา้ ต่างโปรแกรม มีรายละเอยี ดดังนี้
1 แถบเมนูคาสั่ง (Menu Bar) เปน็ จุดรวบรวมชุดคาสั่งทใ่ี ช้สาหรบั เรียกคาสั่งตา่ งๆ เพอื่ ใช้จดั การไฟล์ภาพหรอื ตกแตง่ ภาพ ดังแสดงในภาพที่ 1 ภาพที่ 1 แถบเมนคู าสงั่ (Menu Bar)
แถบเมนคู าสัง่ ประกอบไปด้วยทงั้ หมด 10 เมนคู าสง่ั โดยแสดงช่อืเมนูคาสั่งและรูปแบบการทางานดังแสดงในตารางท่ี 1
2 แถบตัวเลอื ก (Options Bar)เปน็ ส่วนท่ใี ช้ในการปรับแตง่ คา่ การทางานของเครอื่ งมือ ตา่ งๆ การกาหนดคา่ ในแถบตัวเลือกจะเปล่ยี นไปตามเคร่อื งมอื ที่ใชง้ านอยู่ ดงัแสดงในภาพที่ 2 ภาพท่ี 2 แถบตวั เลอื ก (Options Bar)
3 กลอ่ งเครอื่ งมือ (Toolbox) เป็นส่วนทีใ่ ช้เก็บเครือ่ งมอื พื้นฐานในการทางาน ในโปรแกรม สามารถเรียกใช้ชดุ เคร่ืองมอื ย่อยโดยการคลกิ รปูสามเหลี่ยมที่มุมด้านลา่ ง ดงั แสดงในภาพที่ 3 ภาพท่ี 3 กล่องเคร่อื งมอื (Toolbox)
เครือ่ งมอื พ้ืนฐานบนกลอ่ งเครอ่ื งมอื ของโปรแกรม AdobePhotoshop ได้แบ่ง การทางานออกเป็นหมวดหมู่หรือเป็นกลุ่มยอ่ ยๆ ดังแสดงในตารางที่ 2ตารางท่ี 2 เครือ่ งมอื พน้ื ฐานของโปรแกรม Adobe Photoshopภาพ ชือ่ เคร่ืองมอื ความหมาย Move Tool ใช้เคลอื่ นยา้ ยภาพบรเิ วณที่เลือกพนื้ ที่ 1. Rectangular Marquee Tool หรือไม่ไดเ้ ลือกพนื้ ท่ไี ปยังตาแหนง่ ใหม่ 2. Elliptical Marquee Tool 1. เลอื กพื้นท่ีแบบรูปทรงสีเ่ หลี่ยม 3. Single Row Marquee Tool 2. เลือกพื้นทแ่ี บบรปู ทรงวงกลม วงรี 4. Single Column Marquee Tool 3. เลือกพื้นท่แี บบเสน้ ตรงแนวนอน 1. Lasso Tool 4. เลอื กพื้นท่แี บบเส้นตรงแนวต้งั 2. Polygonal Lasso Tool 1. เลอื กพ้นื ที่แบบอิสระ 3. Magnetic Lasso Tool 2. เลือกพืน้ ท่ีแบบมุมเหล่ียม 3. เลอื กพ้นื ทแ่ี บบชิดเส้นขอบภาพ
ภาพ ชื่อเครือ่ งมือ ความหมาย 1. Quick Selection Tool 1. เลอื กพ้นื ทตี่ ามพ้นื ท่ที ีล่ ากเมาส์ 2. Magic Wand Tool ผา่ น 2. เลอื กพนื้ ทโ่ี ดยยดึ ตามสที ม่ี คี ่า ใกล้เคียงกัน 1. Crop Tool 1. ใชต้ ัดภาพโดยเลอื กเฉพาะ บริเวณท่ตี อ้ งการใช้งาน 2. Perspective Crop Tool 2. ใช้ตัดภาพท่ีมมี มุ บิดเบ้ยี วให้ กลายเปน็ มมุ ที่ถูกต้อง 3. Slice Tool 3. ใชต้ ดั ภาพออกเปน็ ชน้ิ เล็กๆ เพ่อื นาไป ใชอ้ อกแบบบนเว็บเพจ 4. Slice Select Tool 4. ใช้ปรับแตง่ ขนาดของภาพทีต่ ดั ออกเป็นชน้ิ เลก็ ๆ จากเครื่องมือ Slice Tool 1. Eyedropper Tool 1. ใชเ้ ลือกสีจากภาพไปใชง้ าน 2. Color Sampler Tool 2. ใชด้ ูดสไี ว้สาหรับเปรยี บเทยี บค่า 3. Ruler Tool 3. ใชว้ ดั ระยะห่างและกาหนด 4. Note Tool ตาแหน่ง 4. ใชเ้ พิม่ คาอธบิ ายให้กบั ภาพ
ภาพ ชอ่ื เครอื่ งมือ ความหมาย 1. Spot Healing Brush Tool 1. ใช้แกไ้ ขจุดบกพร่องขนาดเล็ก 2. Healing Brush Tool บนภาพ 3. Patch Tool 2. ใชแ้ ก้ไขจดุ บกพร่องขนาดใหญ่ บนภาพ 4. Content-Aware Move Tool 3. ใชแ้ ก้ไขพืน้ ผิวของภาพขนาด ใหญ่ โดยการนาพืน้ ผวิ อ่ืนมาแปะ 5. Red Eye Tool ทบั 4. ใชย้ า้ ยวตั ถใุ นภาพไปยงั ตาแหนง่ ใหม่ โดยเครื่องมือจะเติมสีพื้นหลงั ให้ด้วย 5. ใช้แกไ้ ขภาพถา่ ยตาแดง 1. Clone Stamp Tool 1. ใช้คดั ลอกวัตถุจากจดุ หน่ึงไป แปะทับอกี จุดหนง่ึ 2. Pattern Stamp Tool 2. ใชต้ กแตง่ ภาพพน้ื ผิวท่ีคลิก แทนท่ีลงไปบนภาพ
ภาพ ชอ่ื เคร่ืองมือ ความหมาย 1. Eraser Tool 1. ใช้ลบพ้นื ท่ที ไี่ ม่ตอ้ งการและ แทนท่ดี ้วยสพี นื้ หลัง 2. Background Eraser Tool 2. ใชล้ บภาพพ้นื หลงั ออกด้วยการ คลิกเลือกสีท่จี ะลบและจะไดพ้ ืน้ 3. Magic Eraser Tool หลงั แบบโปร่งใส 3. ใชล้ บสพี ื้นหลงั ภาพอย่างรวดเร็ว และจะไดพ้ ื้นหลังแบบโปรง่ ใส 1. Blur Tool 1. ใช้ระบายภาพให้เบลอในจุดท่ี 2. Sharpen Tool ลากเมาส์ 3. Smudge Tool 2. ใช้ปรับเพิ่มความคมชัดใหภ้ าพ 3. ใชเ้ กลย่ี สีใหก้ ลมกลนื ในจดุ ท่ี ลากเมาส์ 1. Dodge Tool 1. ใช้เพ่มิ ความสว่างใหจ้ ุดที่ลาก 2. Burn Tool เมาสผ์ ่าน 3. Sponge Tool 2. ใชเ้ พ่มิ ความมืดใหจ้ ดุ ทลี่ ากเมาส์ ผา่ น 3. ใช้ลดและเพมิ่ ความอม่ิ ตัวของสี โดยการลากเมาส์ผ่าน
ภาพ ชือ่ เครอื่ งมอื ความหมาย 1. Brush Tool 1. ใช้สรา้ งเส้นหรือลวดลายให้กบั 2. Pencil Tool เสน้ 2. ใชส้ รา้ งเสน้ หรือลวดลาย แต่จะ 3. Color Replacement Tool ได้เส้นทีห่ ยาบกว่า 4. Mixer Brush To 3. ใชเ้ ปล่ียนสภี าพเป็นสใี หม่ 4. ใชเ้ กลีย่ สีของภาพใหก้ ลายเปน็ ภาพวาด 1. History Brush Tool 1. ใช้ยอ้ นกลับการทางานคาสง่ั ท่ี ผิดพลาดเม่ือลากเมาสไ์ ปบนภาพ 2. Art History Brush Tool 2. ใช้เปล่ยี นเปน็ ภาพวาดแบบ ง่ายๆ เมอ่ื ลากเมาส์ไปบนภาพ 1. Gradient Tool 1. ใชล้ ากเมาส์ไปบนภาพเพื่อไล่ 2. Paint Bucket Tool เฉดสี 3. 3D Material Drop Tool 2. ใชเ้ พ่อื เตมิ สีหรือลวดลายลงไป บนภาพ 3. ใชเ้ ทพ้ืนผิวให้กบั วตั ถสุ ามมติ ิ
ภาพ ช่ือเครื่องมอื ความหมาย 1. Pen Tool 1. ใช้สรา้ งเสน้ พาธรอบภาพโดย การลากเมาสก์ าหนดทิศทาง 2. Freeform Pen Tool 2. ใช้สรา้ งเสน้ พาธแบบอิสระเพื่อ ปรบั แตง่ ในภายหลัง 3. Add Anchor Point Tool 3. ใช้เพม่ิ จุดแองเคอร์เพือ่ ปรบั แต่ง รูปทรงเสน้ พาธ 4. Delete Anchor Point Tool 4. ใช้ลบจุดแองเคอรท์ ่ีมากเกินไป 5. Convert Point Tool 5. ใชป้ รับแตง่ มมุ ของเสน้ พาธ 1. Horizontal Type Tool 1. ใช้สร้างขอ้ ความแบบเวคเตอรใ์ น 2. Vertical Type Tool แนว นอน 3. Horizontal Type Mask Tool 2. ใช้สรา้ งขอ้ ความแบบเวคเตอรใ์ น แนวต้งั 4. Vertical Type Mask Tool 3. ใชส้ ร้างขอ้ ความแบบราสเตอร์ ในแนว นอน 4. ใช้สร้างขอ้ ความแบบราสเตอร์ ในแนวต้งั
ภาพ ชื่อเคร่ืองมือ ความหมาย 1. Path Selection Tool 1. ใชย้ า้ ยตาแหน่งหรือปรบั ขนาด 2. Direct Selection Tool เส้นพาธ 2. ใช้คลกิ ไปบนจุดแองเคอร์เพือ่ ปรบั แตง่ รูปทรงเสน้ พาธ 1. Rectangle Tool 1. ใช้สรา้ งรปู ทรงสเ่ี หลี่ยม 2. Rounded Rectangle Tool 2. ใช้สรา้ งรปู ทรงสเี่ หลย่ี มมุมโค้ง 3. Ellipse Tool มน 4. Polygon Tool 3. ใช้สร้างรปู ทรงวงกลม วงรี 5. Line Tool 4. ใช้สร้างรูปทรงหลายเหล่ียม รูป 6. Custom Shape Tool ดาว 5. ใชส้ รา้ งรูปทรงเส้นตรง 6. ใช้สรา้ งรปู ทรงสาเร็จรปู 1. Hand Tool 1. ใช้เลอ่ื นดสู ่วนต่างๆ ของภาพ 2. Rotate View Tool 2. ใชห้ มนุ ภาพไปในทศิ ทางตา่ งๆ
ภาพ ชือ่ เครอ่ื งมอื ความหมาย Zoom Tool ใช้ขยายดสู ว่ นท่ตี ้องการของภาพ Foreground/Background ใช้กาหนดสีพื้นหน้าและสพี ืน้ หลัง Edit in Standard Mode/Edit in ใช้แสดงหรือแก้ไขภาพในโหมด Quick Mask Mode ปกติและแสดงการทางานคลา้ ย การสรา้ งหน้ากาก เพื่อปิดบงั พนื้ ท่ี ส่วนท่ไี มต่ ้องการเลอื กเอาไว้ โดย สามารถคลิกเมาสส์ ลบั โหมดไปมา 1. Standard Screen Mode ได้ 2. Full Screen Mode with 1. ใช้แสดงหน้าจอแบบมาตรฐาน Menu Bar ปกติ 3. Full Screen Mode 2. ใชแ้ สดงแบบเตม็ หนา้ จอโดยไมม่ ี แถบ ชื่อเรอ่ื งของโปรแกรม 3. ใช้แสดงแบบเตม็ หนา้ จอโดยไมม่ ี แถบ ชอ่ื เรอื่ งและแถบเมนคู าส่งั
4 แถบชื่อเรอ่ื ง (Title Bar) เป็นส่วนที่แสดงชื่อไฟลภ์ าพทเี่ ปดิ ใชง้ านอยู่ สาหรบัโปรแกรม Adobe Photoshop แถบชื่อเรอื่ งจะเรียงกันเปน็ แทบ็(Tab) ดงั แสดงในภาพท่ี 4 ภาพท่ี 4 แถบชื่อเรื่อง (Title Bar)
5 แถบสถานะ (Status Bar) เปน็ สว่ นที่แสดงคณุ สมบัติเกยี่ วกบั ภาพ เช่น เปอรเ์ ซน็ ตใ์ นการย่อขยายไฟล์ภาพ ขนาดไฟล์ภาพ เป็นตน้ ดังแสดงในภาพที่ 5 ภาพที่ 5 แถบสถานะ (Status Bar)
6 พ้ืนทใี่ ชง้ าน (Working Area)เป็นสว่ นท่ใี ชใ้ นการสร้างงานกราฟกิ โดยการเปดิ ไฟล์ภาพเพ่อื แกไ้ ขบนพน้ื ทใ่ี ช้งาน หรอื วาดภาพใหม่ลงไปบนพนื้ ทีใ่ ชง้ าน ดังแสดงในภาพที่ 6 ภาพท่ี 6 พน้ื ทใี่ ช้งาน (Working Area)
7 พาเนล (Panel) ใช้สาหรับจดั การกับภาพ โดยแยกออกเป็นหมวดหมู่ เชน่พาเนลสาหรบั เลอื กสี พาเนลสาหรบั ปรับแต่งความสว่าง เปน็ ต้นพาเนลแต่ละแบบมหี นา้ ที่และการใชง้ านแตกตา่ งกันออกไป โดยสามารถเลือกเปิดหรอื ปดิ พาเนลไดจ้ ากเมนูคาสง่ั Window ตวั อย่างพาเนลท่ีนยิ มใช้ มีดงั นี้ ภาพท่ี 7 พาเนล (Panel)
7.1 Navigator ใช้ปรบั มมุ มองของภาพ โดยคลกิ เลอื กบริเวณ ZoomSlider เพือ่ ยอ่ ขยายมมุ มองภาพ ดงั แสดงในภาพที่ 8 ภาพที่ 8 พาเนล Navigator
7.2 Color ใช้กาหนดสีพืน้ หน้า (Foreground) และสพี ้นื หลงั(Background) โดยการเลอ่ื นแถบสเี พอ่ื ปรับแตง่ ตามตอ้ งการดังแสดงในภาพที่ 9 ภาพท่ี 9 พาเนล Color
7.3 Swatches ใช้กาหนดสีแบบสาเร็จรูปทีโ่ ปรแกรมกาหนดไว้ หรอื สรา้ งสีขึ้นมาใหมเ่ องได้ โดยการคลกิ เลือกสที ่ตี ้องการเพื่อความสะดวกในการใชง้ าน ดงั แสดงในภาพท่ี 10 ภาพท่ี 10 พาเนล Swatches
7.4 Styles ใช้สาหรับกาหนดการตกแต่งรปู แบบตา่ งๆ ทโ่ี ปรแกรมกาหนดขึน้ มา เชน่ การตกแต่งสีให้กบั รูปแบบขอ้ ความ ดังแสดงในภาพที่ 11 ภาพที่ 10 พาเนล Styles
7.5 Adjustments ใช้ปรบั แตง่ สใี หก้ ับภาพ เพื่อแกไ้ ขขอ้ บกพร่องหรอื สที ่ีผดิ เพีย้ น ดังแสดงในภาพท่ี 12 ภาพที่ 12 พาเนล Adjustments
7.6 Layers ใช้ควบคมุ การใช้งานเลเยอร์ตา่ งๆ ท่เี กดิ จากการสรา้ งชน้ิ งาน ดังแสดงในภาพที่ 13 ภาพท่ี 13 พาเนล Layers
7.7 History ทาหน้าทใ่ี นการเก็บรายละเอยี ดข้ันตอนการทางานทง้ั หมดท่ผี า่ นมา เพ่ืออานวยความสะดวกเม่ือตอ้ งการยอ้ นกลบั ไปใช้คาสั่งเกา่ หรือยอ้ นดูการทางานท่ีผ่านมา ดงั แสดงในภาพที่ 14 ภาพท่ี 14 พาเนล History
วธิ กี ารสรา้ งงาน
1. การสร้างไฟล์งาน (Create File in Photoshop) ในการเริ่มตน้ ท่ีจะสรา้ งผลงานอะไรกแ็ ล้วแตด่ ว้ ย โปรแกรมPhotoshop น้ัน เราจะต้องทาการสรา้ งไฟล์งานขน้ึ มากอ่ น ซงึ่ การสร้างไฟล์งานนน้ั กเ็ ปรียบเสมือนกับการท่ี สร้างแผน่ กระดาษวา่ งๆ ขน้ึ มา 1 แผน่ เพือ่ ใช้สาหรบั วาดรูป หรอื ใส่รูปภาพอะไรกต็ าม ทตี่ อ้ งการจะตกแต่งลงไปในแผน่ กระดาษแผน่ นั้นๆ น่นั เอง ซงึ่ วธิ ีการสร้างไฟลง์ านน้ัน ให้กดที่ ปุม่ Fileในแถบเมนดู ้านบน แลว้ ตามดว้ ย ปุ่ม New
(**จางา่ ยๆ ว่า File > New**)ภาพท่ี 15 การสรา้ ง New File
หลงั จากน้ัน โปรแกรมจะข้นึ หน้าต่างใหม่ขึ้นมาเพ่ือใหเ้ รา ตง้ั ช่ือไฟล์งานพรอ้ มกบั เลือกวา่ ต้องการขนาดใหญ่เท่าไหร่ ความละเอยี ดมากน้อยแค่ไหน (ซึง่อนั นไี้ มม่ กี ฎเกณฑต์ ายตัว ข้นึ อยูก่ บั เราวา่ อยากจะไดข้ นาดใหญ่แคไ่ หน) แต่โดยท่วั ไปแล้ว ถา้ ไม่ใชง่ านของโรงพมิ พ์ทต่ี ้องการความละเอยี ดแบบสงู มาก เราใช้ขนาดทปี่ ระมาณ 800 x 600 px หรอื 1024 x 768 px ก็พอแล้ว ขนาดไฟล์(File Size) จะได้ไมใ่ หญ่จนเกนิ ไป เม่อื ตง้ั ขนาดไดแ้ ลว้ กก็ ด ปุม่ OK
2. พิมพช์ ื่อไฟล์เพื่อต้งั ชื่องาน3. เลือกขนาดโดยอตั โนมตั ิ (กรณเี ลือก Custom ตอ้ งกาหนด Width, Height และ Resoluion อกี คร้ัง)4. เลือกโหมดสใี นการทางาน5. เลอื กการแสดงพ้นื หลังWhite ใหพ้ ื้นมสี ขี าวBackground Color ใหพ้ นื้ เปน็ สีเดียวกับTransparent Background ใหพ้ ้นื โปร่งใสไม่มี เนือ้ หาหรอื สปี รากฏ6. หลงั จากกาหนดคา่ ต่างๆ ตามต้องการให้คลกิ ปุ่ม ภาพที่ 16 การตั้งคา่ NewOK ถ้าต้องการยกเลิกให้คลิกป่มุCancel
จากนน้ั เราจะไดก้ ระดาษข้ึนมา 1 แผน่ ตามขนาดท่เี ราไดต้ ั้งเอาไว้ เปน็ อนั เสร็จสนิ้ วธิ ีการสรา้ งไฟล์งาน ภาพท่ี 17 กระดาษงานที่ได้จากการ New
2. การดึงรูปภาพเข้าโปรแกรม (Images to Photoshop) สาหรบั การนารปู ภาพเขา้ มาใชง้ านในโปรแกรม Photoshop สามารถทาได้หลายวธิ ีดว้ ยกนั แต่วิธที ี่งา่ ยสุด คอื การลากและวาง (Drag and Drop) เราแคเ่ ลอื กไฟลร์ ปู ภาพที่ตอ้ งการจะใช้ จากนน้ั กใ็ ชเ้ ม้าสค์ ลกิ ที่ ไฟลร์ ปู ภาพนัน้ ๆ (คลกิ ซ้ายคา้ ง) แลว้ กล็ ากมาวางลงในส่วนของ หน้ากระดาษ (ไฟลง์ านทเี่ ราสรา้ งไว้ในโปรแกรม โฟโตช้ อป ) เพียงเทา่ น้ี รูปภาพก็จะเข้ามาอยูใ่ นโปรแกรม ให้เราตกแตง่ รีทชั ไดต้ ามใจชอบ
ภาพท่ี 18 ดงึ ภาพใสใ่ นกระดาษงาน
หลงั จากที่เราดงึ ภาพเขา้ มาในโปรแกรม โฟโตช้ อป แลว้ภาพทด่ี ึงเขา้ มาก็จะปรากฏขน้ึ บนหนา้ กระดาษไฟล์งานท่ีเราสรา้ งขึ้น พรอ้ มกับสร้างเลเยอร์ให้โดยอตั โนมตั ิ ดงั นน้ั การจดั การกับเลเยอร์ จงึ เป็นสิ่งจาเปน็ ในขั้นถัดไปที่เราจะตอ้ งเรียนรู้ ภาพที่ 19 ภาพทไ่ี ด้หลงั จากการดงึ ภาพ
3. การจดั การเลเยอร์ (Photoshop ‘s Layer Panel) ซงึ่ ถา้ จะพดู ใหเ้ ขา้ ใจงา่ ยๆ แล้ว ในส่วนของ เลเยอร์ (Layer) ในโปรแกรม โฟโต้ชอป ก็เปรยี บเหมือนกับ เศษกระดาษช้นิ เล็กๆ ที่ อยู่บนไฟลง์ านของเรา โดยเราจะนาเศษกระดาษนัน้ ๆ มาตดั หรอื ต่อกันก็ได้ ยงิ่ ถา้ มีเศษกระดาษช้นิ เล็กๆ อยมู่ ากเท่าไร ก็เทา่ กับว่า ในไฟลง์ านนนั้ ๆ ก็จะมีเลเยอร์มากข้ึนเท่านน้ั นั่นเอง (ถ้ายงั สบั สนอยู่ ลองดภู าพตอ่ ไปนี ้นา่ จะชว่ ยให้เข้าใจได้ งา่ ยมากขนึ ้ โดยในภาพตวั อยา่ งได้มกี ารลากไฟล์รูปภาพทงั้ หมด 4 รูปภาพ เข้ามาไว้ในไฟล์งานเดยี วกนั ดงั นนั้ จงึ มีทงั้ หมด 4 เล เยอร์)
ภาพท่ี 20 การสร้างภาพ 4 เลเยอร์
เมอ่ื พอจะเขา้ ใจรูปแบบของเลเยอร์แลว้ กม็ าลองดกู ารใช้งานของมนั กันต่อ โดยในข้ันพืน้ ฐานนนั้ 3 สว่ นหลักๆ ท่เี ราควรร้กู ็คือ ภาพที่ 21 ตวั อย่างเลเยอร์
1. การแสดงผลของเลเยอร์ – เลเยอร์ท่อี ยู่บน จะแสดงผลทับเลเยอร์ท่ีอยู่ลา่ งเสมอ เช่น ถา้ ในไฟล์งานของเรามีเลเยอร์อย่ทู งั้ หมด 4 เลเยอร์ถ้านาทัง้ 4 เลเยอร์ มาวางไว้ตาแหนง่ เดยี วกนั (ซ้อนๆ กนั หลายๆ ภาพ) โดยเรียง Layer ไลจ่ ากบนลงลา่ ง ดงั น้ี Layer 3 , Layer 4 , Layer 1 และLayer 2 ผลลพั ท์ของภาพทจ่ี ะแสดงผลอยบู่ นสุด (ไม่ถกู เลเยอร์ใดๆ บดบงั )กจ็ ะเป็น Layer 3 นั่นเองภาพท่ี 22 การซ้อนแสดงผล เลเยอร์
2. การสร้างเลเยอร์ใหม่ เราสามารถสรา้ งเลเยอร์ใหม่ๆ (CreateNew Layer) เพิม่ ข้ึนมาได้เร่อื ยๆ ตามต้องการ เพือ่ ที่จะทาการตกแต่งเพมิ่ เติมรูปภาพโดยท่ีไมใ่ หป้ ะปนกับเลเยอร์ของเดมิ ดว้ ยการกดปุ่มสญั ลกั ษณะไอคอนสีเ่ หล่ยี ม 2 อนั ซ้อนกนั ทอ่ี ยบู่ ริเวณดา้ นลา่ งของแถบเลเยอร์ (โปรแกรมจะมีระบบการรันเลขของเลเยอร์ต่อให้เองโดยอัตโนมัติ เชน่ถา้ ของเดมิ มี Layer 1-4 อย่แู ล้ว เม่อื กดสร้างใหม่ก็จะเปน็ Layer 5 , 6 , 7 ,8 เพมิ่ ข้ึนไปเรอ่ื ยๆ)ภาพที่ 23 การสรา้ งเลเยอร์ใหม่
3. การลบเลเยอร์เกา่ (เลเยอร์ทไี่ ม่ได้ใช้งานแล้ว) เมอ่ื ไฟล์งานเรา ถกู ใส่เข้าไปหลายๆ รูปภาพ ก็เรม่ิ จะมเี ลเยอร์เยอะมากขึ้นเร่ือยๆ อาจทาใหเ้ กดิ ความสบั สน ยงุ่ ยากในการจัดเรียง ดงั นนั้ เราจึงควรรู้วิธีลบเลเยอร์เกา่ ๆ ทไ่ี ม่ไดใ้ ช้งานแล้วออกไปบ้าง ซึ่งวิธกี ารลบท่ีง่ายสุด กค็ ือ ใหก้ ดเลือกเลเยอร์ท่ีจะลบ แล้ว กดปุ่ม Delete (บนแปน้ คยี บ์ อรด์ ) หรือ จะกดปมุ่ ไอคอนรปู ถงั ขยะ ท่ดี ้านลา่ งของแถบเลเยอร์ ก็ไดเ้ ชน่ กนั เพียงแคน่ ้ีรปู ภาพในเลเยอร์น้นั ๆ ก็จะถูกลบออกไปทันทีภาพที่ 24 การลบเลเยอร์เกา่
4. การตัดต่อ และ ลบรูปภาพบางส่วน ในสว่ นของการ “ตัดตอ่ รปู ภาพ” ในส่วนนี้จรงิ ๆ สามารถทาไดห้ ลายวธิ มี ากๆ ขน้ึ อยูก่ ับความถนัดและความชอบของแตล่ ะคนในคร้งั น้จี ะขอแนะนาเฉพาะเคร่อื งมือพนื้ ฐานเรม่ิ ต้น แบบท่ีใช้งานงา่ ยๆ กอ่ นภาพรวมของเคร่ืองมอื ตดั ต่อภาพขนั้ พน้ื ฐาน (Basic PhotoshopTools) ภาพที่ 25 เคร่อื งมือตดั ตอ่ ภาพขน้ั พื้นฐาน
1. เครื่องมือ ตดั ภาพ แบบสเ่ี หลย่ี ม กดเลือกเครอ่ื งมือ แล้วลากในบริเวณพื้นที่ ที่ตอ้ งการจะตดั ภาพท่ี 26 Rectangular Marquee Tool
เปลี่ยนเป็น เคร่อื งมือหัวลูกศร เพ่ือดงึ พื้นที่ใสเ่ สน้ ประออกมา ภาพที่ 27 การย้ายภาพทตี่ ดั แลว้ 1
2. เคร่อื งมอื ตัดภาพ แบบวงกลม กดเลือกเครื่องมือ แล้วลากในบรเิ วณพื้นที่ ท่ตี อ้ งการจะตัด ภาพที่ 28 Eliptical Marquee Tool
เปลี่ยนเป็น เครื่องมือหัวลกู ศร เพ่ือดงึ พื้นที่ใสเ่ สน้ ประออกมา ภาพท่ี 29 การย้ายภาพที่ตดั แล้ว 2
3. เคร่อื งมอื ตัดภาพ ตามแนวเส้นตรง กดเลือกเครอื่ งมือ แล้วลากในบรเิ วณพ้ืนท่ี ท่ตี ้องการจะตดั ภาพที่ 30 Polygonal Lasso Tool
เปลี่ยนเป็น เคร่อื งมือหัวลูกศร เพ่ือดงึ พื้นที่ใสเ่ สน้ ประออกมา ภาพที่ 31 การย้ายภาพทตี่ ดั แลว้ 3
5. การใสข่ อ้ ความ (Text in Photoshop) สาหรบั การใสข่ อ้ ความตวั อกั ษรลงในไฟลง์ านของ โปรแกรมโฟโต้ชอป น้นั เป็นเรื่องท่งี ่ายมาก เพยี งแค่กดปุ่ม เครือ่ งมอื Text ท่ีเปน็ ไอคอนสัญลกั ษณต์ ัว T แลว้ คลิกลงในตาแหน่งท่ีตอ้ งการจะพมิ พ์ขอ้ ความ เพยี งเทา่ นี้โปรแกรมก็จะสร้าง Layer Text ขึน้ มา ให้เราสามารถพมิ พข์ อ้ ความได้ทนั ที ภาพท่ี 32 Text Tool
ถ้าต้องการ เปลี่ยนฟอนต์ (Fonts) ปรับขนาด (Size) หรอืเปลย่ี นสี (Color) ข้อความตวั อกั ษร กส็ ามารถกดทแี่ ถบพาแนลด้านบนได้เลย PHOTOSHOP ภาพท่ี 33 การตัง้ คา่ Text Tool
6. การบนั ทึกไฟล์ภาพใน Photoshop เมอื่ สร้างหรือตกแต่งภาพเสร็จแลว้ เราจะตอ้ งบันทึกไฟล์ด้วยเพ่ือเก็บการเปลยี่ นแปลงทีท่ ากบั ภาพ โดยเลอื กบันทึกไฟล์ได้หลายรปู แบบขึน้ อยกู่ ับวัตถุประสงค์ของการนาไปใช้งานสาหรบั ไฟล์ประเภทแรกทีค่ วรบนั ทกึ คอื รูปแบบ PSD ของ Photoshop เองเพ่ือเก็บเปน็ ต้นฉบบั ไวส้ าหรับนามาแกไ้ ขในภายหลังจากนั้นจงึ ส่ังบนั ทึกไฟล์เปน็ ประเภทอน่ื เช่น GIF หรอื JPG เพ่ือให้เหมาะสาหรับการนาไปใชง้ านในแตล่ ะกรณี
Search