วิ วั ฒ น า ก า ร ล ะ ค ร ส า ก ล ส มั ย ยุ ค ดั้ ง เ ดิ ม - ปั จ จุ บั น สำ ห รั บ นั ก เ รี ย น ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 6
วิ วั ฒ น า ก า ร ล ะ ค ร ส า ก ล ส มั ย ยุ ค ดั้ ง เ ดิ ม - ปั จ จุ บั น หนังสือเล่มนี้ถ่ายทอดเรื่องราวของการละครสากล(ตะวันตก) ตั้งแต่ สมัยยุคดั้งเดิม สมัยยุคกลาง สมัยยุคฟื้ นฟูศิลปวิทยา ยุคละครสมัยใหม่ จนถึงสมัยยุคร่วมสมัย กล่าวคือ ได้กล่าวถึงเรื่องราวของการละครแต่ละ สมัย ตลอดจนแนวคิดสำคัญๆ ที่หล่อหลอมให้บทละครแต่ละสมัยมีรูป แบบเนื้ อหาและบรรยากาศที่มีเอกลักษณ์แตกต่างกัน นอกจากนี้ ผู้เขียนยังได้ค้นคว้าหาภาพที่เกี่ยวข้องกับการละครมา วิเคราะห์และจัดทำเป็นภาพประกอบ เพื่ อให้ผู้อ่านเห็นภาพและซึมซับ บรรยากาศของยุคสมัย ตลอดจนแง่มุมต่างๆ ของการละครได้ดียิ่งขึ้น
ส า ร บั ญ เ รื่ อ ง ห น้ า ละครยุคดั้งเดิม 1 ละครยุคอียิปต์ 1 ละครยุคกรีก 1-3 ละครยุคโรมัน 4-5 ละครยุคกลาง 6 โรงละคร 6 เครื่องแต่งกาย 7 ประเภทของละคร 7 ละครยุคฟื้ นฟูศิลปวิทยา 8 ละครในอิตาลี 8 ละครในสเปน 9 ละครในอังกฤษ 10 ละครในฝรั่งเศส 11 ละครยุคสมัยใหม่ 12-13 ละครยุคร่วมสมัย 14-15 บุคคลสำคัญ 16
ล ะ ค ร ยุ ค ดั้ ง เ ดิ ม THE THEATRE OF THE PAST การละครยุคอียิปต์ (4,000-3,000 ปีก่อนคริสตกาล) จากศิลาจารึกภาพเขียนและภาพจารึก ในหลุมฝังศพของกษัตริย์อียิปต์ โบราณ ในพีระมิดจะพบหลักฐานการแสดงละครสมัยแรกเป็นการแสดง กลางแจ้ง เพื่ อประกอบพิธีบูชาเทพเจ้าโอซิริส (OSIRIS) โดยมีกษัตริย์อี เธอร์โนเฟรด (ITHERNOFRET) ทรงแสดงเป็นตัวนําเอง มีขบวนเรือ จัดแสดงฉากรบที่เห็นจริง จัดแสดงกลางแจ้งติดต่อกัน 3 วัน โรงละครยุคกรีก เป็นโรงละครกลางแจ้งที่นั่งทำเป็นแถวสเตเดียม รูปครึ่งวงกลมมีที่ระหว่างผู้ชมกับเวที เรียกว่า ออร์เคสตร้า การละครยุคกรีก (800 – 700 ปีก่อนคริสตกาล) เริ่มต้นการละครของกรีกคล้ายคลึงกับอียิปต์ คือเริ่มด้วยการขับร้องและ เต้นรำเพื่ อบูชาเทพเจ้าไดโอนิซุส (DIONYSUS) อันเป็นเทพเจ้าแห่งเหล้าองุ่น และความอุดมสมบูรณ์ จัดพิธีกลางแจ้ง ละครมีความผูกพันกับศาสนา โดยเริ่มจากการประกวดการร้องรำทำเพลงเป็นหมู่โดย(CHORAL DANCE) ซึ่งเรียกว่า การแสดงดิธีแรมบ์ (DITHYRAMB) 1
จากการร้องรำทำเพลงเป็นหมู่โดยกลุ่มคนที่เรียกว่าคอรัส (CHORUS) ในการแสดงดิธีแรมบ์ ก็เริ่มมีการ เปลี่ยนแปลงไปสู่การแสดงในรูปแบบของละคร กล่าวคือมีนัก แสดงเดี่ยว ๆ แยกออกมาต่างหาก ในปี 534 ก่อนคริสตกาล เริ่มมีการประกวดการแต่งบท และการจัดแสดงละครโศกอนาฏกรรม นักการละครชื่อ เธสพิส (THESPIS) เป็นผู้ชนะการประกวดครั้งแรกนี้ ละครของเธสพิสใช้นักแสดงเพียงคนเดียว เล่นทุกบทที่มี อยู่ในละครเรื่องนั้น โดยใช้การเปลี่ยนหน้ากาก เป็นการ เปลี่ยนบทที่แสดง นักการละครชื่อ เธสพิส (THESPIS) เป็นผู้ชนะการประกวดแต่งบทครั้งแรก เครื่องแต่งกาย เนื่ องจากเวทีมีขนาดเล็ก ผู้ชมอยู่ห่างมาก ผู้แสดงเป็นผู้ชายล้วน จึงต้องแสดงท่าทางให้มากกว่าความเป็นจริง มีการสวมรองเท้าส้น สูง ใหญ่และหนาเพื่ อให้ดูตัวสูง มีเครื่องประดับศีรษะ เสื้ อไม่มีแขน มี เข็มขัดคาดใต้อก ใช้เสื้ อคลุมยาวขมวดไว้ตรงบ่าขวา มีเสื้ อคลุมสั้น สวมทับทางบ่าซ้าย มีสีฉูดฉาด ใส่หน้ากากตามลักษณะตัวละคร ตัวละครตลก จะใส่หน้ากากที่มีลักษณะขบขัน ใส่เสื้ อแขนสั้นยาว ถึงสะโพก มีลักษณะพอง กางเกงรัดรูปดูแล้วเหมือนเปลือย 2
ประเภทของละครกรีก ล ะ ค ร ก รีก ที่ ห ล ง เ ห ลื อ ม า ถึ ง ยุ ค ปั จ จุ บั น มี 2 ป ร ะ เ ภ ท คื อ ละครโศกนาฏกรรมหรือแทรเจดี (Tragedy) เรื่องราวของละครกรีกยุคแรกๆ เป็นการสรรเสริญและเล่า เรื่องราวเทพเจ้า โดยมักนำโครงเรื่องมาจากมหากาพย์อีเลียด (ILIAD) และ โอดิสซี (ODYSSEY) และละครโศกอนาฏกรรมใน ยุคกรีกแสดงให้เห็นชีวิตตัวละครตัวเอกที่มีความน่ายกย่อง สรรเสริญ แต่ต้องดิ้นรนต่อสู้กับอำนาจของชะตากรรมซึ่งเทพเจ้า เป็นผู้ลิขิต ถึงในที่สุดจะต้องพ่ายแพ้และประสบหายนะ แต่เป็นความ พ่ายแพ้ที่ดิ้นรนต่อสู้ถึงที่สุดแล้ว การดำเนินเรื่อง 1. ดำเนินเรื่องยังไม่แบ่งเป็นองก์ ละครสุขนาฏกรรมหรือคอมเมดี 2. ตัวละครใช้ผู้ชายแสดง (COMEDY) 3. ไม่มีการตายบนเวที เพราะ เป็นโรงละคร ละครสุขนาฏกรรมพัฒนาจากการขับร้อง กลางแจ้ง ไม่มีการเปิด ปิดม่าน ใช้วิธีการบรรยาย ถึงการตายแทน เพลงที่สนุกสนาน ของพวกติดตามขบวนแห่ เทพเจ้าไดโอไนซุส เป็นละครที่ให้ความรู้สึกตลก ขบขัน เพราะความบกพร่องของมนุษย์ เป็น เ รื่ อ ง ร า ว ที่ เ กิ ด ขึ้ น ใ น ส มั ย นั้น ซึ่งเกี่ยวกับ การเมือง สงครามและสันติภาพ ทัศนะเกี่ยวกับ ศิลปะในแง่ต่าง ๆ การโจมตีหรือเสียดสีตัว บุคคล คอมเมดีเป็นเรื่องที่แต่งขึ้นใหม่ มากกว่า นำมาจากตำนานเหมือนโศกอนาฏกรรม สุขนาฏกรรมแบ่งเป็น 2 ประเภท 1.ละครแบบเก่า เฟื่ อ งฟูในยุคทองของกรีก มีลักษณะบทสนทนา เปิดเผย หยาบโลน นำเสนอความสนุกสนาน ส่วนใหญ่ตอนจบ จะเป็นการออกไปงานเลี้ยงรื่นเริง 2.ละครแบบใหม่ เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับการปกปิดตัวจริงใช้เรื่อง เหลือเชื่อสร้างความตลกขบขัน ใช้เสียงอึกทึกครึกโคม เนื้ อ เรื่องมีเค้าโครงจากเทพไดโอไนซุส คือทุกเรื่องพู ดถึงทหารที่ สาบสูญจนค้นพบ 3
ก า ร ล ะ ค ร ยุ ค โ ร มั น ( พ . ศ . 2 5 0 – พ . ศ . 1 0 0 0 ) ( ป ร ะ ม า ณ ยุ ค ท ว า ร า ว ดี ข อ ง ไ ท ย ) เมื่ อกองทัพจากกรุงโรมบุกเข้าประเทศกรีก ชาวโรมันซึ่งมีความสนใจใน ศิลปะ วรรณคดีและละครจึงจัดตั้งโรงละครขึ้น และลอกเลียนแบบมาจาก กรีกโบราณทั้งสิ้น ละครที่มีในยุคโรมันได้แก่ โรม ได้กลายเป็นศูนย์กลางของละคร ผู้มาชมส่วนมากเสพความ เพลิดเพลิน ไม่สนใจสุนทรียะ และการสร้างเสริมเติมปัญญา การเลียนแบบ ละครกรีกไม่ได้พัฒนาให้ดีกว่าเดิม ละครโศกนาฏกรรมที่มีในยุคโรมันจึง เสื่ อมลง แต่การละครของโรมันก็มีความสำคัญและมีอิทธิพลลต่อนักเขียน บทละครสมัยหลัง ๆ โดยเฉพาะยุคฟื้ นฟูศิลปะวิทยา อันเป็นยุคที่นักเขียน บทละครรู้จักละครกรีกผ่านทางละครโรมัน โรงละครยุคโรมัน ลักษณะเด่มมีการสร้างรูป เทพเจ้าวีนัสบนยอดอาคาร ละครสุขนาฏกรรม ได้รับอิทธิพลจากคอมเมดีกรีก นักเขียน ละครประเภทนี้ดัดแปลงเนื้ อหามาจากละครตลกแบบใหม่ของกรีก และ ประสบความสำเร็จมากกว่าละครแนวโศกนาฏกรรมโครงเรื่องมักมีเรื่อง เกี่ยวกับการผิดฝาผิดตัว หลอกลวงพ่อ ทาสฉลาดที่หลอกลวงนายด้วย วิธีน่าขันต่าง ๆ ละครแพบูลาอาเทลลานา เป็นละครตลกสั้นๆ ใช้ตัวละครที่ไม่ลึกซึ้ง และมีลักษณะซ้ำกันทุกเรื่อง ใช้เรื่องราวชีวิตในชนบทของชาวบ้านสามัญ ละครชนิดนี้ได้รับความนิยมสูงสุด มายม์ (MIME) เป็นละครสั้นๆ ตลกโปกฮา มีการใช้ผู้หญิงแสดง บทของผู้หญิง (เป็นละครประเภทแรกที่ใช้ผู้หญิงแสดง) ไม่มีการสวม หน้ากาก แสดงเรื่องราวชีวิตของคนในเมือง ระยะหลังมายม์แสดงเรื่อง ราวที่ผิดทำนองคลองธรรม เช่น การคบชู้สู่ชาย ความชั่วช้าสามานย์ ภาษาที่หลาบโลน ทำให้เกิดการต่อต้านจากคริสต์ศาสนิกชน 4
แพนโทมายม์ (PANTOMIME) เป็นการร่ายรำที่มีความหมาย โดยใช้นักแสดงคนเดียว ซึ่งเปลี่ยนบทบาทโดยการ “เปลี่ยนหน้ากาก” มีพวกคอรัสเป็นผู้บรรยายเรื่องราว มักเป็นเรื่องราวที่เคร่งเครียด และได้จากตำนานปรัมปรา มีเครื่องดนตรีประกอบหลายชิ้น เช่น ขลุ่ย และเครื่องตี เครื่องแต่งกายยุคโรมัน การละครโรมันถึงยุคเสื่ อม เพราะ ความไร้ศีลธรรมของการ แสดง ซึ่งเน้นหนักด้านความโหดร้าย การทารุณกรรม การนอง เลือด การอนาจาร ฯลฯ จนกระทั่งประมาณ พ.ศ. 1076 จักร พรรดิจัสติเนียน แห่งอาณาจักรดรมันตะวันออก ได้ออกประกาศ ห้ามการแสดงในโรงละคร 5
ล ะ ค ร ยุ ค ก ล า ง (พ.ศ. 1400 – พ.ศ. 1900) การละครในโรมันถึงยุคเสื่ อมเป็นเวลากว่า 300 ปี จนกระทั่งประมาณ พ.ศ.1400 คริสตจักรทำให้ละคร กลับมาฟื้ นตัวอีกครั้งหนึ่ง ในราว พ.ศ.1700 (ตรงกับยุคสุโขทัย) เริ่มมีการ แสดงนอกโบสถ์ แสดงโดยภาษาท้องถิ่น มีฆราวาส และสมาคมอาชีพต่างๆ เป็นผู้จัดการแสดง โดยได้รับ การสนับสนุนจากคริสตจักร การแสดงจะแสดงทั้งบนเวทีที่อยู่กับที่และเวทีที่ เคลื่ อนที่ได้ เวทีที่อยู่กับที่ มีหลายลักษณะ ทั้งเวที สี่เหลี่ยมจัตุรัสดูได้สามด้าน เวทีครึ่งวงกลม และเวที วงกลมที่ดูได้รอบทิศ ส่วนเวทีเคลื่ อนที่ มักจะเป็น ฉากที่มีล้อเลื่ อนไปได้ เน้นกลไกการจัดฉาก 6
โรงละครยุคกลาง เครื่องเเต่งกายยุคกลาง ประเภทของละครในยุคกลาง # ละครศาสนาเป็นละครที่แสดงในวัด # ละครพื้นเมือง แสดงเรื่องราวการผจญภัยของ เพื่อประกอบพิธีทางศาสนา เมื่อละครมา แสดงนอกวัด ก็ยังคงใช้เรื่องราวในพระ วีรบุรุษที่มีชื่อเสียง เช่น โรบินฮูด เป็นต้น ความ คัมภีร์ไบเบิล เรียกว่า มิสตรี เพลย์ สนุกสนานอยู่ที่การต่อสู้ การแสดงฟันดาบ ระบำสวยๆ การเข่นฆ่ากัน ละครพื้นเมืองใช้นัก แสดงสมัครเล่น แสดงในเทศกาลใหญ่ ๆ # ละครฟาร์ส (Farce) เป็นละครตลกที่ # ละครอินเทอร์ลูด (Interlude) ละครที่ ไม่เกี่ยวกับศาสนาและไม่ได้มุ่งผลทางการสั่ง แสดงคั่นระหว่างงานเลี้ยงฉลองมีทั้งเรื่องน่าเศร้า สอนศีลธรรม แสดงให้เห็นสันดานดิบของ และเรื่องตลก แต่ไม่เกี่ยวกับศาสนาและการสอน มนุษย์ ที่มีความเห็นแก่ได้ โดยแสดงออกใน ศีลธรรม ลักษณะที่ขบขัน เป็นการเล่ห์เหลี่ยมไหวพริบ ให้เข้ากับประโยชน์ของตน 7
ละครยุ คฟื้ นฟู ศิ ลปวิทยา ล ะ ค ร ใ น ยุ ค นี้ ไ ม่เ กี่ ย ว กั บ ศ า ส น า แ ส ด ง เ ห ตุก า ร ณ์ ร้า ย ๆ น่ า ก ลั ว มีทั้ง โ ศ ก เ ศ ร้า ส ม ห วัง อ ยู่ใ น เ รื่ อ ง เ ดี ย ว กั น ยุคฟื้ นฟูศิลปวิทยาในละครประเทศอิตาลี (พ.ศ. 1900 – 2100 ประมาณสมัยอยุธยาของไทย) ยุคฟื้ นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีหรือยุคเรอเนซองส์ เป็นยุคที่มีผลกระทบโดยตรงต่อลักษณะ การสร้างโรงละคร การวางรูปเวที การจัดวางฉาก การประพันธ์บท และการจัดการแสดงละคร บทละครยุคนี้ มีทั้งละคร คอมเมดี (Comedy) ละครแทรเจดี (Tragedy) ซึ่งได้รับอิทธิพลจากละครโรมัน รูปแบบละครในยุคเรอเนเซองส์นี้ ส่วนใหญ่จัดการแสดง เพียงฉากเดียว แต่เป็นฉากที่ใหญ่โตมโหฬาร การแต่งกายหรูหราและมีเหตุการณ์มหัศจรรย์เกิด ขึ้น ด้วยเหตุนี้จึงเกิดรูปแบบการแสดงที่สนองความต้องการด้านนี้ 2 ประการ คือ การแสดง สลับฉากที่เรียกว่า อินเตอร์เมทซี (Intermezzi) และ โอเปรา (Opera) อินเตอร์เมทซี (INTERMEZZI) เป็นการแสดงสลับฉาก มักเป็นเรื่องราวจากตำนานกรีกและโรมัน ซึ่งมี ปรากฏการณ์ที่ต้องใช้เทคนิคพิเศษเข้าช่วย เช่น เฮอร์คิวลิสเดินทางไปใน นรก หรือ เปอร์ซิอุสขี่ม้าเหาะไปต่อสู้กับปีศาจทะเล เป็นต้น มีการใช้ดนตรี และระบำเป็นส่วนประกอบสำคัญ การแสดงสลับฉากที่อาจอยู่เป็นเอกเทศ ไม่ เกี่ยวกับละครที่แสดงอยู่ก็ได้ โอเปรา (OPERA) เป็นการรวมเอาดนตรี การขับร้อง และระบำ เข้ามาไว้ในเรื่องราวที่ผูก ขึ้นเป็นละคร โอเปรานั้นนิยมใช้การจัดฉากหรูหรา เหตุการณ์มหัศจรรย์ ที่ ต้องใช้เทคนิคพิเศษอยู่ด้วย รูปแบบใหม่นี้ เป็นที่นิยมทั่วอิตาลี และแพร่ สะพัดไปทั่วยุโรปอย่างรวดเร็ว ละครโอเปร่านี้เองที่ส่งอิทธิพลมาถึงละคร ดึกดำบรรพ์ของไทย ในสมัยรัชกาลที่ 5 การแต่งกายของชาวอิตาเลียน 8
ยุคฟื้ นฟูศิลปวิทยาในละครประเทศสเปน ได้รับอิทธิพลมาจาก คอมมีเดีย เดลลาร์เต (Commedia dell’art) นักแสดงเป็นชายล้วน แต่ในช่วง ค.ศ. 1587 คอมมีเดีย เดลลาร์เต (COMMEDIA DELL’ART) เริ่มมีนักแสดงหญิงเข้ามาแสดงด้วย ละครสเปนในยุคนี้มี 2 ประเภท คือ ละครเกี่ยวกับศาสนา และ ละครทางโลก ละครเกี่ยวกับศาสนา มีลักษณะผสมผสานระหว่างไซเคิลเพลย์และละครศีลธรรม มีตัวละครที่เป็นมนุษย์ และสิ่งเหนือธรรมชาติผสมผสานกับสิ่งที่เป็นสัญลักษณ์ ผู้แสดง เป็นนักแสดงอาชีพจะแทรกเรื่องตลกสั้น ๆ เป็นการสลับฉากในรูปของการเต้น ต่อมาใน ค.ศ. 1765 ทางฝ่ายศาสนาจึงสั่งให้เลิกการแสดงประเภทนี้เพราะเพราะเนื้อหามีแต่รื่นเริง และเรื่องตลก ละครทางโลก มีการสร้างโรงละครแบบถาวรในกรุงมาดริด ต่อมาสร้างโรงละคร แบบปิดขึ้นมีเฉียงที่สร้างขึ้นทางด้านข้างเพื่อให้ขุนนางนั่ง เครื่องแต่งกายในยุคสเปน 9
ยุคฟื้ นฟูศิลปวิทยาในละครอังกฤษ ยุคฟื้ นฟ(ูศพิล.ศป.วิ2ท0ยา0ใน0ล–ะค2รป2ร0ะเ0ท)สสเปน ละครในประเทศอังกฤษ ได้รับอิทธิพลจากละครยุคกลางมากกว่ายุคเรอเนซองส์ ของอิตาลี นักเขียนบทละครคนสำคัญของอังกฤษ คือ วิลเลียม เชคสเปียร์ ซึ่งมีชีวิตอยู่ระหว่าง พ.ศ.2107 – 2159 (ตรงกับสมัยเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 1 พ.ศ.2112 สมัยพระนเรศวรกู้กรุงศรีอยุธยา และสมัยพระเจ้าปราสาททอง) เชคสเปียร์ เขียนบทละครทั้งหมดประมาณ 38 เรื่อง โดยแบ่งเป็น 3 ประเภท คือ ละครประวัติศาสตร์ประเทศอังกฤษ , ละครคอมเมดี , ละครแทรจิดี วิลเลี่ยม เชกสเปรียร์ จัดได้ว่าเป็นทั้งนักกวีและนักเขียนบทละครชื่อ ดังของโลก ถือว่าเป็นนักกวีที่ได้รับการกล่าวขานไปทั่วโลกด้วยฝีมือและ ลีลาการเขียนที่ไม่ว่าใครได้อ่านหรือได้รับชมละครที่เขาเขียนต่างก็ ห ล ง ใ ห ล แ ล ะ ชื่ น ช อ บ ด้ ว ย กั น ทั้ง สิ้น เครื่องแต่งกายและโรงละครในอังกฤษ 10
ยุคฟื้ นฟูศิลปวิทยาในละครฝรั่งเศส (พ.ศ. 2100-2200) การละครในฝรั่งเศสรักษาลักษณะตามแบบละครยุคกลาง จนมาถึง ประมาณ พ.ศ. 2100 จึงเกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ คือ เกิดละครนีโอ คลาสสิค (NEOCLASSICISM) ขึ้น ซึ่งมีลักษณะแตกต่างไปจากละคร ยุคกรีกและโรมัน 5 ประการ คือ (1) ต้องมีความสมจริง (2) แบ่งแยกเด็ดขาดระหว่างแทรเจดีกับคอมเมดี คือ แทรเจดี เป็น เรื่องราวของชนชั้นสูง จบด้วยความเศร้า ส่วนคอมเมดี เป็นเรื่องราวของ ชนชั้นกลางและชั้นต่ำ เรื่องราวจบด้วยความสุข (3) ให้แง่คิดแก่ผู้ชม (4) ต้องมีความเหมาะสมในการวางบุคลิกตัวละคร (5) ยึดหลักเอกภาพ 3 ประการ คือ เรื่องราว, เวลา และ สถานที่ เรื่องราวต้องเป็นเรื่องเดียวไม่มีเรื่องปลีกย่อย เวลาต้องอยู่ใน 24 ชั่วโมง และสถานที่ต้องอยู่ในเมืองๆ หนึ่งเท่านั้น โรงละครในฝรั่งเศส เครื่องแต่งกาย 11
ละครยุคสมัยใหม่ THE MODERN THEATRE ยุคเริ่มต้นละครสมัยใหม่ (พ.ศ. 2418 – 2490) ในภาวการณ์ทางการเมืองและเศรษฐกิจ ซึ่งกำลังอยู่ในภาวะยุ่งเหยิงจากการปฏิวัติ อุตสาหกรรมของประเทศทางยุโรปใน ขณะนั้น (ประมาณสมัยรัชกาลที่ 4-5 ของไทย) มี ผลต่อเนื่ องมาถึงความแออัดของผู้คนในเมือง จากการที่กรรมกรในชนบทอพยพเข้ามาอยู่กันหนาแน่นตามเมืองใหญ่ความอดอยาก และอัตราของอาชญากรรมพุ่งสูงขึ้น แนวความคิดเพ้อฝันแบบละคร โรแมนติก และ ความไม่สมจริงแบบละคร เมโลดรามา ดูจะไม่สอดคล้องกับเหตุการณ์ที่เป็นอยู่เลย ศิลปะการละครเริ่มเปลี่ยนแปลง มาสู่การแสวงหาความเป็นจริงมากขึ้น จึงเกิดละครในรูปแบบใหม่ ที่ละทิ้งธรรมเนียมเดิม โดย เฮนรกิ อบิเซน HENRIK IBSEN ได้รับสมญานานว่าเป็นบิดาแห่การเขียนบทละคร ตามแนวสัจนิยมคนแรก เขียนเกี่ยวกับความสมจริงด้านปัญหาสังคม ซึ่งละครสมัยใหม่ที่ นิยมเล่นมี ดังนี้ 1. แนวสัจนิยม (Realism) และแนวธรรมชาตินิยม (Naturalism) ให้ความสำคัญมากแก่คนธรรมดาสามัญยิ่งกว่ายุคที่ผ่านมา ก่อนหน้านั้นตัวละครที่ เป็นสามัญชนจะเข้ามามีบทบาทก็เพียงตัวประกอบ ตัวคนใช้ ปราศจากความสำคัญ ส่วน ตัวเอกจะเป็นคนฐานะร่ำรวย สมบูรณ์พร้อมด้วยฐานันดรศักดิ์ทุกประการ แต่ละครสมัย ใหม่เปลี่ยนแปลงรูปโฉมดังกล่าวละครสมัยใหม่ไม่จำกัดวิถีชีวิตของสามัญเอาไว้ จะนำมาสู่ สาระของเรื่องราวให้มากขึ้น ตัวละครเอกอาจจะเป็นชาวนา เสมียน โจร ขอทาน โสเภณี ฯลฯ เทคนิคการแต่งตัวก็เปลี่ยนตามไปด้วย การเสนอละครเรื่องหนึ่งไม่ใช่การสมมติขึ้น เท่านั้น แต่ตัวละครทุกตัวมีชีวิตความเป็นอยู่เช่นนั้นจริง ๆ รูปแบบการเขียนบทละครเวที ตามทฤษฎีเหมือนจริงและธรรมชาติ จึงถือประเด็นสำคัญว่าจะบิดผันให้แตกต่างจากความสมจริงไม่ได้เด็ดขาด ต้องเสนอ ภาพอย่างตรงไปตรงมา อย่างเป็นกลาง และเที่ยงธรรมที่สุด โดยไม่บิดเบือนไปจากสิ่งที่ เห็น มักจะเน้นถึงชีวิตของกรรมกรที่ประสบความทุกข์ยาก สะท้อนความจริงของสังคมใน ยุคนั้น การใช้ฉาก และแสง มีความสำคัญมากกว่าในอดีต ฉากเป็นแบบ 3 มิติมากกว่าใช้ ภาพวาด แสงใช้แสงจากไฟฟ้าแทนแสงเทียนและตะเกียงน้ำมัน 12
2. แนวต่อต้านสัจจนิยม (Anti – realism) หรือ ละครสัญญลักษณนิยม (Symbolism) เป็นละครที่ใช้วัตถุหรือการกระทำที่เป็นสัญลักษณ์ ซึ่งจะกระตุ้นและโยง ความรู้สึกนึกคิดของคนดูเข้ากับญาณพิเศษที่นักเขียน รู้สึกเกี่ยวกับความเป็นจริง ละครชนิดนี้ พยายามมองให้ลึกลงไปถึง สัจธรรมที่ไม่อาจจับต้องได้ เช่น ความหมาย ของชีวิตและความตาย จึงมักดูลึกลับ ลางเลือน และสร้างปมปริศนาไว้ให้ขบคิด 3. ละครเอ็กซ์เปรสชั่นนิสม์ EXPRESSIONISM ศิลปะช่วงประมาณปี พ.ศ.2400 ที่มุ่งแสดงความรู้สึกมากกว่าแสดงให้เหมือนจริง เป็น ละครที่เสนอความเป็นจริงตามความคิดของตัวละคร ซึ่งอาจไม่ตรงกับความเป็นจริงที่ ปรากฏแก่สายตาคนทั่วไป โดยใช้ฉากที่มีสภาพไม่เหมือนจริง ใช้คำพู ดที่ไม่เป็นเหตุเป็นผลนัก หรือใช้ข้อความสั้นๆ ฉากแบบเอ็กซ์เปรสชั่นนิสม์ มีลักษณะพิเศษที่สะท้อนความรู้สึกภายใน ของตัวละคร เน้นรูปลักษณะภายนอก สีสัน และขนาดที่ผิดปกติไป 4. ละครเพื่ อสังคม (THEATRE FOR SOCIAL ACTION) หรือละครเอพิค (EPIC THEATRE) เป็นละครที่กระตุ้นความสำนึกทางสังคม นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงแก้ไขสังคมให้ดี ขึ้น โดยไม่คำนึงถึงความเป็นกลางแบบธรรมชาติ หรือการบันทึกความเป็นจริงแบบ ตรงไปตรงมา แต่นักเขียนบทละครอาจโน้มเอียงมีอคติจนเห็นได้ชัด จุดสำคัญ คือ ต้องการให้ผู้ชม ชมอย่างไตร่ตรองมากกว่าจะให้เห็นคล้อยตามเรื่องไป ผู้ชมจะถูกทำให้ตระหนักอยู่ทุกขณะที่กำลังชมละครว่า นั่นคือการแสดงทั้งสิ้นเป็นการ เสนอออกมาให้ได้รู้ได้เห็นเท่านั้น หาใช่ความเป็นจริงไม่ ผู้ชมจะต้องคิดพิจารณาตาม 13
ละครร่วมสมัย (พ.ศ. 2490 – ปัจจุ บัน) การแสดงแนวเหมือนชีวิต ละครแนวเหมือนจริงในยุคปัจจุบัน นี้ ไม่ได้พยามยามจะจำลองชีวิตมาทุกกระเบียดนิ้วเช่นในยุคแรก เริ่มคนดูพร้อมจะยอมรับวิธีการเสนอละครในแบบต่าง ๆ มากขึ้น โดยเข้าใจได้ว่าละครนั้นแตกต่างออกไปจากชีวิตจริงเพราะฉะนั้นจึง ไม่มีความจำเป็นใดๆ ที่จะต้องจำลองภาพลวงของความเป็นจริงมา ทุกแง่ทุกมุม ฉากละครจึงเลือกเอาแต่บางส่วนที่สำคัญอันเป็นที่ เกิดเหตุมาใช้ โครงสร้างของละครก็มีอิสระมากขึ้น และไม่มีรูปแบบแน่นอน กล่าวโดยสรุป คือ ละครสัจจนิยมแบบประยุกต์นี้ นำเอาความคิด และวิธีการของแนวต่อต้านสัจจนิยมมากลั่นกรอง และผสม กลมกลืนกันตามแต่จะต้องการใช้ เพื่ อพยายามเสนอสัจจะนั่นเอง ลักษณะการแต่งกาย ยุ ค ล ะ ค ร ร่ว ม ส มั ย ละครเพลง MUSICAL THEATRE ละครเพลง เป็นรูปแบบของละครอย่างหนึ่งที่นำดนตรี เพลง คำพู ด และ การเต้นรำ มาผสมผสานเข้าด้วยกัน เพื่ อให้เข้าถึงการแสดงอารมณ์ ความ สงสาร ความรัก ความโกรธ ความเศร้า รวมไปถึงการดำเนินเรื่องราวผ่านออก มาทางละคร คำพู ด ดนตรี การเต้นรำ พร้อมกับเทคนิคฉากต่างๆในยุคเริ่มต้น ข อ ง ล ะ ค ร เ พ ล ง เ กิ ด ขึ้ น เ พ ร า ะ ไ ด้ รับ อิ ท ธิพ ล ท า ง ก า ร แ ส ด ง จ า ก ป ร ะ เ ท ศ ท า ง แ ถ บ ยุโรป ซึ่งจะเป็นลักษณะออกแนวโอเปร่า คือมีรูปแบบการร้องเพลงในแบบ ฉบับโอเปร่าร่วมไปกับการแสดง และมีโครงเรื่องลักษณะดูเกินจริง โดยมี การนำท่าเต้นประกอบในการแสดง 14
ละครแอบเสิร์ด THEATRE OF THE ABSURD ละครแอบเสิร์ด แปลว่า เหลวไหล ไร้สาระ น่าหัวเราะ โง่เขลา ได้รับอิทธิพลทาง ความคิดจากปรัชญาแบบเอ็กซิสเตนเชียนลิสม์ EXISTENTIALISM ทฤษฎีแห่ง ปรัชญาที่ว่าทุกคนนั้น มีอิสระและรับผิดชอบในการกระทำของเขา ซึ่งเกิดขึ้นประมาณ พ.ศ.2450 (ปลายรัชกาลที่ 5) ปรัชญานี้ลบล้างความเชื่อดั้งเดิมที่มีมาเกี่ยวกับความหมายของการใช้ชีวิต ของ คนเรา โดยเชื่อว่าชีวิตไม่มีความหมาย และเชื่อว่าไม่มีแบบแผนหรือคุณธรรมอะไรที่ คอยบงการอยู่เหนือการใช้ชีวิต มนุษย์ คนเราล่องลอยอย่างไร้จุดหมาย ในโลกที่ไร้ จุดประสงค์และวิถีทาง โดยไม่ต้องผูกมัดกับพระเจ้าหรือกฎเกณฑ์ใดๆ ตามที่เคยเชื่อ ถือ มนุษย์รับผิดชอบต่อตัวเองเท่านั้น ทุกคนจะต้องแสวงหาค่านิยมของตนเอง และ ปฏิบัติตามสิ่งที่ตนเชื่อ มนุษย์จึงเป็นผู้กำหนดทางชีวิตของตนเอง มากกว่าจะตกอยู่ ใต้อาณัติของสภาวะแวดล้อมหรือผู้อื่ นใด แม้กระทั่งพระผู้เป็นเจ้า นักเขียนบทละครคนสำคัญของละครแอบเสิร์ด คือ แซมมวล เบ็คเก็ท (Samuel Beckelt) ชาวไอริช บทละครเรื่อง “คอยโกโดท์” (Waiting for Godot) ของเขา ได้รับการ ยอมรับนับถือว่าเป็นละครแอบเสิร์ดที่ดีที่สุด 15
บุ คคลสำคั ญที่ เกี่ ยวข้องกั บละครสากล เอมิล โซลา Emile Zola เซเนกา Seneca Lucius ผู้ มี อิ ท ธิ พ ล ต่ อ ก า ร เ ขี ย น นั ก เ ขี ย น บ ท ล ะ ค ร บ ท ล ะ ค ร สั จ นิ ย ม ใ น ยุ ค โ ศ ก น า ฏ ก ร ร ม ที่ เ ด่ น ส มั ย ใ ห ม่ ที่ สุ ด ใ น ยุ ค โ ร มั น เอสคีลัส Aeschyus ลูโตวิโAกrioLsutdoovico นั ก เ ขี ย น ช า ว โ ร มั น บิ ด า เ ป็ น นั ก เ ขี ย น ล ะ ค ร แ ห่ ง ล ะ ค ร โ ศ ก น า ฏ ก ร ร ม ค อ ม เ ม อ ดี้ ค น แ ร ก ใ น ยุ ค ฟื้ น ฟู ศิ ล ป ะ วิ ท ย า 16
Search
Read the Text Version
- 1 - 19
Pages: