นวัตกรรม ตอกไม้ไผ่ไร้เชื้อรา
ที่มาของ นวัตกรรมตอกไม้ไผ่ไร้เชื้อรา แรกเริ่ม ก่อนที่โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคม รายตำบลแบบบูรณาการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เข้าร่วมในการพัฒนาผลิตภัณฑ์จักสานไม้ไผ่ปราชญ์ ชุมชนได้ใช้การทาแล็กเกอร์ช่วยป้ องกันการขึ้นราและ เหน่าของผลิตภัณฑ์ ซึ่งสารแล็กเกอร์มีผลต่อสุขภาพ ของผู้บริโภค เมื่อสัมผัสกับผลิตภัณฑ์จักสานไม้ไผ่ ทางกลุ่มโครงการ U2T โมคลาน ช่วยคิดค้นวิธีการ แก้ไขปั ญหาในการทำให้ผลิตภัณฑ์จักสานไม้ไผ่ไร้เชื้ อ ราและขึ้นเหน่า ที่สำคัญต้องปลอดภัยต่อการใช้งานของ ผู้บริโภค จึงได้สารโซเดียมเบนโซเอตและน้ำซาวข้าว ในการทดลองตอกไม้ไผ่ สุดท้ายก็ได้ผล อย่างที่คาดคิด ไว้ เพราะวัสดุที่ใช้ปลอดภัยต่อผู้บริโภค ห่างไกลจาก สารเคมีส่งผลต่อสุขภาพ ของผู้บริโภคแน่นอน
วัสดุอุปกรณ์ สารโซเดียมเบนโซเอต น้ำซาวข้าว ตอกไม้ไผ่
วิธีการทดลอง ใส่น้ำซาวข้าวลงในกะละมังและ เติมสารโซเดียมเบนโซเอตลงไป แล้วคนให้เข้ากัน นำตอกไม้ไผ่ลงไปในกะละมัง ที่ได้ผสมเรียบร้อยแล้ว แช่ไว้ 1 คืน นำตอกไม้ไผ่ที่แช่เอาไว้ 1 คืน นำมาจากแดดจนแห้งสนิท โดย จะตากอยู่ประมาณ 2-3 วัน
ผลการทดลอง ตอกไม้ไผ่จะมีสีหมองคล้ำ ตอกไม้ไผ่สะอาดและสว่างมากขึ้น ที่สำคัญจะไม่เกิดเชื้อราและเหน่า
ประมวลภาพผลิตภัณฑ์ไผ่พาสเทล จากการทดลอง
ขอขอบคุณ ผศ.ดร.รุ่งรวี จิตภักดี หัวหน้าโครงการ โครงการยกระดับศรษฐกิจและ สังคมรายตำบลแบบบูรณาการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
Search
Read the Text Version
- 1 - 7
Pages: