Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาการงานอาชีพ เรื่อง หลักการและวิธีการดูแลเสื้อผ้าเครื่องประกอบการแต่งกาย

วิชาการงานอาชีพ เรื่อง หลักการและวิธีการดูแลเสื้อผ้าเครื่องประกอบการแต่งกาย

Published by Thanyarat Chaiprasertsiri, 2021-07-25 09:47:53

Description: หลักการและวิธีการดูแลเสื้อผ้าเครื่องประกอบการแต่งกาย

Search

Read the Text Version

ความสาคญั ของการดูแลรกั ษาเคร่ืองประกอบการแตง่ กาย ส่งเสรมิ บคุ ลิกภาพของผ้สู วมใสใ่ หด้ ูดยี งิ่ ขึน้ ช่วยใหผ้ ูท้ ่ีสวมใสเ่ ส้ือผ้าเกิดความมน่ั ใจในตนเอง สรา้ งความโดดเด่นให้แก่ร่างกาย เชน่ เคร่ืองประดับ เก็บรกั ษาของมีค่า หรอื ของสาคญั ตา่ ง ๆ เช่น กระเปา๋ ปอ้ งกันอนั ตรายจากแสงแดดและฝนุ่ ละออง เช่น แวน่ ตา ถนอม ป้องกนั และดแู ลรักษาอวยั วะตา่ ง ๆ เช่น รองเทา้ ปลกู ฝงั ลักษณะนสิ ัยท่ีดี เช่น การรกั ษาความสะอาด

หลกั การดแู ลรกั ษาเครื่องประกอบการแตง่ กาย ระวังไมใ่ หเ้ ปรอะเป้อื นส่งิ สกปรก เก็บให้เปน็ หมวดหมแู่ ละเป็นระเบียบ หรอื ถกู ของมคี มเกย่ี วจนขาด เพอื่ ความสะดวกในการใช้งาน หากพบร่องรอยการชารดุ ใหร้ บี นาไป หากเปรอะเปื้อนควรรบี ทาความสะอาด ซ่อมแซมทันที ก่อนนาไปใชง้ าน ทันที เพราะจะทาความสะอาดไดง้ า่ ย

เครื่องประดบั วธิ กี ารดแู ลรกั ษาเคร่อื งประกอบการแต่งกาย แวน่ ตา รองเทา้ ผา้ ใบ ❖ ใชผ้ ้าทีน่ ุม่ สะอาดเช็ดทาความสะอาด ❖ ไมว่ างทบั ซอ้ นกนั โดยไมม่ ีผ้า หรอื วสั ดุอ่นื ๆ ห่อห้มุ ❖ ตมุ้ หู ควรจดั เกบ็ เปน็ คู่ และเก็บใส่กล่อง ❖ หากเป็นเครอ่ื งเงินใหห้ อ่ และเก็บใส่กลอ่ งพลาสติก ❖ พบั ขาและหงายแวน่ ตาขนึ้ ทกุ ครัง้ เพอื่ ป้องกันรอยขีดขว่ น ❖ ทาความสะอาดกรอบแว่นตาและเลนส์เป็นประจา เพื่อ ล้างคราบเหงือ่ ไคล ❖ วางผ่ึงใหก้ ล่ินเหงื่อแหง้ เกบ็ ในท่ีแห้ง ไม่อบั ชน้ื ❖ ทาความสะอาดด้วยน้าผสมสารซักฟอก ใช้แปรงขนอ่อน ขัดใหท้ ั่ว ❖ ก่อนนาไปผึง่ แดดต้องซับนา้ ออกใหห้ มด

กระเปา๋ วธิ ีการดูแลรักษาเคร่อื งประกอบการแต่งกาย เขม็ ขดั หมวก ❖ ใช้น้ายาเช็ดทาความสะอาดและเก็บไว้ในถุงผ้า เพ่ือ ป้องกนั ฝ่นุ ละออง ❖ ยัดไส้กระเป๋าด้วยกระดาษหนังสือพิมพ์ จะช่วยรักษา รูปทรงของกระเป๋าได้ ❖ แขวนตรงสว่ นหวั เขม็ ขัดกบั ตะขอแขวน ❖ หากเป็นเข็มขัดผ้าใบ ใหซ้ กั และตากให้แห้ง ❖ หากเป็นเข็มขดั หนงั ให้ใชแ้ ปรงปัดฝุ่นแล้วขดั ❖ ไม่วางสายเขม็ ขดั พาดกับราว เพราะจะเสยี รูปทรงไดง้ า่ ย ❖ หากหมวกเปื้อน ให้ใช้น้าสบู่ หรือน้ายาล้างจานผสมกับน้า แลว้ ใช้แปรงสฟี ันถูบริเวณรอยเปอื้ นเบา ๆ ❖ การซักหมวกทั้งใบ ให้ใช้มือซักเท่านั้น ห้ามใช้เครื่องซักผ้า ในการซกั เพราะจะทาให้เสียรปู ทรงได้ง่าย

ตวั อย่าง : ผลิตภัณฑ์ทีใ่ ช้ในการดูแลรกั ษาเครอ่ื งประกอบการแต่งกาย นายาล้างเคร่อื งเงิน ใช้ขจัดคราบสิ่งสกปรกบนเครอ่ื งเงิน ช่วยใหผ้ วิ ของโลหะสะอาดและเงางาม นายาขัดเครอื่ งหนงั ใช้ขจัดคราบส่ิงสกปรกบนเคร่อื งหนงั และเพมิ่ ความเงางามให้กับเครือ่ งหนัง ครมี ทาความสะอาดอเนกประสงค์ ใช้ขจัดคราบส่ิงสกปรกบนวัสดุต่าง ๆ ได้ หลายชนิด เชน่ หนัง ผ้า แก้ว พลาสติก

ตวั อยา่ ง : ผลติ ภัณฑท์ ี่ใชใ้ นการดูแลรกั ษาเครือ่ งประกอบการแต่งกาย นายาขจัดกลิ่นรองเท้า ใชข้ จัดกลิน่ อับในรองเท้า ยบั ยง้ั การ เจรญิ เตบิ โตของเชือ้ แบคทเี รยี นายาเช็ดเลนส์แวน่ ตา ใช้ทาความสะอาดเลนส์ ฆ่าเชือ้ รา ฆา่ เชอ้ื โรค ขจัดคราบมันท่เี กดิ บนเลนส์ นายาเคลือบรองเทา้ ใชเ้ คลอื บรองเท้า เพอื่ ป้องกนั น้าและ สิ่งสกปรกตา่ งๆ เปรอะเป้อื นบนรองเทา้

หลักการซอ่ มแซมเสือผ้า ผใู้ ช้ วิธีการ ค่าใช้จ่าย เมอื่ ทาการซ่อมแซมเสร็จ วิธีทใี่ ช้ในการซ่อมแซมเหมาะสม คมุ้ คา่ กบั เงนิ หรอื งบประมาณ ผ้ใู ช้ยนิ ดที ี่จะสวมใส่หรือไม่ กับลกั ษณะการชารุดหรือไม่ ท่ใี ชจ้ ่ายไปหรอื ไม่ เครอ่ื งมอื เคร่อื งใช้ เวลา มีอปุ กรณ์ เคร่อื งมอื เครื่องใชพ้ รอ้ ม ใชเ้ วลาในการซอ่ มแซมมากน้อยเพียงใด สาหรับการซอ่ มแซมหรอื ไม่ ซ่อมแซมแลว้ ใช้งานได้นานเทา่ ใด

การสอย วิธีการซ่อมแซมเสอื ผา้ การปะ สอยซอ่ นดา้ ย การเนา ปะดา้ นนอก สอยพนั ปะดา้ นใน เนาเท่ากัน สอยฟนั ปลา เนาไมเ่ ท่ากัน เนาเฉียง

การเย็บตะเข็บ วิธีการซอ่ มแซมเสอื ผา้ การติดกระดมุ ตะเขบ็ ธรรมดา การด้น การชนุ กระดมุ แป๊บ ตะเข็บคู่ กระดมุ แบบไมม่ ีกา้ น ตะเข็บล้ม ดน้ ตะลยุ ชุนรงั ผงึ กระดุมแบบมีก้าน ด้นถอยหลัง การทารังดมุ รงั ดมุ (มือ)

การซอ่ มแซมกระเป๋าเสอื วสั ดุ อุปกรณท์ ี่ใช้ TIP : การเลอื กเข็มใหเ้ หมาะสมกับการตัดเยบ็ ❑ เข็มสอย / เข็มหมดุ / จกั รเยบ็ ผา้ เขม็ เย็บผ้า No. กวา้ ง (มม.) ยาว (มม.) ชนดิ ของผา้ ❑ ด้ายสเี ดยี วกับผ้า หรือสใี กลเ้ คยี ง ❑ กรรไกรตดั ผา้ สาหรับ 6 0.78 31.8 ผ้าวูล ผ้าฝ้ายเนื้อหนานมุ่ เสอื ผา้ 7 0.71 30.3 ผ้าวูล ผา้ ฝา้ ย ผา้ ลินิน ทั่วไป 8 0.64 28.8 ผ้าฝา้ ยชนดิ บาง ผ้าขนสตั ว์ชนดิ บาง 9 0.56 27.3 ผ้าฝา้ ยชนิดบาง ผ้าไหม หมายเหตุ : เขม็ ขนาดใหญเ่ หมาะสาหรับผา้ ทมี่ ีเนอื หนา ส่วนเข็มท่มี ขี นาดเรยี วยาวเหมาะสาหรับผ้าเนือบาง

การซอ่ มแซมกระเปา๋ เสือ ขันตอนการซอ่ มแซม 1 2 4 1) ตรวจสอบลกั ษณะของตะเขบ็ เดิม เพอ่ื จะได้ 3 เย็บตะเข็บในลกั ษณะเดยี วกนั จากนน้ั ใช้ กรรไกรตดั เส้นด้ายทหี่ ลุดรุ่ยออกจนหมด 2) ใช้เขม็ หมดุ กลัดผ้าตามแนวตะเข็บใหแ้ น่น หรอื ใชว้ ิธกี ารเนาตะเข็บตามแนวเดมิ ของ เสน้ เย็บ 3) ใช้เข็มสอยเย็บดว้ ยวธิ ีการดน้ ถอยหลัง หรอื ใช้จักรเย็บตามแนวเส้นเย็บท่ีเนาไว้ 4) ตดั ด้ายออกใหเ้ รียบรอ้ ย แลว้ นาไปรดี ให้เรยี บ

หลักการตกแต่งเสือผา้ ผใู้ ช้ วิธีการ คา่ ใชจ้ า่ ย ออกแบบเหมาะสมกับเพศ วยั รูปรา่ ง วิธที ่ีใช้ในการตกแต่งเหมาะสม คมุ้ คา่ กับเงนิ หรืองบประมาณ และบคุ ลิกภาพของผ้สู วมใสห่ รือไม่ กบั ลักษณะของเส้ือผ้าหรอื ไม่ ทีใ่ ชจ้ ่ายไปหรือไม่ เครื่องมอื เครื่องใช้ เวลา มีอุปกรณ์ เครือ่ งมอื เครอ่ื งใชพ้ รอ้ ม ใช้เวลาในการตกแต่งมากนอ้ ยเพยี งใด สาหรับการตกแต่งหรือไม่ ตกแต่งแลว้ ใช้งานไดห้ รือไม่

แบบฝึกหดั ใหน้ กั เรียนเลอื กเสือผ้าที่มีลกั ษณะชารุด มา 1 ตัว และอธิบายวธิ กี ารซ่อมแซมเสอื ผา้ ทชี่ ารุดของนักเรยี นว่าจะซ่อมแซมด้วยวธิ ีใดให้เหมาะสม เพราะเหตใุ ดถึงเลอื กวิธนี นั ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... เสื้อผ้าทชี่ ารุด