Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นามบัตรธุรกิจความงามแบบสวยงามสีน้ำตาลอ่อนและสีน้ำตาล

นามบัตรธุรกิจความงามแบบสวยงามสีน้ำตาลอ่อนและสีน้ำตาล

Published by จุฑามาศ ทองรอด, 2021-09-03 13:01:25

Description: นามบัตรธุรกิจความงามแบบสวยงามสีน้ำตาลอ่อนและสีน้ำตาล

Search

Read the Text Version

E-BOOK POLYMER

จัดทาํ โดย นางสาวอรอมุ า อัคราจินดากลุ เลขท.ี่ 23 ชัน้ ม.6/1 โรงเรียนหวยนางราษฎรบํารุง

polymer พอลิเมอร์



พอลิเมอร์ 1 พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบทมี โี มเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกลุ มากประกอบดว้ ย หนว่ ย เลก็ ๆ ของสารทีอาจจะเหมือนกนั หรอื ตา่ งกันมาเชือมตอ่ กันดว้ ยพันธะโคเวเลนต์ มอนอเมอร์ (Monomer) คอื หนว่ ยเลก็ ๆ ของสารในพอลิเมอร์ พอลเิ มอร์ แบ่งตามเกณฑต์ ่าง ๆ ดังนี แบ่งตามการเกิด 1. พอลเิ มอรธ์ รรมชาติ เปนพอลเิ มอร์ทเี กิดขึนเองตามธรรมชาติ เช่น โปรตนี แปง เซลลูโลส ยางธรรมชาติ 2. พอลิเมอรส์ ังเคราะห์ เปนพอลิเมอรท์ ีเกดิ จากการสังเคราะหเ์ พือใชป้ ระโยชน์ ต่าง ๆ เช่น พลาสติก ไนลอน ดาครอนและลูไซต์

แบง ตามชนิดของมอนอเมอร 2 ท่ีเป็ นองคประกอบ 2. โคพอลเิ มอร์ เปนพอลเิ มอรท์ ีประกอบ 1. โฮมอลิเมอร์ เปนพอลเิ มอร์ทีประกอบ ดว้ ยมอนอเมอร์ตา่ งชนดิ กนั เช่น โปรตนี ด้วยมอนอเมอรช์ นดิ เดียวกนั เชน่ แปง พอลิเอสเทอร์ พอลเิ อทลิ ีน PVC โครงสร้างของพอลเิ มอร์ 1. พอลิเมอรแ์ บบเส้น เปนพอลิเมอร์ทเี กิดจากมอนอเมอรส์ ร้างพันธะต่อกนั เปนสายยาว โซ่พอลเิ มอร์ เรียงชิดกนั มากวา่ โครงสร้างแบบอนื ๆ จงึ มคี วามหนาแน่น และจดุ หลอมเหลว สูงมีลักษณะแขง็ ข่นุ เหนยี วกวา่ โครงสร้างอนื ๆ ตวั อยา่ ง PVC พอลิสไตรนี พอลิ เอทิลีน

2. พอลิเมอร์แบบกงิ 3 เปนพอลเิ มอร์ทีเกิดจากมอนอเมอรย์ ึดกนั แตกกงิ ก้านสาขา มีทงั โซ่สันและโซย่ าว กิงทแี ตกจาก พอลเิ มอรข์ องโซห่ ลัก ทําให้ไม่ สามารถจัดเรียงโซ่พอลเิ มอรใ์ ห้ชดิ กนั ได้มาก จึงมีความหนาแนน่ และจดุ หลอมเหลวตํายืดหยุ่นได้ ความเหนียวตาํ โครงสรา้ ง เปลียนรูปไดง้ ่ายเมอื อุณหภูมเิ พิมขนึ ตวั อยา่ ง พอลเิ อทิลนี ชนิด ความหนาแนน่ ตํา 3. พอลเิ มอรแ์ บบร่างแห เปนพอลิเมอร์ทเี กิดจากมอนอเมอร์ตอ่ เชือมกันเปนร่างแห พอลเิ มอร์ ชนดิ นีมคี วามแขง็ แกรง่ และเปราะหกั งา่ ย ตวั อยา่ งเบกาไลต์ เมลา มนี ใช้ทําถว้ ยชาม

1.พลาสตกิ (Plastic) 4 พลาสตกิ (Plastic) คอื สารทสี ามารถทาํ ให้เปนรูปตา่ ง ๆ ไดด้ ้วย ความร้อน พลาสตกิ เปนพอลิเมอร์ ขนาดใหญ่ มวลโมเลกลุ มาก สมบตั ทิ วั ไปของพลาสตกิ มคี วามเสถยี รมากในธรรมชาติ สลายตัวยาก มมี วลน้อย และเบา เปนฉนวนความร้อนและไฟฟาทดี ี ส่วนมากอ่อนตวั และหลอมเหลวเมอื ได้รับความรอ้ น จึงเปลียน เปนรูปตา่ งๆ ไดต้ ามประสงค์

ประเภทของพลาสตกิ 5 1.เทอรม์ อพลาสตกิ (Thermoplastic) เปนพลาสตกิ ทีสามารถหลอมเหลวไดด้ ว้ ยความรอ้ น สามารถขึนรูปไดห้ ลายครัง มโี ครงสรา้ งแบบโซ่และแบบ กิง มีการเชอื มต่อระหว่างโซพ่ อลิเมอร์น้อยมาก เช่น พอลิ เอทิลีน พอลโิ พทิรลีน ไนลอน และเทฟลอน 2.พลาสตกิ เทอรม์ อเซต (Thermosetting Plastic) เปนพอลเิ มอร์ทีหลอมตัวไดเ้ ฉพาะการขึนรูปเพียงครงั เดยี ว ไม่สามารถนาํ กลับมาขึนรูปใหมไ่ ด้อกี เพราะมีการเชือมตอ่ ระหวา่ งพอลิเมอรแ์ บบร่างแห ทนตอ่ ความรอ้ นความดนั ได้ ดี เชน่ พอลยิ รู ิเทน เมลามนี ฟอรม์ าลดีไฮด์ อพี อกซี และเบ กาไลท์

พลาสติก7ประเภทขยะพลาสตกิ ทรี ีไซเคลิ ได้ 6 1. โพลเิ อทลิ ีนเทเรฟทาเลต (Polyethylene Terephthalate) หรอื เพ็ท (PET หรอื PETE) พบสัญลักษณ์นีไดใ้ นขวดบรรจุนาํ ดืม นํามนั พืช กล่มุ นีสามารถรไี ซเคลิ ให้เปนเส้นใยทาํ เสือกนั หนาว พรม และใย สังเคราะห์ในหมอน เปนตน้ 2. โพลิเอทิลนี ชนิดความหนาแนน่ สูง (High Density Polyethylene) หรอื เอชดีพีอี (HDPE) พบไดใ้ นขวดนม ขวดนาํ และบรรจุภัณฑส์ ําหรบั นํายาทาํ ความสะอาด ยาสระผม นํามารไี ซเคลิ เปนขวดนํามันเครือง ท่อ ลังพลาสติก และไมเ้ ทยี ม เปนต้น

3.โพลไิ วนลิ คลอไรด์ (Polyvinylchloride) หรอื พีวีซี (PVC) กลุ่มนีใชท้ ํา ทอ่ นาํ ประปา สายยางใส แผน่ ฟลม์ สําหรับห่ออาหาร แผ่นพลาสตกิ สําหรับ ทาํ ประตู หนา้ ตา่ ง และหนังเทยี ม สามารถนาํ มา รีไซเคลิ เปนทอ่ นําประปา กรวยจราจร เฟอร์นิเจอร์ มา้ นงั พลาสติก ตลับเทป เปนต้น 4. โพลีเอทิลนี ชนิดความหนาแนน่ ตํา (Low Density Polyethylene) หรอื แอลดีพีอี (LDPE) ใชท้ ําฟล์มห่ออาหาร และหอ่ สิงของ สามารถนํา มารไี ซเคลิ เปนถุงหหู ิว ถงุ ดําสําหรบั ใส่ขยะ ถงั ขยะ กระเบอื งปูพืน และ เฟอร์นิเจอร์ เปนตน้

5.โพลโิ พรพิลีน (Polypropylene) หรือ พีพี (PP) ใช้ทําภาชนะ บรรจอุ าหาร ถงั ตะกร้า กระบอกนํา ขวดบรรจยุ า เปนต้น สามารถ นาํ มารไี ซเคลิ เปนกลอ่ งแบตเตอรี ชนิ ส่วนในรถยนต์ และไม้กวาด พลาสติก เปนตน้ 6.โพลสี ไตรนี (Polystyrene) หรอื พีเอส (PS) ใชท้ ําภาชนะ บรรจขุ องใช้ หรอื โฟมใส่อาหาร นํามารไี ซเคลิ เปนไมแ้ ขวน เสือ ไมบ้ รรทัด แผงสวิตช์ไฟ ฉนวนความร้อน ถาดใส่ไข่ รวมถงึ เครอื งมือเครอื งใช้ตา่ งๆ 7.ไมม่ กี ารระบชุ ือจาํ เพาะ ไม่ใช่พลาสติกชนิดใดทจี ัด อยู่ใน 6 กลุ่มข้างต้นแตส่ ามารถนาํ มาหลอมใหมไ่ ด้

2.ยาง ยาง คือวสั ดุ พอลเิ มอร์ ทีประกอบด้วยไฮโดรเจนและคารบ์ อน ยางเปนวสั ดทุ ีมคี วามยดื หยุน่ สูง ยาง ทีมตี ้นกาํ เนิดจากธรรมชาตจิ ะมาจากของเหลวของพืชบางชนิด ซึงมลี ักษณะเปนของเหลวสีขาว คล้าย นํานม มีสมบัตเิ ปน คอลลอยด์ อนภุ าคเล็ก มีตวั กลางเปนนํา ยางในสภาพของเหลวเรียกว่า นาํ ยาง ยางทเี กิดจากพืชนีเรียกวา่ ยางธรรมชาติ ในขณะเดยี วกนั มนุษย์สามารถสรา้ ง ยางสังเคราะห์ ได้ จาก ปโตรเลยี ม 1. ยางธรรมชาติ (NR) ยางธรรมชาติ (NR) คอื ยางทมี าจากตน้ ยางพาราโดยตรง ไมผ่ ่านกรรมวธิ ีการใด ๆ สรุปคุณสมบตั ขิ องยางยางธรรมชาติ NR -ทนการเสียดสี - รับแรงกระแทก - ยดื หย่นุ ตัวดี - ทนความรอ้ นได้ -20°C ถงึ 80°C

2. ยางสงั เคราะห์(Synthesis Rubber SR) ยางสังเคราะห์ คอื ยางวทิ ยาศาสตร์เปนยางทีมนษุ ยผ์ สมขึนมาเองได้แก่ ยาง NBR, SR, EPDM, SILICONE, VITON, HYPALON, CR, NEOPRENE, THERMOPLASTIC POIYURTEHANES และ URETHANE แต่ละชนิดมคี ณุ สมบตั ดิ ังนี ยางเทียมสังเคราะห์ เปนยางสังเคราะหท์ ีใช้งานกันมากในสหรฐั อเมริกา ยางมสี ่วนผสมของบวิ ทา ไดน์ 78% กับสไตรนี 22% มันอาจจะถูกผสมกนั ทีอณุ หภูมิ 40 องศาฟาเรนไฮต์ เมอื นํามาผสม กนั ที 40 องศาฟาเรนไฮต์ยางจะมีคณุ สมบัตพิ ิเศษกว่า ยางธรรมชาติจึงนําไป ใช้ทํายางรถยนต์ ยางสังเคราะหม์ คี วามต้านทานต่อการขูดถลอก สภาวะของลมฟาอากาศทแี ปรเปลยี นไป ต้านทาน ไฟฟาไดด้ ี สรุปคุณสมบตั ิของยาง - การใชง้ านคล้ายยาง NR - ทนการเสียดสี - ตา้ นทานไฟฟาไดด้ ี - ทนความร้อนได้ -20°c ถงึ 80°c

ยางโพลียูรเทน (Polyurethane, PU) ผลิตขนึ ครงั แรกในชว่ งสงครามโลกครังที 2 เพือใช้ทดแทนยางธรรมชาติ และยังใช้ผลิตผ้าทีมี ความทนทาน เคลอื บผิวเครอื งบนิ โลหะ เพือปองกันการกดั กร่อนและสารเคมี โพลียูรเี ทนผลิตจาก โพลีออลกบั ไดไอโซไซยาเนตหรอื โพลีเมอรกิ ไอโซไซยาเนต โพลียรู เี ทนส่วนใหญเ่ ปนพลาสตกิ ชนิด เทอร์โมเซ็ต คือ ไมส่ ามารถหลอมเหลวและขนึ รูปใหมไ่ ด้ ซงึ ผลิตออกมาหลายรปู แบบไดแ้ ก่ ท่อลม อดั เปนโฟมยดื หยนุ่ โฟมแข็ง สารเคลอื บปองกนั สารเคมี สรุปคุณสมบัตขิ องยาง POLYURETHANE - ทนตอ่ การเสียดสีได้ดีมาก - ทนตอ่ แรงลมอัดไดส้ ูง - ทนนํามัน - ทนความร้อนได้ -40°c ถึง 100°c

ยางเทอร์โมพลาสติก โพลยี รู เทน (Thermoplastic Polyurethanes) TPU ยางเทอรโ์ มพลาสตกิ โพลยี รู เี ทน (Thermoplastic Polyurethanes) TPU มลี ักษณะ อ่อนเหมอื นกนั แต่ไม่อ่อนเทา่ เนือของ TPU จะลืนกวา่ และมีความแขง็ กวา่ ส่วนใหญ่จะนาํ มาใช้เปนยางกันกระแทกทจี ะใช้ TPU เปนวัสดุ ด้วยเหตุผลทคี งทนกวา่ ไมเ่ กิดอาการยว้ ย วัสดุประเภทนีจะไม่เสียทรง หรอื สูญเสียทรงนอ้ ยมาก สรุปคณุ สมบตั ขิ องยาง TPU - ทนต่อการกระแทกได้ดมี าก - มีความยืดหยนุ่ ดี - ทนนาํ มัน - ทนความรอ้ นได้ -50°c ถึง 220°c

3.เส้นใย ( Fibers ) คอื พอลเิ มอร์ชนิดหนึงทมี โี ครงสรา้ งของโมเลกุลสามารถนาํ มาเปนเส้นดา้ ย เส้นใย เส้นใยธรรมชาติ : เส้นใยเซลลูโลส ทํามาจากลนิ ิน ปอ เส้นใยสับปะรด เส้นใยโปรตนี : ขนสัตว์ เช่น ขนแกะ ขนแพะ เส้นใยไหม : เส้นใยจากรังไหม เส้นใยสังเคราะห์ เช่น เซลลูโลสแอซีเตด ไนลอน ดาครอน Orlon เส้นใย หมายถึง วัสดุหรือสารใด ๆ ทงั ทีเกดิ จากธรรมชาตแิ ละมนษุ ย์สรา้ งขนึ มอี ัตราส่วนระหวา่ ง ความยาวต่อเส้นผ่านศูนยก์ ลางเทา่ กับหรือมากกวา่ 100 เท่า สามารถขึนรปู เปนผา้ ได้ และตอ้ งเปน องคป์ ระกอบทเี ล็กทีสุดของผ้า ไม่สามารถแยกย่อยในเชิงกลไดอ้ ีก

1. เส้นใยธรรมชาติ (Natural fibers) มีสมบัตดิ ดู นาํ ได้ดี แตย่ ับงา่ ย แหง้ ชา้ ไมท่ นต่อเชอื รา แบง่ ยอ่ ยได้อีก 3ประเภท คอื 1. เส้นใยเซลลโู ลสทพี บในส่วนต่าง ๆ ของพืช เช่น เส้นใยฝาย นุ่น ปาน ปอ ใยมะพรา้ ว ลนิ ิน ใยสับปะรด 2. เส้นใยจากสัตว์ เชน่ ขนแกะ ขนแพะ ใยไหมซงึ เปนโปรตนี 3. เส้นใยทไี ด้มาจากแร่ธาตุ เช่น เส้นใยหนิ (asbestos) 2. เส้นใยสังเคราะห์ (Human-made fibers) เกดิ จากการนําพอลิเมอร์สังเคราะหม์ าปน โมเลกลุ ของเส้นใยต้องมขี นาดยาวและมี การเรียงตวั ของโมเลกุลเปนระเบียบตามแนวแกนของเส้นใย เชน่ ไนลอน พอลิเอสเท อร์ เส้นใยสังเคราะห์มสี มบัตไิ มย่ ับง่าย ไมด่ ูดนาํ ซักง่าย แหง้ เร็ว ทนต่อเชือรา แตม่ ี ข้อเสีย คอื การระบายความร้อนไม่ดี จงึ ไมเ่ หมาะทีจะนํามาทอเปนเสือผ้า

สมบัติของเส้นใย สมบตั ิของเส้นใยมีผลโดยตรงตอ่ สมบตั ิของผ้าทีทําขึนจากเส้นใยนนั ๆ ผ้าทที าํ จากเส้นใยที แขง็ แรงก็จะมีความแข็งแรงทนทานด้วย หรอื เส้นใยทสี ามารถดูดซบั นําไดด้ ีจะส่งผลให้ผ้า สามารถดดู ซับนําและความชืนได้ดี เหมาะสําหรบั การนาํ ไปใช้ในส่วนทมี ีการสัมผสั กบั ผวิ และ ดูดซับนาํ เช่น ผา้ เช็ดตวั ผ้าอ้อม เปนต้น ในเส้นใยทีสามารถดดู ซับนําได้นอ้ ย จะส่งผลให้ผ้าทีทําจากเสน้ ใยชนิดนมี สี มบตั ดิ งั นี - เกิดไฟฟาสถติ ย์ (Static build-up) บนเนอื ผ้าได้งา่ ย ทาํ ให้ผา้ ลีบติดตวั - ผา้ แห้งเรว็ เนอื งจากมีปรมิ าณนาํ ทดี ูดซบั น้อยและไมม่ ีพันธะ (bond) ระหว่างเส้นใยและ โมเลกุลของนาํ - ย้อมติดสียาก เนอื งจากการยอ้ มสีส่วนใหญ่อาศัยนําเปนตัวกลางพาโมเลกลุ ของสีเข้าไปในเนอื ผ้า ผา้ ทีไม่ดูดซับนาํ จึงติดสีย้อมไดย้ ากกว่า - สวมใส่สบายนอ้ ยกว่า เนืองจากการเหงือทอี ยบู่ นผวิ ถูกดูดซับนอ้ ยทําให้ร้สู ึกเปยกชืนได้ - คงรูปได้ขณะเปยก (หรอื ขณะซกั ) และผ้ายับนอ้ ย ทังนีเนืองจากปรมิ าณนาํ ทีถูกดดู ซบั มีนอ้ ย และไม่เกิดพันธะระหวา่ งเส้นใย และโมเลกุลของนาํ ทจี ะทาํ ให้โครงสร้างเปลยี นแปลงไป

แนวทางการแกปญหาสงิ แวดล้อมทีเกิดจากพอลิเมอร์ หลัก3R 3R เปนแนวคิดและแนวทางในการปฏิบัติเพือการใช้ทรพั ยากรทมี ีอยู่อยา่ งคุ้มคา่ สามารถช่วยลด ปริมาณขยะให้นอ้ ยลง ด้วยการลดการใช้ การนาํ กลบั มาใชซ้ าํ และการนาํ ขยะกลับมาใชใ้ หม่ (Reduce Reuse and Recycle: 3Rs) โดยเรมิ ตน้ ทกี ารใชใ้ หน้ ้อยลง ลดการใชว้ สั ดุ ผลิตภณั ฑ์ ที กอ่ ให้เกิดขยะเพือลดปรมิ าณขยะทีเกดิ ขึน (Reduce) การนําวัสดุ ผลติ ภัณฑท์ ยี งั สามารถใช้งานได้ กลับมาใชซ้ าํ (Reuse) และการนําวัสดุ ผลติ ภัณฑท์ ใี ชง้ านแลว้ มาแปรรปู เพือนํากลบั มาใช้ ประโยชนใ์ หม่ หรือ รไี ซเคิล (Recycle)

Reduce – ลดการใช้ (คดิ กอ่ นใช)้ ลดระดับการใชป้ จจุบัน ควบคมุ ปริมาณการใชใ้ หอ้ ยใู่ นสัดส่วนทีพอเหมาะ โดยลดการใช้ การ บรโิ ภคทรพั ยากรทีไมจ่ ําเปนลง เพราะการลดการบริโภคของเรา จะชว่ ยให้เราลดปรมิ าณขยะที สรา้ งขึนได้ ในขันตอนนเี ริมตน้ โดยการสํารวจวา่ เราจะลดการบรโิ ภคทไี ม่จาํ เปนตรงไหนได้บ้าง ลดการสรา้ งขยะในชีวติ ประจาํ วัน ใช้ถงุ ผา้ ตระกรา้ เพือลดการใชถ้ ุงพลาสตกิ ใชผ้ า้ เชด็ หน้าแทนการใชก้ ระดาษทชิ ชู่ ใชป้ นโต หรอื กลอ่ งข้าวใส่อาหาร แทนการใส่กลอ่ งโฟม ปฏเิ สธการรบั ถุงพลาสตกิ เมือซือของชินเล็กหรอื นอ้ ยชนิ เลอื กซอื บรรจุภัณฑ์ทเี ปนมติ รกบั สิงแวดลอ้ ม เลอื กทานอาหารทีร้านแทนการใส่กลอ่ งกลับ หลกี เลียงใชว้ สั ดุสินเปลืองแบบใชค้ รงั เดยี วทิง

Reuse – นาํ กลับมาใชซ้ ํา (ใช้แลว้ ใชอ้ กี ) การใช้ซาํ เปนการใช้ทรัพยากรใหค้ ้มุ ค่าทีสุด โดยการนําสิงของเครอื งใช้มาใช้ซาํ ซงึ บางอยา่ งอาจใช้ ซําได้หลาย ๆ ครัง เชน่ ใชบ้ รรจภุ ณั ฑ์ซาํ หลายครังก่อนทิง ใช้ภาชนะทีสามารถใชซ้ าํ ได้ เลอื กซือ สินค้าทีสามารถใชซ้ ําได้ ซงึ นอกจากช่วยลดการเกดิ ขยะแลว้ ยังช่วยลดปริมาณการตัดตน้ ไม้ได้เปน จํานวนมาก เลือกใช้ถา่ นไฟฉายแบบชารต์ ได้ ดัดแปลงของเหลอื ใช้เพือใชป้ ระโยชน์ เสือผ้าเกา่ นาํ ไปบรจิ าค หรอื ถูพืน ซ่อมแซมอุปกรณ์ต่างๆ ไมท่ งิ เปนขยะ การใช้กระดาษ 2 หนา้ การนํากระดาษรายงานทีเขยี นแล้ว 1 หนา้ มาใชใ้ นหน้าทีเหลอื หรอื อาจนาํ มาทําเปนกระดาษโน๊ต

Recycle – นาํ กลบั มาใช้ใหม่ คดั แยกขยะมลู ฝอยแตล่ ะประเภท ทสี ามารถนํากลับมาใชใ้ หม่หมุนเวียนกลับเข้าสู่กระบวนการ ผลติ ของแต่ละประเภทได้ ขวดแกว้ กระดาษ พลาสตกิ โลหะ เลอื กซอื สินค้าทีนาํ กลบั มารไี ซเคลิ ไดห้ รือทผี ลิตจากวสั ดุรไี ซเคลิ นําขยะอินทรีย์กลับมาใชป้ ระโยชน์ เชน่ ทําปุยหมัก