๑ แบบฝกึ ทักษะ การเขยี นสอื่ สาร การเขยี นเรียงความ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๑ นางสาวณิชนันท์ กาทองทุ่ง ตาแหน่ง ครู สงั กดั สานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาแพร่ เขต ๑ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
๒ คำชีแ้ จง แบบฝึกทักษะ เร่ือง การเขียนส่ือสาร ประกอบการจัดการเรียนรู้รูปแบบ JIGSAW สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรียนบ้านทุ่งโฮ้ง(อภิวังวิทยาลัย) โดยมี รายละเอยี ดดงั น้ี ๑. แบบฝึกทักษะ เรอ่ื ง การเขียนสอื่ สาร ประกอบการจัดการเรียนรู้รปู แบบ JIGSAW สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๑ โรงเรียนบา้ นทงุ่ โฮง้ (อภิวังวิทยาลัย) มี จานวนท้งั หมด ๑ เล่ม ประกอบด้วย ๕ แบบฝึก เลม่ ท่ี ๑ เรื่อง การเขียนเรยี งความ ๒. แบบฝกึ เลม่ นีเ้ ปน็ แบบฝกึ ทกั ษะท่ปี ระกอบด้วยแบบฝึก จานวน ๕ แบบฝึก ๓. แบบฝึกทักษะเล่มที่ ๑ เรอ่ื ง การเขยี นเรียงความ มีส่วนประกอบ ดงั นี้ ๓.๑ ชือ่ แบบฝึกทกั ษะ ๓.๒ คาชีแ้ จง ๓.๓ คาแนะนาการใชส้ าหรบั ครู ๓.๔ คาแนะนาการใช้สาหรับนักเรียน ๓.๕ มาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ชีว้ ดั จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๓.๖ แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) ๓.๗ ใบความรเู้ ร่อื ง การเขียนเรยี งความ
๓ ๓.๘ แบบฝกึ ทกั ษะที่ ๑.๑ – ๑.๕ ๓.๙ แบบทดสอบหลงั เรียน (Post-test) ๓.๑๐ เฉลยแบบฝกึ ทักษะท่ี ๑.๑ – ๑.๕ ๓.๑๑ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น (Pre-test) และหลังเรยี น (Post-test) ๓.๑๒ บรรณานกุ รม
๔ คำแนะนำในกำรใช้สำหรับครู ๑. แบบฝึกทักษะการเขียนสื่อสารเล่มน้ีเป็นแบบฝึกทักษะเพื่อพัฒนาศักยภาพ การเรียนร้ขู องผเู้ รียนด้านการเขียนจดหมาย มีจานวนทง้ั หมด ๕ แบบฝึก ๒. แบบฝึกทักษะเล่มนี้เป็นแบบฝึกทักษะ เล่มที่ ๑ การเขียนเรียงความ สาหรับ นักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๑ ๓. สว่ นประกอบของแบบฝึกเล่มนีป้ ระกอบด้วย ๓.๑ ชือ่ แบบฝึกทักษะ ๓.๒ สาระ มาตรฐานและตัวช้วี ัดการเรียนรู้ ๓.๓ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ๓.๔ แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) เรื่อง การเขยี นเรียงความ ๓.๕ แบบฝกึ ทักษะท่ี ๑.๑ – ๑.๕ ๓.๖ แบบทดสอบหลังเรยี น (Post-test) เร่ือง การเขยี นเรยี งความ ๓.๗ เฉลยแบบฝึกทักษะท่ี ๑.๑ – ๑.๕ ๓.๘ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น (Pre-test) และหลังเรียน (Post-test) เรอ่ื ง การเขียนเรยี งความ ๔. ควรศึกษาคาแนะนาในการใช้แบบฝกึ ทกั ษะก่อนการใช้ทุกเล่ม ๕. เตรยี มอปุ กรณ์การฝกึ ปฏิบตั ลิ ่วงหน้าก่อนการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนทุกคร้ัง กกกกกกเชน่ แบบฝึกทักษะ แบบทดสอบก่อนเรยี น (Pre-test) และหลงั เรยี น (Post-test) แบบสังเกตพฤติกรรมให้พรอ้ มเพอ่ื สะดวกตอ่ การนาไปใช้ ๖. อธิบายให้นักเรียนทราบถึงความสาคัญของการฝึกแต่ละคร้ัง เพื่อให้นักเรียนเห็น ประโยชน์ที่จะไดร้ บั จากการฝึก
๕ คำแนะนำในกำรใช้สำหรับนักเรยี น แบบฝึกเสริมทักษะเล่มน้ีเป็นแบบฝึกเสริมทักษะ เล่มที่ ๑ การเขียนเรียงความ สาหรบั นักเรยี นระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ ขนั้ ตอนกำรใช้แบบฝกึ ทักษะ ๑. ศึกษาทาความเข้าใจจุดประสงค์การเรียนรู้และคาช้ีแจงของแบบฝึกทักษะ ใหเ้ ขา้ ใจก่อน ๒. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) ด้วยความละเอียดรอบคอบ ๓. ทาแบบฝึกทักษะแตล่ ะแบบฝึกด้วยความมมุ านะ อดทนและตง้ั ใจ ๔. ทาแบบทดสอบหลังเรยี น (Post-test) ดว้ ยความละเอยี ดรอบคอบ ๕. รว่ มตรวจคาตอบของแบบฝึกทงั้ ๕ แบบฝกึ ได้ในเฉลยทา้ ยเลม่ ๖. ร่วมตรวจคาตอบของแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) และหลังเรียน (Post-test) ในเฉลยทา้ ยเลม่ เมอ่ื เรียนในแต่ละเร่อื งเพ่อื วัดความรู้ทพ่ี ัฒนาขึน้ ในเร่อื งนนั้ ๆ
๖ มำตรฐำนกำรเรียนรู้ ตัวช้วี ัด จุดประสงค์ สำระท่ี ๒ กำรเขยี น มำตรฐำน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเร่ืองราวใน รูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศ และรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมี ประสิทธภิ าพ ตวั ชี้วดั ท ๒.๑ ม.๑/๒ เขียนสือ่ สารโดยใชถ้ ้อยคาถกู ต้อง ชดั เจน เหมาะสม และสละสลวย จดุ ประสงค์กำรเรียนรู้ ๑. นักเรียนสามารถอธบิ ายการเขียนเรยี งความได้อย่างถูกตอ้ ง (K) ๒. นักเรยี นสามารถแยกองค์ประกอบการเขยี นเรยี งความไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง (K) ๓. นกั เรียนเขียนเรียงความไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง (P) ๔. มมี ารยาทในการเขียน (A)
๗ แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) คำชแ้ี จง : ใหน้ กั เรยี นเลอื กคาตอบที่ถกู ต้องท่ีสุดเพยี งคาตอบเดียว แลว้ ทา เครอ่ื งหมายกากบาท (×) หนา้ คาตอบข้อทีถ่ ูกตอ้ ง ๑. การเลือกเรือ่ งเขยี นเรียงความควรใช้หลกั ข้อใด ก. เลอื กเรอื่ งที่เคยเขียนมาก่อน ข. เลือกเรอื่ งที่มีความรมู้ ากทส่ี ดุ ค. เลอื กเรือ่ งท่ใี ช้โวหารไดห้ ลากหลาย ง. เลอื กเร่ืองเกีย่ วกับประสบการณของผู้เขยี น ๒. ข้อใด ไมใ่ ช่ หลกั การเขียนเรียงความ ก. เขียนชิดริมกระดาษ ข. วางโครงเรอ่ื งก่อนเขียน ค. ชอื่ เรื่องและเนอ้ื เรอ่ื งต้องสมั พันธ์กัน ง. เขียนดว้ ยลายมือทีช่ ัดเจนและอ่านง่าย ๓. ขอ้ ใดกลา่ ว ไม่ ถกู ตอ้ ง ก. จากัดจานวนยอ่ หนา้ เพียง ๓ ยอ่ หน้าเท่าน้นั ข. เรยี งความประกอบด้วยบทนา เนอ้ื เรอื่ ง และบทสรุป ค. การเรยี บเรยี งเน้ือความตอ้ งเปน็ ไปตามลาดับของโครงเรอ่ื ง ง. เรียงความตอ้ งมคี วามเปน็ เอกภาพ สัมพันธภาพ และสารัตภาพ
๘ ๔. ขอ้ ใดคือสว่ นประกอบของการเขียนเรียงความโดยเรยี งตามลาดับ ก. คานา เน้อื เร่อื ง สรุป ข. เนื้อเรือ่ ง คานา สรปุ ค. หัวขอ้ เนอื้ เรื่อง สรุป ง. หัวขอ้ โครงเร่อื ง เนือ้ เรื่อง ๕. การวางโครงเรือ่ งก่อนเขยี นเรียงความมีประโยชน์อย่างไร ก. ช่วยกาหนดจดุ ประสงค์ของเรอื่ ง ข. ช่วยสร้างความเขา้ ใจในแต่ละยอ่ หนา้ ค. ช่วยกาหนดขอบเขตในการเขียนแตล่ ะครัง้ ง. ชว่ ยให้เน้ือหามีเอกภาพและเสนอความคดิ ไดต้ ามลาดบั ๖. ข้อใด ไม่ใช่ ศิลปะของการเขยี นเรยี งความ ก. การเลือกใช้คาท่ีสอื่ ความหมายชดั เจน ข. การใช้สานวนและลลี าการเขยี นท่ีเปน็ ของตนเอง ค. การเขยี นขอ้ ความในแต่ละยอ่ หน้าใหส้ ัมพนั ธ์สอดคล้องกัน ง. การสารวจโครงเร่อื ง สรุป และคานาใหเ้ สนอเพียงความคิดเดยี ว ๗. สว่ นทเ่ี ขยี นแสดงความรู้สกึ ของการเขียนเรยี งความคือขอ้ ใด ก. สรปุ ข. คานา ค. ชื่อเร่ือง ง. เนือ้ เร่ือง
๙ ๘. ยอ่ หนา้ แรกของเรยี งความ เปน็ ส่วนใดของเรยี งความ ก. สรปุ ข. คานา ค. เน้อื เร่ือง ง. ส่วนขยาย ๙. ข้อความในขอ้ ใด ควรใชเ้ ป็นการข้นึ ต้นคานาเรยี งความเรอ่ื งยาเสพตดิ ก. ยาเสพติดเปน็ สิง่ ไมด่ ี ข. เยาวชนควรห่างไกลยาเสพติด ค. ตารวจจับคนขายยาเสพตดิ ไดห้ ลายคน ง. เสียเหงอื่ ให้การกฬี า ดกี วา่ เสียน้าตาให้ยาเสพตดิ ๑๐. ขอ้ ความในขอ้ ใดท่ี ไม่ ควรกลา่ วในการเปดิ เรือ่ ง ก. เกริน่ นาถึงความสาคญั ของเร่อื ง ข. กล่าวถึงรายละเอยี ดของสิง่ ทีเ่ ขียนทั้งหมด ค. กล่าวนาโดยวธิ ียกข้อความของบุคคลสาคัญ ง. ใหค้ าจากัดความของช่อื เรื่องหรือส่ิงทจ่ี ะเขียน
๑๐ ใบควำมรู้ เรอื่ ง กำรเขยี นเรยี งควำม ในการเขียนเรียงความเรามักประสบปัญหาว่า จะเขียนอะไรบ้าง เขียนอย่างไรจึง จะเป็นเรียงความท่ีดี ปัญหาเหล่าน้ีสามารถแก้ปัญหาได้ด้วยการศึกษาทาความเข้าใจ เก่ียวกับส่วนประกอบในการเขียน การใช้โวหารแนวปฏิบัติแต่ละขั้นตอน รวมทั้งการฝึก ทักษะการเขียนอย่างสม่าเสมอ จะช่วยให้การเขียนเรียงความมีความน่าสนใจและน่า ตดิ ตามอ่านย่งิ ขึ้น ๑. ควำมหมำยและองคป์ ระกอบของเรยี งควำม เรียงความ คือ ข้อความหลายย่อหน้าท่ีบรรยายหรืออธิบายเรื่อง หรือความ คิดเห็นอย่างไรอย่างหน่ึงประกอบด้วย หัวข้อ คานา (ความนา) เนื้อเรื่อง (ตัวเรื่อง) และ สรุป (ความลงท้าย) แต่ถ้าพูดถึงองค์ประกอบของเรียงความ จะประกอบด้วยส่วนสาคัญ ๓ ส่วน คอื คานา เน้ือเรือ่ ง และสรุป ๑.๑ หัวข้อ คานา มีท้ังเร่ืองที่ใกล้ตัวและไกลตัว เรื่องท่ีเป็นรูปธรรมและ นามธรรม เร่ืองที่เกี่ยวกับประสบการณ์โดยตรงของผู้เขียน เก่ียวกับสังคม การเมือง เศรษฐกจิ วฒั นธรรม อาชพี ธรรมชาติ ประสบการณ์ การดาเนนิ ชวี ติ เป็นตน้ ๑.๒ คานา (ความนา) เปน็ สว่ นเริม่ ตน้ ของเรยี งความ นาหนา้ ที่นาเกริ่นเขา้ สู่เน้ือ เร่ืองและปูพื้นฐานความเข้าใจให้แก่ผู้อ่าน คานาควรมีใจความรวบรัดไม่เยิ่นเย้อ และไม่ ควรซ้ากับส่วนสรุปเพราะคานาจะช่วยกระตุ้นให้ผู้อ่านสนใจด้วยเน้ือเรื่องของเรียงความ สิง่ ทค่ี วรหลีกเลยี่ งในการเขยี นคานา ได้แก่ ๑.๒.๑ เร่ิมต้นจากเร่ืองไกลเกินไป เช่น คานาเรื่ององค์การยูเนสโก ไม่มี ความจาเป็นต้องกล่าวถึงความลม้ เหลวขององคย์ เู นสโก หรอื บุคลากรในองคก์ ร
๑๑ ๑.๒.๒ ใช้คาออกตวั เช่น การกล่าวในทานองนไี้ มค่ วรกระทา ๑.๒.๓ ลงความเห็นกวา้ งเกนิ ไป เช่น คานา เรือ่ ง “การเปล่ียนแปลงของ ภาษาไทย” ไม่ควรใช้คาว่า ภาษาไทยในรอบ ๒๐ ปี ท่ีผ่านมาได้กา้ วหน้าและเปล่ียนแปลง ไปสัมพันธก์ บั วิชาอ่ืน ๆ ควรใช้คานาท่กี ระชับรัดกมุ เชน่ การเปล่ียนแปลงของภาษาไทยมี การพัฒนาอย่างเป็นระยะ ๆ อยา่ งต่อเนอ่ื ง ท้ังดา้ นเสียง ความหมาย และหลักไวยากรณ์ ของไทยอยา่ งงดงาม ๑.๒.๔ คากล่าวท่ีเป็นความจริงในตัวเองอยู่แล้ว เช่น “เป็นท่ีกล่าวกันว่า ส่ิงท่ี แน่นอนในชีวติ มนษุ ยม์ อี ยา่ งเดยี วเทา่ นน้ั คอื ความไมแ่ นน่ อน” ๑.๓ เนอ้ื เรื่อง (ตัวเรอื่ ง) เปน็ ขอ้ ความตอ่ จากคานา ทาหน้าที่ขยายใจความของคานา ใหล้ ะเอยี ดแจม่ แจง้ ย่อหนา้ เนือ้ เร่ืองอาจมไี ด้หลายย่อหน้า มากนอ้ ยสุดแต่เนอ้ื เรื่อง ในการ เขียนเรียงความโดยท่ัวไปควรกาหนดจุดประสงค์ในการเขียน เพ่ือช่วยให้กาหนดขอบเขต ของหัวข้อเรียงความให้ชัดเจน นอกจากนี้ก่อนลงมือเขียนควรมีการวางโครงเรื่อง เพื่อช่วย ให้เนื้อหาเรียงความมีเอกภาพไม่ออกนอกเรื่องและสามารถนาเสนอความคิดได้เป็นลาดับ ไม่สับสน กกกก ๑.๔ สรุป(ความลงท้าย) เป็นข้อความย่อหน้าสุดท้ายทาหน้าที่ปิดเรื่องชี้ให้เห็น สาระสาคัญท่ีสุดของเร่ือง และยังทาหน้าที่สนองจุดประสงค์ของผู้เขียนให้แจ่มชัด โดยมี ความยาวใกลเ้ คียงกบั คานา วธิ ีการเขยี นบทสรุป มดี งั นี้ ๑.๔.๑ สังเขปความทัง้ หมดท่นี าเสนอในโครงเรื่องอยา่ งยอ่ ให้ได้สาระสาคัญอย่าง ชัดเจน ๑.๔.๒ นาส่วนสาคญั ทส่ี ุดของตวั เรอื่ งมากล่าวยา้ เพ่อื สะกดิ ในผู้อา่ น ๑.๔.๓ เลอื กสภุ าษติ คาคมหรือคากล่าวที่น่าเชอ่ื ถืออ่นื ๆ มาเปน็ ส่วนสรุป ๑.๔.๔ ฝากขอ้ คดิ แกผ่ ้อู ่านเพอ่ื ใหน้ าไปคิดหรอื ปฏบิ ัติเมอื่ มีโอกาส ๑.๔.๕ ทิง้ คาถามให้ผู้อา่ นใครค่ รวญต่อไปโดยไม่จาเป็นตอ้ งเสนอข้อยุติ
๑๒ ๒. จุดประสงคข์ องกำรเขียนเรยี งควำม มี ๔ ประเภท ๒.๑ เพือ่ โน้มน้าวใจผอู้ ่านให้เชือ่ ถือหรอื คลอ้ ยตามแนวคดิ ของผู้เขียน ๒.๒ เพือ่ ให้ข้อเท็จจรงิ แกผ่ ู้อ่าน ๒.๓ เพื่อใหค้ วามบันเทิงแก่ผูอ้ ่าน ๒.๔ เพื่อส่งเสริมให้ผอู้ ่านใช้ความคิดของตนให้กวา้ งขวางยิ่งข้นึ ๓. โวหำรในกำรเขียน โวหาร หมายถึง วิธีการเขียนเรียบเรียงข้อความให้สอดคล้องกับเนื้อเร่ือง โวหาร ท่ีใช้ในการเขียนเรียงความ ได้แก่ พรรณนาโวหาร บรรยายโวหาร อุปมาโวหาร เทศนา โวหาร เทศนาโวหาร สาธกโวหาร และอธิบายโวหาร ๓.๑ พรรณนาโวหาร หมายถึง การเรียบเรียงข้อความโดยให้รายละเอียดเก่ียวกับ บคุ คล ส่งิ ของ ธรรมชาติ สภาพแวดลอ้ ม ตลอดจนความรู้สึกต่าง ๆ ของผูเ้ ขียน โดยเนน้ ให้ ผู้อา่ นเกดิ อารมณค์ วามรสู้ ึกรว่ มกบั ผู้เขียน ยกตวั อยา่ งเชน่ “สมใจเป็นสาวงามที่มีลาแขนขาวผ่องทั้งกลมเรียวและอ่อนหยัด ผิวขาวละเอียด เช่นเดยี วกับแขน ประกอบด้วยหลังมอื อวบนนู น้ิวเลก็ เรียว หลังเลบ็ มสี ีดงั กลีบดอกบัวแรก แยม้ ” ๓.๒ บรรยายโวหาร หมายถึง การเขียนอธิบายหรือบรรยายเหตุการณ์ที่เป็น ข้อเท็จจริงตามลาดับเหตุการณ์ เป็นการเขียนตรงไปตรงมา ไม่เย่ินเย้อ มุ่งความชัดเจน เพ่ือให้ผู้อ่านได้รับความรู้ ความเข้าใจ เช่น การเขียนเล่าเรื่อง เล่าเหตุการณ์ การเขียน รายงาน เขยี นตาราและเขียนบทความ “ช้างยกขาหน้าให้ควาญเหยียบข้ึนนั่งบนคอ ตัวมันสูงใหญ่ ใบหูไหวพะเยิบ หญิง บนเรอื นลงบันไดมาข้างลา่ ง เธอชแู ขนยน่ื ผ้าขาวมา้ และข้าวหอ่ ใบตองขน้ึ มาให้เขา” ๓.๓ อุปมาโวหาร หมายถึง การเขียนเป็นสานวนเปรียบเทียบที่มีความคล้ายคลึง กัน เพื่อทาให้ผู้อ่านเกิดความเข้าใจลึกซึ้งยิ่งข้ึน โดยการเปรียบเทียบสิ่งของที่เหมือนกัน เปรียบเทียบโดยโยงความคิดไปสู่อีกส่ิงหน่ึง หรือเปรียบเทียบข้อความตรงกันข้ามหรือ ข้อความที่ขัดแยง้ กนั
๑๓ “อนั ว่าแก้วกระจกรวมอย่กู ับสุวรรณ ยอ่ มไดแ้ สงจับเป็นเลือ่ มพรายคล้ายมรกต ผทู้ ่ี โง่เขลาแม้ไดอ้ ยใู่ กล้นกั ปราชญ์ กอ็ าจเปน็ คนเฉลยี วฉลาดได้ฉนั เดยี วกัน” ๓.๔ เทศนาโวหาร หมายถึง การเขียนอธิบาย ช้ีแจงให้ผู้อ่านเข้าใจ ชี้ให้เห็น ประโยชน์หรือโทษของเรื่องที่กล่าวถึง เป็นการชักจูงให้ผู้อื่นคล้อยตาม เห็นด้วยหรือเพ่ือ แนะนาสัง่ สอนปลกุ ใจหรอื เพื่อใหข้ อ้ คิดคตเิ ตอื นใจผู้อา่ น “การทาความดีน้ัน เมื่อทาแล้วก็แล้วกัน อย่าได้นามาคิดถึงบ่อย ราวกับว่าการทา ความดีนั้นช่างยิ่งใหญ่นัก ใครก็ทาไม่ได้เหมือนเรา ถ้าคิดเช่นน้ันความดีนั้นก็จะเหลือเพียง คร่ึงเดียวแต่ถา้ ทาแล้วกไ็ ม่น่านามาใส่อีก คิดแต่จะทาอะไรต่อไปอีกจึงจะดี จึงจะเป็นความ ดีทีสมบรู ณ์ ไมต่ กไมห่ ลน่ ” ๓.๕ สาธกโวหาร หมายถึง การหยิบตัวอย่างมาอ้างอิงประกอบการอธิบายเพื่อ สนบั สนุนขอ้ ความทีเ่ ขยี นไวใ้ ห้ผู้อา่ นเขา้ ใจ และเกดิ ความเช่ือถอื “อานาจความสตั ย์เป็นอานาจอันศักดส์ิ ิทธิ์ ไมเ่ พียงแต่จบั หวั ใจคน แม้แต่สตั วก์ ็ยังมี ความรู้สกึ ในความสตั ยซ์ ่ือ เม่อื กวนอตู ายแล้ว มา้ ของกวนอูกไ็ ม่ยอมกินหญ้ากินน้าและตาย ตามเจา้ ของไปในไม่ชา้ ไมย่ อมใหห้ ลงั ของมนั สมั ผัสกับผ้อู น่ื นอกจากนายของมนั ” ๓.๖ แบบอธิบาย หมายถึง การช้ีแจงให้ผู้อ่านทราบและเกิดความกระจ่างแจ่มแจง้ ในเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงหรือวิธีการใดวิธีการหน่ึง เช่น การอธิบายโทษของยาเสพติด วิธี ทากับข้าว ปญั หาสงั คม การจราจร คาอธิบายร้อยกรอง งานอดิเรก เปน็ ตน้ “คาว่า สลัด เป็น ภาษามลายู หมายความว่า ชอ่ งแคบในทะเล ชาวมลายูซึง่ อยตู่ าม ชายฝ่ังทะเลตอนช่องแคบมะละกาในสมัยโบราณ มักประพฤติตนเป็นโจร คอยดักปล้นเรอื สาเภาท่ีแล่นผ่านช่องแคบมะละกา ถ้าเรือสาเภาลาใดใบไม่ติดลมในคราวลมอับก็ต้องลอย กลางทะเล ชาวทะเลท่ีอยู่บนฝ่ังทะเลในช่องแคบ ซึ่งเรียกว่า ชาวสลัด ก็ถือโอกาสยกพวก ลงเรือเล็กมาล้อมตีปล้นเรือสาเภาลาน้ัน คาว่า สลัด จึงติดมาเป็นคาในภาษาไทย หมายความวา่ โจรสมุทรหรอื โจรทะเล”
๑๔ ๔. ประเภทของเรียงควำม งานเขียนประเภทเรียงความสามารถเขียนให้เป็นร้อยแก้วหรือร้อยกรองก็ได้ หากจาแนกตามลักษณะดังกล่าวก็จาแนกได้ ๒ ประเภท แต่ในท่ีนี้จะจาแนกโดยยึด เนื้อความท่จี ะเขียนเปน็ หลกั ซ่ึงจาแนกได้ ๖ ประเภทดงั นี้ ๑. เรียงควำมข้อควำมตำมนึกคิด เป็นเรียงความประเภทท่ีเม่ือผู้เขียนทราบ หัวเร่ืองที่จะเขียนแล้ว ก็เขียนตามความรู้สึกนึกคิดของตนเอง ส่วนใหญ่จะเป็นความคิดที่ ง่าย ไม่ซบั ซอ้ น กะทดั รัด ใช้ภาษาเขยี นทงี่ ่าย ๆ ๒. เรียงควำมจำกจินตนำกำร เป็นเรียงความท่ีเกิดข้ึน เม่ือผู้เขียนมองเห็น ภาพลักษณ์ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง แล้วถ่ายทอดออกมาเป็นงานเขียนได้ตามที่มองเห็นนั้น โดย จะตอ้ งอธบิ ายรายละเอียดต่าง ๆ เกย่ี วกบั ความคดิ ให้แจ่มชัด ผู้อ่านอ่านแล้วไมต่ ้องตคี วาม ให้ยงุ่ ยาก ๓. เรียงควำมแสดงควำมคิดเห็น เรียงความประเภทนี้สร้างสรรค์จากความ คดิ เห็นทเ่ี กดิ ข้นึ ในใจผูเ้ ขียน เนอ่ื งด้วยมีเหตกุ ารณ์ที่ปรากฏในสงั คมเป็นแรงผลักใหผ้ เู้ ขียนมี ความคดิ เห็นต่อส่งิ นนั้ ๔. เรียงควำมเล่ำเร่ือง เป็นเรียงความที่เกิดข้ึนเม่ือผู้เขียนไปพบรู้เห็นส่ิงใดสง่ิ หน่ึง แล้วมาเขียนเลา่ สิ่งน้นั ให้ผู้อา่ นไดร้ ับทราบ เช่น เดินทางไปที่ใดที่หน่ึง พบเหตุการณท์ ี่ เกดิ ขน้ึ ผ้เู ขยี นต้องเขียนเลา่ ความใหเ้ ปน็ ไปตามลาดับ จึงชว่ ยใหเ้ รยี งความนัน้ ชวนอ่าน ๕. เรยี งควำมเล่ำเรื่องประวตั ิบุคคล เมือ่ ผเู้ ขยี นต้องการเล่าประวตั ขิ องบุคคล สาคัญ ๆ แก่ผู้อ่านท่ีสามารถเขียนเป็นเรียงความได้ โดยเรียงลาดับเน้ือหาออกเป็นเร่ือง ๆ เพ่ือให้เขียนง่าย อ่านเข้าใจง่าย เช่น วัยเด็ก วัยศึกษา การประกอบอาชีพ ชีวิตครอบครัว และอปุ นสิ ัย ๖. เรียงควำมเล่ำเหตุกำรณ์ในชีวิต เรียงความประเภทน้ีเกิดขึ้นจากการท่ี ผู้เขยี นตอ้ งการเล่าเหตุการณ์ตน่ื เตน้ หรือประทับใจในชีวติ ให้ผู้อ่านทราบ อาจตืน่ เตน้ ตกใจ เศรา้ ใจ ภมู ิใจ เพอื่ ใหผ้ อู้ า่ นเพลิดเพลิน และไดส้ าระบ้างสมควร
๑๕ ๕. ลักษณะเฉพำะของเรียงควำม ๕.๑ เป็นเรื่องท่ีมุ่งเข้าใจเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงโดยเฉพาะ อาจเกิดจากการได้รับมอบหัว เร่อื งให้เขยี น หรือเกดิ จากความต้องการจะเขยี นเรอื่ งน้นั ๆ ของผู้เขียนกไ็ ด้ ๕.๒ อาจเขียนเร่ืองที่มีเนื้อหาสาระอยู่ในช่วงสมัยหน่ึง หรือเขียนให้เห็นพัฒนาการ ของเร่ืองน้ันจากสมัยหนึ่งมาสู่อีกสมัยหน่ึง หรือเขียนเปรียบเทียบเรื่องนั้นระหว่างช่วงสมยั กไ็ ด้ ๕.๓ ลักษณะภาษาที่ใช้จะเป็นภาษาเขียนที่เป็นแบบแผน สุภาพ ราบรื่น ไม่หวือ หวาในลักษณะชักจูงให้ผู้อ่านหรือให้กระทาสิ่งใดส่ิงหนึ่งได้ อีกทั้งต้องสุภาพ ถูกต้อง และ เหมาะสม ๕.๔ มกั มีรูปแบบในการเขียนที่กาหนดไว้อยา่ งชัดเจน เชน่ ชื่อเร่ืองตอ้ งเขียนให้โดด เด่นกลางหน้ากระดาษ เขียนหรือพมิ พ์ให้ถกู ต้อง ชดั เจน เขยี นลงบนกระดาษหน้าเดยี ว ๖. ขอ้ แนะนำในกำรเขียนเรยี งควำม ๖.๑ เน้ือความในย่อหน้าต้องเสนอความคิดท่ีเป็นประเด็นเดียวกัน มีความเป็น เอกภาพ และแต่ละย่อหน้าต้องมีความเชื่อมโยงสัมพันธ์ เรียบเรียงตามลาดับความคิดเป็น เรอื่ งเดยี วกนั ๖.๒ การเตรียมความรู้และความคิดในการเขียนเรียงความ จาเป็นต้องเลือกเขียน เรยี งความในเรอ่ื งทต่ี นเองมคี วามร้แู ละความสนใจ รวมท้ังมีขอ้ มูลในการเขยี นมากทส่ี ุด ๖.๓ การเลือกใช้ถ้อยคา ควรคานึงถึงความเหมาะสมของเร่ืองที่จะเขียน มีการใช้ โวหารประกอบ ใช้ภาษาระดบั ทางการ ส่วนภาษาพูด คาทับศัพท์ภาษาต่างประเทศ คาย่อ ไม่ควรนามาใชใ้ นการเขยี นเรียงความ ๖.๔ กลไกในการเขียนเกี่ยวกับการเขียนตัวสะกดการันต์ การเว้นวรรคตอน การเรียบเรียงถ้อยคา การใช้ภาษา การเลือกสรรคาที่เหมาะสมและถูกต้อง ส่ิงเหล่านี้เป็น ปจั จยั สาคญั ท่จี ะชว่ ยให้งานเขียนเรียงความมคี วามงดงามและนา่ ติดตามอ่านจนจบ
๑๖ แบบฝกึ ทกั ษะ กำรเขยี นเรยี งควำม
๑๗ แบบฝกึ ทักษะท่ี ๑.๑ คำช้ีแจง ใหน้ กั เรียนใส่เครอ่ื งหมายถกู () หนา้ ข้อความท่ถี กู ตอ้ ง และใส่เครื่องหมายผดิ () หน้าขอ้ ความท่ีผิด (๑๐ คะแนน) ตวั อย่ำง การเขยี นเรยี งความเนือ้ ความในแต่ละย่อหน้าตอ้ ง เสนอความคิดท่ีเป็นประเด็นแตกต่างกนั ๑. เรียงความประเภทเล่าเร่ืองเป็นเรยี งความ ทสี่ ร้างสรรคจ์ ากความคิดเหน็ ทเี่ กิดขน้ึ ในใจของ ผู้เขยี น ๒. เรียงความ คือ ข้อความหลายย่อหน้าทีบ่ รรยายหรือ อธิบายเร่ือง หรอื ความคดิ เหน็ อยา่ งไรอย่างหนง่ึ ๓. เรียงความมีส่วนประกอบท่สี าคญั คอื คานา เนื้อเรือ่ ง และสรุป
๑๘ ๔. คานาเปน็ สว่ นแรกของเรยี งความ ทาหน้าที่เปดิ ประเด็น ดงึ ดดู ความสนใจ พถิ ีพิถนั คานึงถงึ เร่ืองทีต่ นจะ เขียน เนน้ ศลิ ปะในการใช้ภาษา ๕. เนอื้ เร่ืองเปน็ ส่วนสั้นทีส่ ดุ ของเรยี งความ ประกอบดว้ ย ความรู้ ความคิด และข้อมลู ทีผ่ เู้ ขยี นคน้ คว้า และเรียบเรยี ง อยา่ งเป็นระบบ ระเบียบ ๖. เน้อื หาในแต่ละยอ่ หน้าของเรียงความจะตอ้ งมี ความสัมพนั ธ์เกย่ี วเนอ่ื งกนั โดยตลอดทง้ั เรอ่ื ง ๗. เน้ือหาในเรียงความต้องเก่ยี วเนือ่ งสมั พันธก์ ันตลอดทัง้ เรือ่ ง โดยจะต้องมีการวางโครงเรอ่ื งท่ดี ี จดั ลาดบั ยอ่ หนา้ อยา่ งมีระบบ ระเบียบ เรยี บเรียงด้วยคาเชือ่ มทีเ่ หมาะสม
๑๙ ๘. เรียงความเป็นงานเขียนรอ้ ยกรองชนิดหน่งึ ท่ี ผ้เู ขยี นมงุ่ ถ่ายทอดเรื่องราว ความรู้ ความคดิ และทัศนคติ ในเรอื่ งใดเร่ืองหน่งึ ด้วยถ้อยคาสานวนทเ่ี รียบเรียงอยา่ งมี ลาดบั ข้ันและสละสลวย ๙. คานาเปน็ ส่วนที่ผเู้ ขยี น เขียนทิ้งทา้ ย ให้ผู้อ่านเกดิ ความประทับใจ สอดคล้อง กบั เร่ืองท่ีเขยี น กระชับรดั กุม ๑๐. เนือ้ เร่อื งเรียงความ เปน็ ข้อความตอ่ จากเน้อื หาทาหน้าทข่ี ยายใจความของเนือ้ หาให้ ละเอียดแจ่มแจ้ง
๒๐ แบบฝกึ ทักษะท่ี ๑.๒ คำชแี้ จง ใหน้ กั เรยี นโยงเสน้ จับคู่รายละเอยี ดของการเขยี นเรียงความใหถ้ กู ต้อง (๑๐ คะแนน) ตวั อย่ำง เรยี งความเล่าเรือ่ งประวัตบิ ุคคล ผู้เขียนตอ้ งการเลา่ ประวัติของบุคคล สาคัญ ๆ แกผ่ ูอ้ า่ น ๑. เนอ้ื เร่ืองเรยี งความ การชแี้ จงให้ผอู้ ่านเกดิ ความกระจ่าง แจม่ แจ้งในเรือ่ งใดเร่อื งหน่ึง ๒. เรยี งความข้อความตามนึกคดิ การหยิบตัวอย่างมาอ้างองิ ประกอบ เพอื่ สนับสนุนขอ้ ความทเ่ี ขียนไวใ้ ห้ ผู้อ่านเข้าใจ ๓. อธิบาย ย่อหน้าอาจมไี ด้หลายย่อหน้า ๔. สาธกโวหาร มากหรือนอ้ ยแล้วแต่ผู้เขยี น ผเู้ ขยี นทราบหัวเร่ืองทจี่ ะเขยี น แล้วเขยี นตามความรู้สกึ นึกคดิ ของตนเอง
๕. อุปมาโวหาร ๒๑ ๖. พรรณนาโวหาร ส่วนเกรน่ิ เข้าสู่เน้อื เร่อื งและปูพน้ื ฐาน ๗. คานา ความเขา้ ใจให้แก่ผู้อ่าน ๘. บรรยายโวหาร สนองจดุ ประสงค์ของผู้เขยี นใหแ้ จม่ ชัด ๙. สรุป ๑๐. เรยี งความเล่าเหตกุ ารณ์ การเขยี นอธิบายเหตุการณท์ เี่ ป็น ข้อเท็จจรงิ ตามลาดบั เหตกุ ารณ์ การเขยี นสานวนเปรียบเทียบทมี่ คี วาม คลา้ ยคลึงกนั เพ่ือทาใหผ้ ู้อ่านเกิดความ เขา้ ใจลกึ ซงึ้ ผู้เขยี นเล่าเหตุการณต์ นื่ เต้นหรอื ประทบั ใจในชีวติ ใหผ้ อู้ า่ นทราบ การเรียบเรียงขอ้ ความโดยให้ รายละเอียดเกย่ี วกับบคุ คล ส่ิงของ ฯลฯ
๒๒ แบบฝกึ ทักษะท่ี ๑.๓ คำช้แี จง ให้นกั เรียนเขยี นเรียงความจากภาพที่กาหนดให้ พรอ้ มทั้งตั้งชอื่ เรอื่ งใหเ้ หมาะสม (๑๐ คะแนน) ชื่อเร่อื ง ………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………......
๒๓ …………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………
๒๔ แบบฝกึ ทกั ษะที่ ๑.๔ คำชแี้ จง ใหน้ ักเรียนเขียนเรียงความเกีย่ วกับการทาผา้ หม้อหอ้ ม พรอ้ มกบั ตัง้ ชือ่ เรอื่ ง (๑๐ คะแนน) คำถำมเพ่ือเปน็ แนวทำง ในกำรเขยี น - ประวัตคิ วามเปน็ มาของผ้าหม้อห้อม - วตั ถดุ ิบการทาผ้าหม้อห้อม - ขนั้ ตอนการทาวตั ถดุ ิบ - ขนั้ ตอนการทาผา้ หมอ้ ห้อม - การวางจาหน่าย
๒๕ ช่ือเร่อื ง ………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..…
๒๖ แบบฝกึ ทกั ษะท่ี ๑.๕ คำช้แี จง ใหน้ กั เรียนเขียนเรยี งความเก่ยี วกับ“วถิ ชี ีวิตของชาวไทพวน”พร้อมกบั ตง้ั ช่อื เร่อื ง ชอ่ื เร่ือง ……………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..…
๒๗ แบบทดสอบหลังเรยี น (Post-test) คำชี้แจง : ใหน้ กั เรยี นเลอื กคาตอบทีถ่ กู ตอ้ งท่ีสดุ เพยี งคาตอบเดียว แลว้ ทา เครอื่ งหมายกากบาท (×) หนา้ คาตอบข้อท่ีถกู ตอ้ ง ๑. ย่อหนา้ แรกของเรียงความ เป็นสว่ นใดของเรยี งความ ก. สรปุ ข. คานา ค. เนอ้ื เรอื่ ง ง. ส่วนขยาย ๒. ขอ้ ความในขอ้ ใด ควรใชเ้ ปน็ การข้นึ ตน้ คานาเรยี งความเร่อื งยาเสพติด ก. ยาเสพติดเปน็ ส่งิ ไมด่ ี ข. เยาวชนควรห่างไกลยาเสพตดิ ค. ตารวจจับคนขายยาเสพติดไดห้ ลายคน ง. เสียเหงื่อใหก้ ารกีฬา ดกี ว่าเสยี น้าตาใหย้ าเสพติด ๓. ข้อความในขอ้ ใดที่ ไม่ ควรกล่าวในการเปดิ เรื่อง ก. เกริ่นนาถึงความสาคัญของเร่ือง ข. กล่าวถงึ รายละเอียดของส่ิงทีเ่ ขยี นทง้ั หมด ค. กลา่ วนาโดยวิธียกข้อความของบคุ คลสาคัญ ง. ให้คาจากัดความของช่อื เร่ืองหรือสิ่งทีจ่ ะเขียน ๔. ขอ้ ใด ไม่ใช่ ศิลปะของการเขยี นเรยี งความ ก. การเลือกใช้คาทีส่ ื่อความหมายชดั เจน ข. การใช้สานวนและลีลาการเขียนที่เปน็ ของตนเอง ค. การเขยี นขอ้ ความในแต่ละยอ่ หนา้ ให้สมั พันธ์สอดคล้องกนั ง. การสารวจโครงเรื่อง สรปุ และคานาให้เสนอเพียงความคดิ เดยี ว
๒๘ ๕. สว่ นทเ่ี ขียนแสดงความร้สู ึกของการเขยี นเรยี งความคอื ขอ้ ใด ก. สรุป ข. คานา ค. ช่ือเร่ือง ง. เนือ้ เร่ือง ๖. ข้อใดคือสว่ นประกอบของการเขียนเรียงความโดยเรยี งตามลาดับ ก. คานา เนื้อเร่ือง สรุป ข. เนือ้ เรื่อง คานา สรปุ ค. หัวขอ้ เน้ือเร่อื ง สรปุ ง. หวั ข้อ โครงเร่ือง เนื้อเร่อื ง ๗. การวางโครงเร่ืองก่อนเขียนเรยี งความมปี ระโยชน์อย่างไร ก. ชว่ ยกาหนดจุดประสงค์ของเรอื่ ง ข. ชว่ ยสร้างความเขา้ ใจในแต่ละยอ่ หน้า ค. ชว่ ยกาหนดขอบเขตในการเขยี นแต่ละคร้งั ง. ชว่ ยให้เนื้อหามีเอกภาพและเสนอความคิดไดต้ ามลาดบั ๘. การเลือกเรื่องเขยี นเรียงความควรใชห้ ลกั ข้อใด ก. เลือกเรือ่ งที่เคยเขยี นมาก่อน ข. เลอื กเรื่องที่มีความรูม้ ากท่ีสุด ค. เลอื กเรอ่ื งทใี่ ชโ้ วหารได้หลากหลาย ง. เลอื กเร่อื งเกีย่ วกบั ประสบการณของผู้เขียน ๙. ขอ้ ใด ไม่ใช่ หลักการเขยี นเรียงความ ก. เขยี นชดิ รมิ กระดาษ ข. วางโครงเรอ่ื งก่อนเขยี น ค. ช่อื เร่ืองและเนือ้ เร่ืองต้องสมั พนั ธก์ ัน ง. เขยี นด้วยลายมอื ที่ชดั เจนและอา่ นง่าย
๒๙ ๑๐. ข้อใดกล่าว ไม่ ถูกตอ้ ง ก. จากดั จานวนย่อหน้าเพียง ๓ ยอ่ หน้าเท่านั้น ข. เรยี งความประกอบดว้ ยบทนา เนือ้ เรือ่ ง และบทสรปุ ค. การเรยี บเรียงเนอื้ ความตอ้ งเป็นไปตามลาดบั ของโครงเรอื่ ง ง. เรยี งความต้องมีความเป็นเอกภาพ สมั พนั ธภาพ และสารตั ภาพ
๓๐ เฉลยแบบฝกึ ทักษะ กำรเขียนเรียงควำม
๓๑ แบบฝึกทกั ษะท่ี ๑.๑ คำช้ีแจง ใหน้ กั เรียนใส่เครื่องหมายถูก () หนา้ ขอ้ ความที่ถูกตอ้ ง และใส่เครื่องหมายผดิ () หน้าขอ้ ความที่ผิด (๑๐ คะแนน) ตัวอยำ่ ง การเขียนเรยี งความเนือ้ ความในแตล่ ะยอ่ หน้าตอ้ ง เสนอความคิดที่เปน็ ประเดน็ แตกต่างกนั ๑. เรียงความประเภทเล่าเร่อื งเปน็ เรียงความ ทสี่ รา้ งสรรค์จากความคิดเห็นท่ีเกดิ ขึน้ ในใจของ ผเู้ ขียน ๒. เรียงความ คอื ข้อความหลายยอ่ หนา้ ท่ีบรรยายหรือ อธิบายเรอื่ ง หรือความคดิ เห็นอย่างไรอย่างหน่งึ ๓. เรียงความมีส่วนประกอบที่สาคญั คือ คานา เนอ้ื เรอ่ื ง และสรปุ
๓๒ ๔. คานาเป็นสว่ นแรกของเรยี งความ ทาหน้าที่เปดิ ประเด็น ดึงดูดความสนใจ พถิ ีพิถัน คานงึ ถงึ เรื่องท่ีตนจะ เขียน เนน้ ศลิ ปะในการใช้ภาษา ๕. เนอ้ื เรอ่ื งเปน็ ส่วนส้นั ท่สี ุดของเรียงความ ประกอบดว้ ย ความรู้ ความคิด และขอ้ มลู ที่ผเู้ ขยี นคน้ คว้า และเรียบเรียง อย่างเป็นระบบ ระเบียบ ๖. เนื้อหาในแตล่ ะย่อหน้าของเรียงความจะต้องมี ความสัมพันธ์เก่ยี วเนอื่ งกนั โดยตลอดทงั้ เรื่อง ๗. เน้อื หาในเรียงความต้องเก่ียวเน่อื งสัมพนั ธก์ ันตลอดทง้ั เร่อื ง โดยจะตอ้ งมีการวางโครงเรือ่ งทีด่ ี จดั ลาดับยอ่ หนา้ อยา่ งมรี ะบบ ระเบียบ เรยี บเรียงดว้ ยคาเชอ่ื มทเ่ี หมาะสม 0
๓๓ ๘. เรยี งความเปน็ งานเขยี นรอ้ ยกรองชนิดหน่ึง ท่ี ผู้เขียนมุง่ ถ่ายทอดเรอ่ื งราว ความรู้ ความคิด และทัศนคติ ในเรื่องใดเรอ่ื งหนึ่ง ดว้ ยถ้อยคาสานวนทีเ่ รยี บเรยี งอยา่ งมี ลาดับขั้นและสละสลวย ๙. คานาเปน็ ส่วนท่ผี เู้ ขียน เขียนทิ้งทา้ ย ให้ผู้อา่ นเกิดความประทบั ใจ สอดคลอ้ ง กบั เรื่องที่เขยี น กระชบั รดั กุม ๑๐. เนอื้ เรือ่ งเรยี งความ เป็นขอ้ ความต่อ จากเนอื้ หาทาหน้าทขี่ ยายใจความของเนอ้ื หาให้ ละเอยี ดแจ่มแจง้
๓๔ แบบฝกึ ทักษะท่ี ๑.๒ คำชแี้ จง ใหน้ กั เรยี นโยงเสน้ จับคู่รายละเอยี ดของการเขยี นเรียงความใหถ้ กู ต้อง (๑๐ คะแนน) ตวั อย่ำง เรยี งความเล่าเรือ่ งประวัตบิ ุคคล ผู้เขียนตอ้ งการเลา่ ประวัติของบุคคล สาคัญ ๆ แกผ่ ูอ้ า่ น ๑. เนอ้ื เร่ืองเรยี งความ การชแี้ จงให้ผอู้ ่านเกดิ ความกระจา่ ง แจม่ แจ้งในเรือ่ งใดเร่อื งหน่ึง ๒. เรยี งความข้อความตามนึกคดิ การหยิบตัวอย่างมาอ้างองิ ประกอบ เพอื่ สนับสนุนขอ้ ความทเ่ี ขียนไวใ้ ห้ ผู้อ่านเข้าใจ ๓. อธิบาย ย่อหน้าอาจมไี ด้หลายย่อหน้า ๔. สาธกโวหาร มากหรือนอ้ ยแล้วแต่ผู้เขยี น ผเู้ ขยี นทราบหัวเร่ืองทจี่ ะเขยี น แล้วเขยี นตามความรู้สกึ นึกคดิ ของตนเอง
๕. อุปมาโวหาร ๓๕ ๖. พรรณนาโวหาร ส่วนเกรน่ิ เข้าสู่เน้อื เร่อื งและปูพน้ื ฐาน ๗. คานา ความเขา้ ใจให้แก่ผู้อ่าน ๘. บรรยายโวหาร สนองจดุ ประสงค์ของผู้เขยี นใหแ้ จม่ ชัด ๙. สรุป ๑๐. เรยี งความเล่าเหตกุ ารณ์ การเขยี นอธิบายเหตุการณท์ เี่ ป็น ข้อเท็จจรงิ ตามลาดบั เหตกุ ารณ์ การเขยี นสานวนเปรียบเทียบทมี่ คี วาม คลา้ ยคลึงกนั เพ่ือทาให้ผู้อ่านเกิดความ เขา้ ใจลกึ ซงึ้ ผู้เขยี นเล่าเหตุการณต์ นื่ เต้นหรอื ประทบั ใจในชีวติ ใหผ้ อู้ า่ นทราบ การเรียบเรียงขอ้ ความโดยให้ รายละเอียดเกย่ี วกับบคุ คล ส่ิงของ ฯลฯ
๓๖ แบบฝึกทกั ษะท่ี ๑.๓ คำชีแ้ จง ให้นกั เรียนเขยี นเรยี งความจากภาพท่ีกาหนดให้ พร้อมทงั้ ต้ังช่ือเร่อื งให้เหมาะสม (๑๐ คะแนน) ชือ่ เรื่อง ………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………พ……จิ……ำ……ร……ณ……ำ……ค……ำต……อ……บ……ข……อ……ง……น……กั เ……ร……ียน…………โด……ย……ใ……ห……อ้ ……ย……ู่ใน……เ……กณ…………ฑ……์ค……ะแ……น……น……ก……ำ……ร……เข……ยี ……น……เร……ีย……งค……ว……ำ……ม…………………… ………ท…ี่ก…ำ…ห…น…ด………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………….
๓๗ เกณฑ์กำรให้คะแนนกำรเขยี นเรยี งควำม คะแนน 2 เกณฑก์ ำรใหค้ ะแนน 5 การตง้ั ชือ่ เร่ืองสอดคล้องกบั รปู ภาพทีก่ าหนด เนอื้ หาสอดคล้องกับชื่อเร่ืองและรปู ภาพทก่ี าหนด ช้ีใหเ้ ห็น 3 ความสาคญั และประโยชน์ หลกั การเขียนที่ถกู ต้องตามองค์ประกอบของการเขยี นเรยี งความ 10 (คานา เนือ้ เร่อื ง สรปุ ) และมีการใช้ภาษาท่กี ะทัดรัด เขา้ ใจงา่ ย ชดั เจน ถกู ต้องตามหลกั ไวยากรณ์ รวมคะแนน
๓๘ แบบฝกึ ทกั ษะที่ ๑.๔ คำชแี้ จง ใหน้ ักเรียนเขียนเรียงความเกีย่ วกับการทาผา้ หม้อหอ้ ม พรอ้ มกบั ตัง้ ชือ่ เรอื่ ง (๑๐ คะแนน) คำถำมเพ่ือเปน็ แนวทำง ในกำรเขยี น - ประวตั คิ วามเปน็ มาของผ้าหม้อห้อม - วตั ถดุ ิบการทาผ้าหม้อห้อม - ขนั้ ตอนการทาวตั ถดุ ิบ - ขนั้ ตอนการทาผา้ หมอ้ ห้อม - การวางจาหน่าย
๓๙ ชอื่ เรื่อง …………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… ………พ…ิจ…ำ…ร…ณ…ำ…คำ…ต…อ…บ…ข…อ…งน…ัก…เ…ร…ยี น……โด…ย…ใ…ห…้อ…ย…ู่ใน…เ…กณ……ฑ…ค์ …ะแ…น…น…ก…ำ…ร…เข…ยี …น…เร…ีย…ง…คว…ำ…ม……..… ………ท…ี่ก…ำ…ห…น…ด……………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..…
๔๐ เกณฑ์กำรให้คะแนนกำรเขียนเรยี งควำม คะแนน 2 เกณฑ์กำรให้คะแนน 5 การตง้ั ชื่อเร่อื งให้สอดคลอ้ งกบั ประเด็นทีก่ าหนด เนื้อหาสอดคล้องกบั ชื่อเรื่องทีก่ าหนด ชีใ้ ห้เห็นความสาคัญและ 3 ประโยชน์ หลักการเขียนท่ีถูกต้องตามองคป์ ระกอบของการเขียนเรียงความ 10 (คานา เน้ือเรอื่ ง สรปุ ) และมีการใช้ภาษาท่กี ะทดั รดั เข้าใจง่าย ชัดเจน ถกู ตอ้ งตามหลักไวยากรณ์ รวมคะแนน
๔๑ แบบฝกึ ทักษะที่ ๑.๕ คำชีแ้ จง ใหน้ ักเรียนเขียนเรียงความเกีย่ วกับ“วิถชี วี ิตของชาวไทพวน”พร้อมกับตงั้ ช่ือเรอ่ื ง ชอ่ื เรือ่ ง …………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… ……………พ…จิ …ำ…ร…ณ…ำ…ค…ำต…อ…บ…ข…อ…ง…นกั…เ…ร…ยี น……โด…ย…ใ…ห…อ้ …ย…่ใู น…ด…ุล…ย…พ…ิน…จิ …ข…อง…ค…ร…ูผ…สู้ …อ…น………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………..…
๔๒ เกณฑ์กำรให้คะแนนกำรเขียนเรยี งควำม คะแนน 2 เกณฑ์กำรให้คะแนน 5 การตง้ั ชื่อเร่อื งให้สอดคลอ้ งกับประเด็นทีก่ าหนด เนื้อหาสอดคล้องกบั ชื่อเรื่องทีก่ าหนด ชีใ้ ห้เห็นความสาคัญและ 3 ประโยชน์ หลักการเขียนท่ีถูกต้องตามองคป์ ระกอบของการเขียนเรียงความ 10 (คานา เน้ือเรอื่ ง สรปุ ) และมีการใช้ภาษาท่กี ะทดั รดั เข้าใจง่าย ชัดเจน ถกู ตอ้ งตามหลักไวยากรณ์ รวมคะแนน
๔๓ เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน (Pre-test) เร่ือง กำรเขียนเรยี งควำม ๑. ข ๖. ก ๒. ก ๗. ข ๓. ก ๘. ข ๔. ก ๙. ง ๕. ค ๑๐. ข
๔๔ เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน (Post-test) เรอ่ื ง กำรเขียนเรยี งควำม ๑. ข ๖. ก ๒. ง ๗. ค ๓. ข ๘. ข ๔. ก ๙. ก ๕. ข ๑๐. ก
๔๕ บรรณำนกุ รม ธวชั วันชูชาติ. แบบฝกึ เสรมิ ทักษะการเขยี นเรียงความ. กกกก กก นครราชสมี า : สวุ รี ิยาสาสน์ , ๒๕๕๓. ฟองจันทร์ สุขย่ิง. หลกั ภาษาและการใชภ้ าษาไทย. กกกกกกก กรุงเทพมหานคร : อกั ษรเจรญิ ทศั น์, ๒๕๕๘ วรรณี โสมประยรู . เทคนิคการสอนภาษาไทย. กรุงเทพมหานคร : กกกกกกกยแู พดอินเตอร์, ๒๕๕๓ สุนันทา สนุ ทรประเสริฐ. การสร้างสอ่ื การสอนและนวัตกรรม กกกกกกกการเรยี นรู้สู่การพฒั นาผู้เรียน. ราชบุรี : ธรรมรักษ์ กกกกกกกการพิมพ,์ ๒๕๕๗
๔๖
Search
Read the Text Version
- 1 - 46
Pages: