ความเชือ่ ของชนในชมพูทวีปนั้นเป็นการพัฒนาการทางด้านความคิด โดยผ่านยคุ สมัยมาโดยลาดบั แบ่งออกเปน็ 3 กลุม่ 1. กล่มุ ที่นับถือธรรมชาติเป็นใหญ่ แบ่งออกเปน็ 2 กล่มุ ย่อย ได้แก่ ➢ กลุ่มทีน่ ับถือธรรมชาติเบื้องต่า ได้แก่ แผ่นดิน ภเู ขา ต้นไม้ แม่น้า ➢ ผ้ทู ี่นบั ถือ คือ กล่มุ ของพวกดราวิเดียนหรือมิลกั ขะ ➢ ลกั ษณะความเชือ่ คือ เชื่อว่าปรากฏการณ์ธรรมชาติ เช่น แผ่นดินไหว ภเู ขาไฟระเบิด ล้วนแล้วแต่มีเทพเจ้าเป็นผู้กระท้าให้ เกิดขึน
➢ กลุม่ ที่นบั ถือธรรมชาติเบือ้ งบน ได้แก่ พระอาทิตย์ พระจนั ทร์ ท้องฟ้า ลม ฝน ➢ ผทู้ ี่นบั ถือ คือ กลุ่มของพวกอารยันบางกล่มุ ➢ ลกั ษณะความเชือ่ คือ เมือ่ เกิดปรากฏการณ์ต่างๆ เช่น ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า จนั ทรปุ ราคา อาทิตย์ทรงกรด จะคิดว่าเป็นอ้านาจของเทพเจา้ ดลบันดาลให้เป็นไป ความเชื่อทั้งสองกลมุ่ นาไปส่กู ารทาพิธีบชู าเทพเจ้าเหลา่ นั้น ตามความ เชือ่ ในรปู แบบตา่ งๆ เพือ่ ให้เกิดความผาสกุ ความอุดมสมบรู ณส์ มบูรณ์ ความอยรู่ อดปลอดภัยในหมูค่ ณะของตนเอง
2. กลมุ่ ที่มีความเชื่อในคาสอนและพิธีกรรมของพราหมณ์ พราหมณ์ คือ ผู้น้าค้าสอนของพระพรหมมาประกาศ เปน็ ผู้ตดิ ต่อกับ เทพเจ้า วรรณะพราหมณจ์ ึงมีอิทธิพลสงู สุดต่อชาวชมพทู วีป พราหมณไ์ ด้แต่งคัมภีร์ซง่ึ ได้บญั ญัติถงึ อ้านาจและวิธกี ารปฏิบัติตนตอ่ เทพเจ้าแตล่ ะองค์ไวอ้ ย่างเหมาะสม ประกอบด้วย 3 คมั ภีร์ เรียกว่า คัมภรี ์ไตรเพท หรือ ไตรเวท พระเวท ซึ่งได้แก่ • ฤคเวท เป็นคา้ อ้อนวอนขอพรจากเทพเจ้า และประจบเอาใจเทพเจ้า สวด สรรเสริญเทพเจ้าต่างๆ ให้ค้มุ ครองตน สัตว์เลยี ง และครอบครัว • ยชุรเวท เปน็ หลักการในการท้าพิธีกรรมและบวงสรวงเทพเจา้ ตา่ งๆ • สามเวท เปน็ คา้ สวดในพิธีบูชาถวายนา้ โสมแก่พระอินทร์และขับกล่อมเทพเจ้า ต่อมามีการสร้างอีก 1 คมั ภีร์ นั่นคือ อาถรรพเวท เปน็ คาถาอาคม มนต์ขลงั หรือแก้เสนียดจัญไร ป้องกนั สรรพภยั พิบตั ิต่างๆ น้าสิ่งที่เป็นมงคลแก่ผู้สวด และน้า ผลร้ายมาให้แก่ศัตรู
❖ กล่มุ ที่เชื่อคมั ภีร์และค้าสอนของศาสนาพราหมณ์นี เป็นพวกที่นบั ถือเทพเจ้าหลาย องค์ โดยนบั ถือพระพรหม เป็นผสู้ ร้างโลกและสรรพสิ่ง ทุกสิง่ อย่างเกิดขึน เพราะพระพรหมเป็นผ้ลู ิขิตเอาไว้ มนษุ ย์จะสขุ หรือทกุ ข์เปน็ พระพรหมกา้ หนด เอาไว้ทังสิน นอกจากนียังนับถอื พระนารายณ(์ พระวิษณุ) เป็นผูป้ กปักรักษา โลก นบั ถือพระศิวะ(พระอิศวร)ซึ่งเปน็ ผู้ทาลายโลก ดังนันจึงมีการประกอบพิธี บชู ายญั ต่อเทพเจ้าที่แตกตา่ งกนั ออกไป สิ่งทีใ่ ช้บูชายัญ อาจเปน็ สัตว์ เช่น แพะ แกะ ไก่ หรือแม้แต่ มนษุ ย์ ก็มี ทังนเี พื่อให้เทพเจ้าทีต่ นนับถือโปรดปรานและ ประทานความสขุ สวสั ดิใ์ ห้แก่ผ้บู ชู าน่นั เอง
3. กลุม่ ทีม่ ีความเชื่อในปรชั ญาหรือคาสอนของเจา้ ลทั ธิ คือ พวกที่มีความเชื่อในเรือ่ งของชีวิตและโลกแตกต่างไปจากพราหมณ์ ก่อเกิด เป็นลัทธิต่างๆถึง 336 ลทั ธิ แต่ลทั ธิทีเ่ ด่น มีอิทธิพลมาก ได้แก่ ลทั ธิครูทังหก ซึง่ อยู่ร่วม สมัยกบั พระพทุ ธเจ้า เนอื หาคา้ สอนหรือแนวคิดของครทู ังหก นบั ได้ว่าเจ้าลทั ธิเหล่านี มีความคิดเปน็ อิสระเฉพาะตน มีความเชื่อมน่ั ในความคิดของตน แนวค้าสอนไม่มี ลักษณะที่มีอย่ใู นคัมภีร์พระเวท แต่ลัทธิทีเ่ ด่นทีส่ ดุ จนถึงปจั จุบันก็ยงั มีคนอินเดียนับถอื อย่างไม่เปลีย่ นแปลง คือ “นิครนถ์นากบุตร” หรือมหาวีระ ศาสดาของศาสนาเชน
เนื้อหาโดยสรุปของลทั ธิอิสระ 6 ลัทธิ สรุปไดด้ ังนี้ ➢ ลทั ธิปรู ณะกัสสปะ มีความเห็นว่า บญุ บาปไม่จริง การกระทา้ ใดๆ ไม่ว่าดี เลว จะไม่มีผลอะไรตอบสนอง ➢ ลัทธิมักขลิโคศาล มีความเห็นว่า ความบริสุทธิแ์ ละความมวั หมอง ไม่มี เหตุ ไม่มีปัจจัย สัตว์ทงั หลายบริสทุ ธิ์ และเศร้าหมองเองตามธรรมชาติ ท้าดีท้า ชว่ั ไม่มีผล ทุกสิ่งทุกอย่างขึนอย่กู บั ความบงั เอิญ โชควาสนา ➢ ลทั ธิอชิตเกสกัมพล มีความเหน็ ว่า คนไม่มี สัตว์ไม่มี การบชู าบวงสรวงก็ไร้ ผล โลกนีไม่มีโลกหน้าไม่มี ตายแล้วขาดสูญ
➢ ลัทธิปกธุ กัจจายนะ มีความเห็นว่า สิ่งที่เที่ยงแท้มีอยู่ 7 อย่าง คือ ดิน นา้ ลม ไฟ ลม สขุ ทกุ ข์ และชีวะไม่ผันแปรเป็นอย่างอืน่ มีอย่อู ย่างไรก็อยู่อย่างนนั ➢ ลทั ธินิครนถน์ าฏบุตร มีความเหน็ ว่า การทรมานกายให้ลา้ บากด้วยวิธตี า่ งๆ เป็นทางหลดุ พ้น คือการไม่เบียดเบียน ไม่มีสมบัติที่จะครอบครอง ประพฤติตน สันโดษ เชือ่ ว่าการทรมานกายจะท้าให้หลดุ พ้นทกุ ข์ ➢ ลทั ธิสัญชยั เวลฏั ฐบุตร เปน็ ลัทธิที่ไม่ติดกบั ทรรศะใดๆ เป็นลทั ธิลื่นไหลไม่ ตายตัวแน่นอน
Search
Read the Text Version
- 1 - 8
Pages: