แบบสำรวจและจดั ฐำนข้อมูลมรดกภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม ของสภำวัฒนธรรมจงั หวัดพังงำ ๑. ชื่อรำยกำรมรดกภูมปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม ช่ือรายการ เพลงบอก ช่อื เรียกในท้องถิ่น เพลงบอก ชอื่ ภาษาอื่น (ถา้ มี) ๒. ประเภทมรดกภูมิปญั ญำทำงวฒั นธรรม รายการตวั แทนมรดกภูมิปญั ญาทางวฒั นธรรม (มีการปฏบิ ัตอิ ยา่ งแพร่หลาย) รายการมรดกภมู ปิ ญั ญาทางวฒั นธรรมท่ตี ้องไดร้ บั การส่งเสริมและรักษาอย่างเรง่ ดว่ น (เสี่ยงตอ่ การสญู หาย) ๓. ลักษณะมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวฒั นธรรม (ตอบได้มากกวา่ ๑ หัวข้อ) วรรณกรรมพื้นบ้านและภาษา ศิลปะการแสดง แนวปฏิบัตทิ างสงั คม พธิ ีกรรม ประเพณี และเทศกาล ความรู้และการปฏิบัติเก่ียวกับธรรมชาติและจกั รวาล งานชา่ งฝีมือดั้งเดิม การเลน่ พนื้ บ้าน กฬี าพน้ื บา้ นและศิลปะการต่อสู้ป้องกันตวั ๔. ประวตั ิควำมเป็นมำและรำยละเอยี ดมรดกภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม ประวัติควำมเปน็ มำของกำรรอ้ งเพลงบอก ปจั จุบนั เพลงบอกบา้ นลาปี-ทับปลามเี พยี งชิงอยา่ งเดยี ว เพลงบอกมีความเป็นมา ดังนี้ เพลงบอกสืบทอดกันมาจากบรรพบุรุษไม่ทราบท่ีมาท่ีไป ยายเบยหรือนางมอย นาวารักษ์ เป็นผู้สืบทอด มา จาก พอ่ เฒา่ คอื เฒ่าวายกับเฒา่ ขวดั ยายเบย ทาพธิ รี ับการสบื ทอดขณะนนั้ อายุ 12 ปี พร้อมกบั ป้าตุ้ม ในการมอบรบั เพลงบอกใช้หมาก พลู โดยมีการบริกรรมคาถา และมอบใหน้ ักร้องเพลงบอก ยายเบยกับป้าตุ้มสองคนนี้ไม่รู้หนังสือแต่รับการสืบทอดโดยการให้กินหมากท่ีบริกรรมคาถาคนละคา เมือ่ กินเข้าไปจะทาให้รอ้ งเพลงบอกไดด้ ้วยดี เปรียบเสมือนครูเพลงบอกมาประทับร่างจะร้องเพลงไดโ้ ดยไมร่ สู้ ึกตัวการ ร้องเพลงบอกจะรอ้ งในเดอื น 5 เพยี ง 1 เดือน มขี ้อห้าม คอื แรม 1 คา่ และข้นึ 1 ค่าห้ามไปร้อง เพลงบอก - โบราณถือเปน็ วนั ไม่ดี - หากไปรอ้ งจะทาให้เกดิ เภทภยั ขน้ึ กบั ตัวเองและครอบครวั กำรร้องเพลงบอก 1. สมัยโบราณการร้องเพลงบอก ชาวเลจะนา กุ้ง หอย ปู ปลา ไปแลกข้าวสาร อาหารแห้ง เสื้อผ้า เม่ือไปถึง บ้านก็จะร้องเพลงบอก เพื่อเป็นสัญลักษณ์ว่ามีคณะเพลงบอกมา เพ่ือนาสิ่งของมาแลกเปล่ียน ให้เจ้าของบ้านออกมา รับชมรับฟัง หากมีส่ิงของก็จะนามาแลกเปล่ียน ถ้าเกิดเจ้าของบ้านมีความพึงพอใจ จะจัดสารับอาหารให้ทานด้วย พร้อมใหส้ ิ่งของและเงนิ เป็นรางวัล ส่วนปัจจุบันน้ัน อาหารทะเล กุ้ง หอย ปู ปลา มนี ้อยพาไปหลังสองหลังก็หมดแล้ว ขาดความรู้การปฏิบัติของคนรุ่นก่อนที่ถูกต้อง ท้ังชุมชนภายในและภายนอก ซึ่งยังคงมีการร้องเพลงบอกอยู่เป็น ประปราย แตก่ ็ยังเข้าใจในข้นั ตอนท่ีปฏิบตั ิท่ีไม่ถูกต้อง
2. การร้องเพลงบอกเพอ่ื ไปร้องแกบ้ น - กรณีเกิดมีการเจ็บป่วยไม่สบายรักษาไม่หาย ก็พึ่งพาความเชื่อโดยการบนบานว่าให้หาย หากหาย จะนาเพลงบอกมารอ้ งแก้บนในเดือน 5 โดยครเู พลงทาพิธผี ูกขอ้ ไม้ขอ้ มือปัดเปา่ ให้ โดยมกี ารบริกรรมคาถา - โดยพวกแฉ่มจะมีความเชื่อและเกรงกลัวชาวเล เชื่อว่าชาวเลเป็นผู้บรสิ ุทธิ์ ซ่ือสัตย์ หากเกิดชาวเลสาปแช่ง จะเป็นไปตามคาสาปแชง่ น้นั 3. การร้องเพลงบอกที่บุคคลภายนอกชอบ เพราะเป็นการร้องสรรเสริญเยินยอเจ้าของบ้านและเม่ือ มกี ารรับสง่ิ ของแล้ว จะมกี ารร้องเพลงบอกใหพ้ รตา่ งๆ ซึ่งไพเราะน่าฟงั ๕. พื้นที่ปฏิบัติมรดกภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม (พ้ืนท่ีท่ีปรากฏหรือชุมชนท่ีมีการปฏิบัติมรดกภูมิปัญญาทาง วฒั นธรรม) ชมุ ชนบา้ นทบั ปลา หมทู่ ่ี ๘ ตาบลท้ายเหมือง อาเภอทา้ ยเหมือง จังหวัดพงั งา ๖. คุณค่ำและควำมสำคัญของมรดกภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรมในแต่ละระดับ (เช่น ระดับปัจเจกบุคคล/ ระดับครอบครวั /ระดับชุมชนทอ้ งถนิ่ /ระดับจงั หวดั /ระดับประเทศ เป็นต้น) ระดับชุมชนท้องถ่ิน ๗. รำยชื่อผู้สืบทอด / ผคู้ รอง / ผู้ทมี่ ีส่วนเก่ียวขอ้ งหลักในปจั จุบัน รำยช่ือบุคคล/หัวหนำ้ คณะ/ อำย/ุ อำชีพ ทีอ่ ยู่ (สถำนทตี่ ิดต่อ) / หมำยเลขโทรศพั ท์ กลุม่ /สมำคม/ชมุ ชน ๘. ปัจจุบันรำยกำรมรดกภมู ิปญั ญำทำงวฒั นธรรมไดร้ บั กำรประกำศข้นึ บัญชีในระดับใด ยังไม่เคยไดร้ ับการประกาศข้นึ บัญชี (รายการสารวจและจัดเก็บใหม่) ระดบั จงั หวัด (รายการเบอ้ื งต้นมรดกภูมปิ ญั ญาทางวัฒนธรรม) ระดบั ชาติ ระดับนานาชาติ (ยเู นสโก) ๙. จำกขอ้ ๘ ควรจะเสนอรำยกำรมรดกภูมิปญั ญำทำงวัฒนธรรมให้ได้รบั กำรประกำศขนึ้ บัญชีในระดบั ใด สารวจและจัดเกบ็ เท่าน้ัน (ยงั ไม่ควรไดร้ ับการประกาศขนึ้ บัญชี) ระดบั จงั หวัด (รายการเบือ้ งต้นมรดกภูมปิ ัญญาทางวัฒนธรรม) ระดบั ชาติ ระดบั นานาชาติ (ยูเนสโก) ๑๒. เอกสำรอำ้ งอิงและ/หรือผลงำนท่ีเกี่ยวข้องในกำรส่งเสรมิ และรกั ษำมรดกภมู ิปัญญำทำงวัฒนธรรม หนังสอื และวำรสำร ที่มา :
๑๓. รปู ภำพกำรทำขนมหมั่วหลำว พร้อมคำอธิบำยใตภ้ ำพ จำนวน ๑๐ ภำพ ๑. พิธเี ปดิ โครงการจดั งานอนุรกั ษเ์ ตา่ ทะเล จงั หวัดพังงา ประจาปี 2564 ระหวา่ งวนั ท่ี 12-13 เมษายน 2564 ๒.การแสดงกจิ กรรมต่างๆภายในงาน
๓. พ้นื ที่ในการจดั งาน บรเิ วณหาดท้ายเหมือง อาเภอท้ายเหมอื ง จังหวัดพังงา ๔. รถขบวนแหต่ ่างๆ ท่ปี ระดับประดาดว้ ยความสวยงามและเลา่ ขานถึงชมุ ชนในพ้นื ท่ี
๕. ขบวนรถเตา่ ยักษ์ ๖. ผูค้ นให้ความสนใจจากนกั ทอ่ งเที่ยวทั้งชาวไทยและ ตา่ งชาตเิ ปน็ จานวนมาก
๗. ผ้วู า่ ราชการจังหวัดพังงาเป็นประธานในการเปิดโครงการและร่วมกจิ กรรมการปล่อยเต่า ๘. บรเิ วณชายหาดทา้ ยเหมอื งน้ันเป็นแหลง่ วางไขข่ องเตา่ ทะเลหายาก ถึง 4 ชนิด
๙.การปล่อยเตา่ เปน็ การอนุรักษเ์ ต่าทะเลจังหวดั พังงา ๑๐. ลักษณะของเตา่ ตนุ ๑๔. ข้อมลู ภำพถำ่ ย ข้อมลู ภำพเคล่ือนไหว หรือข้อมูลเสียง (ระบปุ ระเภทของส่ือท่ีแนบไฟลม์ าพร้อมคาอธบิ าย)
ขอ้ มลู ภาพถา่ ย ไดแ้ ก่ ภาพการร้องเพลงบอก จานวน ๑๐ ภาพ ขอ้ มูลภาพเคล่ือนไหว ได้แก่ - ขอ้ มูลเสยี ง ได้แก่ - ๑๕. ข้อมลู ผู้สำรวจและจัดเก็บ ชื่อ – สกลุ นายยอดชาย เทพสุวรรณ์ ตาแหนง่ เจ้าหน้าทีม่ รดกภูมปิ ญั ญาทางวัฒนธรรม หน่วยงาน สภาวฒั นธรรมจังหวดั พังงา สานกั งานวัฒนธรรมจงั หวัดพังงา ศาลากลางจังหวัดพังงา(หลังแรก) ถนนเพชรเกษม ตาบลท้ายช้าง อาเภอเมือง จงั หวดั พังงา ๘๒๐๐๐ โทรศัพท์ ๐-๗๖๔๘-๑๕๙๖ ต่อ ๑๐๔ โทรสาร ๐-๗๖๔๘-๑๕๙๕
Search
Read the Text Version
- 1 - 9
Pages: