47 วยบริการสขุ ภาพสงั กัดสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ A7 A8 A9 A10 A11 A12 งบประมาณ รหัสบุคลากร ประเภทบคุ ลากร รหสั วิชาชพี ประเภทวิชาชีพ จานวน (คน) C5 C6 C7 C8 P4P คา่ เวร เบี้ยเลย้ี งเหมาจ่าย คา่ ตอบแทนกรณไี ม่ ทาเวชปฏบิ ัติ
48 4.4 การออกแบบระบบฐานขอ้ มูลเพอ่ื จัดทาดัชนรี าคาคา่ แรงบคุ ลากรสาธารณสขุ ในหนว่ ยบรกิ ารสขุ ภาพ สังกัดสานกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ ในการจัดทาดัชนีราคาค่าแรงบุคลากรในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เพื่อติดตามการ เปล่ียนแปลงของราคาค่าแรงของบุคลากรสาธารณสุขในหน่วยบริการสุขภาพ ในแต่ละช่วงเวลา อันเนื่องมาจากนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขน้ัน มีตัวแปรที่สาคัญ 2 ตัวแปร ได้แก่ ตัวแปรค่าตอบแทน ของบุคลากร (P) และตัวแปรจานวนบุคลากรในหน่วยบริการสุขภาพ (Q) ที่สามารถสะท้อนให้เห็นการ เปลี่ยนแปลงของค่าตอบแทนของบุคลากรในหน่วยบริการสุขภาพแต่ละวิชาชีพในช่วงเวลาต่างๆ ส่งผลให้ ตน้ ทุนแรงงานจะเพม่ิ ขึ้นหรือลดลงอยา่ งไร ท้ังนี้จาเป็นต้องสร้างฐานข้อมูลเพื่อจดั ทาดัชนีราคาค่าแรงบุคลากร 8 ตารางดว้ ยกนั สามารถอธบิ ายรายละเอยี ดได้ดงั นี้ คือ ตารางที่ 18 รายชื่อตารางท่ีใช้ประกอบการจัดทาดชั นรี าคาค่าแรงบุคลากร ตาราง ช่อื ตาราง T1 ประเภทหน่วยบริการสขุ ภาพ T2 รหสั ประเภทบุคลากร T3 ประเภทวิชาชพี T4 รหัสวชิ าชีพ T5 จานวนบคุ ลากร T6 จานวนค่าตอบแทน T7 weight T8 ดัชนรี าคาค่าแรง
49 ภาพที่ 6 ตารางขอ้ มลู ในฐานขอ้ มูลจัดทาดัชนรี าคาคา่ แรงบุคลากร 4.4.1 ตารางท่ี 1 ประเภทหนว่ ยบรกิ ารสุขภาพ การกาหนดรหัสแบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ ประเภทหน่วยบริการสุขภาพ ประเภทบุคลากร และ ประเภทวิชาชีพ โดยรหัสของหน่วยบริการสุขภาพ สามารถจาแนกได้เป็น 6 ประเภทหน่วยบริการ ได้แก่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล, โรงพยาบาลชุมชน, โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลท่ัวไป, โรงพยาบาล มหาวิทยาลัย, โรงพยาบาลรัฐสังกัดกระทรวงอ่ืนๆ และโรงพยาบาลเอกชน ในส่วนของโรงพยาบาลชุมชน สามารถจาแนกกลุม่ ย่อยได้อกี ตามพ้ืนทตี่ ้ัง คือ โรงพยาบาลชมุ ชนในพนื้ ท่เี มือง, โรงพยาบาลชมุ ชนในพื้นทีป่ กติ 1, โรงพยาบาลชุมชนในพ้ืนท่ีปกติ 2, โรงพยาบาลชุมชนในพ้ืนท่ีปกติ 3, โรงพยาบาลชุมชนในพื้นท่ีเฉพาะ ระดับ 1 และโรงพยาบาลชุมชนในพื้นที่เฉพาะระดับ 2 ส่วนโรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป สามารถ จาแนกได้เป็น โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลท่ัวไป ในพ้ืนท่ียากลาบากในการบริหารทรัพยากร ระดับ ก และ โรงพยาบาลศูนย/์ โรงพยาบาลท่ัวไป ในพ้ืนท่ียากลาบากในการบรหิ ารทรัพยากร ระดับ ข ดังตารางท่ี 19 และ ภาพที่ 7
50 ตารางท่ี 19 รหัสของประเภทหน่วยบริการสุขภาพ รหัส หนว่ ยบริการสุขภาพ 10 โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบล 20 โรงพยาบาลชมุ ชน 21 โรงพยาบาลชมุ ชนในพนื้ ทเ่ี มือง 22 โรงพยาบาลชุมชนในพืน้ ทป่ี กติ 1 23 โรงพยาบาลชมุ ชนในพน้ื ทป่ี กติ 2 24 โรงพยาบาลชมุ ชนในพืน้ ทีป่ กติ 3 25 โรงพยาบาลชุมชนในพื้นทเี่ ฉพาะระดบั 1 26 โรงพยาบาลชมุ ชนในพน้ื ท่เี ฉพาะระดบั 2 30 โรงพยาบาลศูนย/์ โรงพยาบาลทวั่ ไป 31 โรงพยาบาลศนู ย/์ โรงพยาบาลท่ัวไป ในพน้ื ท่ียากลาบากในการบริหารทรัพยากร ระดับ ก 32 โรงพยาบาลศนู ย/์ โรงพยาบาลทั่วไป ในพนื้ ที่ยากลาบากในการบรหิ ารทรัพยากร ระดับ ข 40 โรงพยาบาลมหาวิทยาลยั 50 โรงพยาบาลรัฐสงั กัดกระทรวงอนื่ ๆ 60 โรงพยาบาลเอกชน ภาพท่ี 7 ประเภทหน่วยบรกิ ารสุขภาพ
51 4.4.2 ตารางที่ 2 ประเภทบุคลากร ประเภทบุคลากร สามารถจาแนกได้เปน็ 5 ประเภท ไดแ้ ก่ ขา้ ราชการ, พนกั งานราชการ, พนักงาน กระทรวงสาธารณสุข, ลูกจ้างประจา และลกู จ้างชั่วคราว ดงั ตารางที่ 19 และภาพท่ี 8 ตารางท่ี 20 รหัสของประเภทของบคุ ลากร รหสั ประเภทของบุคลากร 01 ขา้ ราชการ 02 พนักงานราชการ 03 พนักงานกระทรวงสาธารณสุข 04 ลูกจา้ งประจา 05 ลกู จา้ งชั่วคราว ภาพที่ 8 ประเภทของบคุ ลากร
52 4.4.3 ตารางท่ี 3 ประเภทวิชาชีพ และตารางที่ 4 รหสั วิชาชพี ย่อย ตารางที่ 21 รหสั ของวชิ าชีพ กลมุ่ วิชาชพี รหัสวชิ าชีพ ประเภทวิชาชีพ วิชาชีพหลกั 1 แพทย์ วชิ าชพี หลกั 2 ทันตแพทย์ วิชาชีพหลกั 3 เภสชั กร วชิ าชีพหลัก 4 พยาบาลวชิ าชพี สหวิชาชพี 5 พยาบาลเทคนิค สหวชิ าชีพ 6 นกั เทคนิคการแพทย์ สหวชิ าชีพ 7 นกั วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ สหวิชาชีพ 8 นกั กายภาพบาบดั สหวชิ าชีพ 9 นกั รงั สกี ารแพทย์ สหวิชาชพี 10 นกั วิชาการสาธารณสขุ สหวิชาชีพ 11 สหวิชาชีพอ่ืนๆ กล่มุ ผ้ชู ว่ ยให้บริการทางการแพทย์ 12 กลมุ่ ผ้ชู ว่ ยให้บรกิ ารทางการแพทย์ ฝา่ ยสนบั สนุน 13 ฝา่ ยสนบั สนนุ ภาพที่ 9 ประเภทของวชิ าชพี
53 ภาพท่ี 10 รหสั วชิ าชีพย่อย 4.4.4 ตารางที่ 5 จานวนบคุ ลากรสาธารณสขุ ในหนว่ ยบรกิ ารสุขภาพสงั กดั สานักปลัดกระทรวง สาธารณสขุ ภาพที่ 11 จานวนบคุ ลากรสาธารณสุขในหน่วยบริการสขุ ภาพสังกดั สานักปลัดกระทรวงสาธารณสุข
54 4.3.5 ตารางที่ 6 ค่าตอบแทนบุคลากรสาธารณสุขในหน่วยบริการสุขภาพสังกัดสานัก ปลดั กระทรวงสาธารณสุข ภาพท่ี 12 จานวนค่าตอบแทนบคุ ลากรในสงั กดั สานกั ปลดั กระทรวงสาธารณสขุ 4.3.6 ตารางท่ี 7 ค่าถ่วงน้าหนักข้อมูลค่าตอบแทนบุคลากรสาธารณสุขในหน่วยบริการสุขภาพ สงั กดั สานักปลดั กระทรวงสาธารณสขุ ภาพท่ี 13 ค่าถว่ งนา้ หนักข้อมูลค่าตอบแทนบุคลากรสาธารณสขุ ในหนว่ ยบรกิ ารสขุ ภาพ สงั กดั สานกั ปลดั กระทรวงสาธารณสุข
55 4.3.7 ตารางที่ 8 ดัชนีราคาค่าแรงบุคลากรสาธารณสุขในหน่วยบริการสุขภาพสังกัดสานัก ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ภาพที่ 14 ดชั นีราคาค่าแรงบุคลากรสาธารณสุขในหนว่ ยบริการสุขภาพสังกดั สานักปลดั กระทรวงสาธารณสขุ ท้ังนี้ สามารถแสดงแผนผังการจัดทาดัชนีราคาค่าแรงบุคลากรสาธารณสุขในหน่วยบริการสุขภาพ สังกดั สานักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ ดงั ภาพที่ 15
56 บค. รพ. กองเศรษฐกจิ สุขภาพและหลกั ประกนั สขุ ภาพ รวบรวมข้อมลู , การจดั การและเชือ่ มข้อมลู ฐานข้อมลู วเิ คราะห์ข้อมลู รายงาน ภาพท่ี 15 กระบวนการจดั ทาดัชนีราคาคา่ แรงบุคลากรในสังกัดสานกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 4.5 ดชั นีราคาคา่ แรงบคุ ลากรสาธารณสุข ดัชนีราคาค่าแรง คือ เครื่องมือทางสถิติที่ใช้วัดการเปล่ียนแปลงค่าตอบแทนของแรงงานที่ได้รับ โดยเฉลี่ย ณ เวลาหน่ึงเทียบกับปีฐาน โดยมีตะกร้างาน (Job Basket) ซึ่งเป็นวิชาชีพ อีกทั้งมีน้าหนัก ค่าตอบแทนรายวิชาชีพ (weight) เพื่อให้ความสาคัญแก่วิชาชีพท่ีแตกต่างกัน โดยวิชาชีพที่มีน้าหนักมาก จะแสดงถึงการที่วิชาชีพน้ันมีค่าตอบแทนรวมสูง ส่วนวิชาชีพท่ีมีน้าหนักน้อยก็แสดงถึงการท่ีวิชาชีพน้ัน มีค่าตอบแทนรวมต่า โดยขั้นตอนการจัดทาดัชนีราคาค่าแรงบุคลากรสาธารณสุข สามารถแบ่งเป็น 2 ขั้นตอนใหญ่ ได้แก่ ขัน้ ตอนการจดั ทาคา่ ถว่ งนา้ หนักขอ้ มลู และขัน้ ตอนการจดั ทาดัชนรี าคาคา่ แรงบคุ ลากรสาธารณสุข
57 4.5.1 การจัดทาค่าถ่วงนา้ หนักขอ้ มูล การจัดทาค่าถ่วงนา้ หนักหรือค่า weight เปน็ เรื่องใหญ่เรื่องหนึ่งของการวเิ คราะหด์ ัชนีราคาต่างๆ เช่น ในการคานวณดัชนีราคาผู้บริโภค (Consumer Price Index หรือ CPI) ค่าถ่วงน้าหนัก หมายถึง ค่าที่แสดงให้ เห็นความสาคัญของสินค้าหรือบริการ ในลักษณะของส่วนแบ่งค่าใช้จ่ายต่อค่าใช้จ่ายทั้งหมด การหาค่า weight นั้นจะมาจากการการสารวจระดับประเทศเพ่ือให้ทราบค่าใช้จ่ายรวมท้ังหมด แล้วนามาคานวณหา สัดส่วนค่าใช้จ่ายของสินค้าหรือกลุ่มสินค้าแต่ละประเภทต่อค่าใช้จ่ายทั้งหมดอีกครั้ง โดยท่ัวไปแล้วค่าถ่วง น้าหนักควรเป็นตัวแทนของท้ังประเทศ ซ่ึงหมายถึงครอบคลุมภูมิภาคหรือจังหวัดต่างๆไว้แล้ว ทั้งน้ีการจะ คานวณคา่ ถว่ งน้าหนักสามารถทาในระดับพื้นท่ีไดเ้ ช่นกัน ขึน้ กับวัตถปุ ระสงค์หรือระดับของการคานวณดัชนวี ่า ต้องการในระดับไหน เนื่องจากการวิเคราะห์ดัชนีราคาค่าแรงบุคลากรสาธารณสุขในคร้ังน้ี ไม่มีการหมวดหมู่ สินค้าที่เป็นมาตรฐานเหมือนอย่างเช่นการจัดทาดัชนีราคาผู้บริโภค ซ่ึงมีการจัดหมวดสินค้าตามโครงสร้างของ COICOP 1 ผู้ศึกษาจึงได้ใช้ข้อมูลจากการสารวจในพ้ืนท่ีศึกษา ประกอบกับข้อมูลทุติยภูมิท่ีได้จากการทบทวน วรรณกรรม เป็นพ้ืนฐานในการจัดหมวดอาชีพ โดยคานวณค่าถ่วงน้าหนักในกลุ่มวิชาชีพหลักที่ได้กาหนดมาไว้ ในตอนตน้ 1 http://www.price.moc.go.th/price/cpi/handbook/book_cpi_base_45.html
58 แนวทางจดั ทาค่าถว่ งนา้ หนักข้อมลู กาหนดปฐี าน กาหนดหมวดหม่ขู องงาน จากการประชุมทบทวนข้อเสนอของการศึกษาในระยะท่ี 1 จัดทาการสารวจข้อมลู เพ่ือนามาคานวณค่า weight โดยใชเ้ ครอื่ งมือท่ีพัฒนาในระยะท่ี 1 กำหนดกลมุ่ ตัวอยำ่ งในเขต ตวั อยา่ งของแตล่ ะพ้ืนท่ีประกอบไปดว้ ยตวั แทนของ กรุงเทพมหำนคร และตัวแทนจำก รพสต. รพช. รพท. และ รพศ. รวมท้ัง สสจ. 4 ภมู ภิ ำคของประเทศไทย จาแนกข้อมลู ตามประเภทของบคุ ลากร ได้แก่ ข้าราชการ พนักงานราชการ ลูกจา้ งประจา ลูกจา้ งชวั่ คราว และพนักงานกระทรวงสาธารณสุข %ค่าตอบแทนรวมรายวิชาชีพ ค่าถว่ งน้าหนกั รายวชิ าชีพ 1. แพทย์ 8. นักกายภาพบาบดั 2. ทันตแพทย์ 9. นักรังสกี ารแพทย์ 3. เภสชั กร 10. นักวชิ าการสาธารณสุข 4. พยาบาลวชิ าชพี 11. สหวชิ าชพี อน่ื ๆ 5. พยาบาลเทคนคิ 12. ผู้ชว่ ยให้บรกิ ารทางการ 6. นักเทคนิคการแพทย์ 13. ฝ่ายสนับสนุน 7. นกั วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ ภาพท่ี 16 แนวทางจดั ทาคา่ ถ่วงนา้ หนักขอ้ มลู
59 ตารางที่ 22 รายละเอียดการจดั ทาดชั นรี าคาค่าแรงบคุ ลากรสาธารณสขุ ลาดบั กระบวนการ รายละเอียดงาน 1 กาหนดวัตถปุ ระสงค์ดัชนีค่าแรง กาหนดวตั ถุประสงคว์ า่ จะทาในระดับประเทศหรือภูมิภาค หรอื ละเอียดในระดับจงั หวดั 2 กาหนดปฐี าน ประชุมผู้เชี่ยวชาญเพ่ือคัดเลือกปีฐานท่ีจะมีการเก็บข้อมูล ทาค่า weight ต่อไปด้วย โดยเป็นการพิจารณาปีท่ีมีข้อมูล ค่าตอบแทนในแตล่ ะรายวิชาชพี อย่างครบถ้วน 3 กาหนดหมวดหมงู่ าน และคดั เลอื ก จัดประชุมเพื่อทบทวนหมวดหมู่วิชาชีพ ตลอดจนการแบ่ง รายงานของงานที่จะนามาทาดชั นี ประเภทของค่าตอบแทน ที่ทางผู้วิจัยได้จัดทาไว้ใน การศึกษาระยะที่1 การประชุมควรมีตัวแทนจากส่วนกลาง และพ้ืนท่ี ซึ่งจาแนกตามระดับของโรงพยาบาล ได้แก่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลทั่วไป และโรงพยาบาลศูนย์ อีกทั้งควรจะมี ตวั แทนจากสานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั ร่วมด้วย 4 จดั ทาการสารวจข้อมลู เพื่อนามา - การสารวจข้อมูลแบ่งเป็นกลุ่มตัวอย่างจากกรุงเทพ คานวณค่า weight ต่อไป มหานคร และ 4 ภูมิภาคของประเทศไทย โดยมีท้ังตัวแทน จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลศูนย์ และสานักงาน สาธารณสุขจังหวัด ท้ังน้ีสานักงานสาธารณสุขจังหวัด สามารถเป็นตัวแทนในการสารวจข้อมูลของโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตาบล โรงพยาบาลชุมชน และสานักงาน สาธารณสุขอาเภอได้ - การสารวจขอ้ มูลสามารถใช้เครือ่ งมือรวบรวมข้อมลู ที่ ทางคณะผศู้ ึกษาได้จัดทาจากการศึกษาในระยะที่ 1 ไว้ แล้ว - เนือ่ งจากเร่ืองดชั นีราคาค่าแรงเป็นเรอ่ื งใหม่ การให้
60 ลาดบั กระบวนการ รายละเอียดงาน ความรแู้ ละทาความเข้าใจกับสานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั และหน่วยบรกิ ารสขุ ภาพเปน็ เร่อื งที่ควรจะต้องดาเนินการ กอ่ นการสารวจ 5 รวบรวมขอ้ มูลทตุ ิยภูมิจากส่วนกลาง - หนว่ ย IT จากส่วนกลางเพม่ิ รหัสของวชิ าชีพตามข้อเสนอ และข้อมูลเพ่ิมเติมจากพนื้ ที่ จานวน 3 จากผลการศึกษาในระยะท่ี 1 เพื่อความสะดวกในการ ปียอ้ นหลงั โดยเริ่มจากปีฐานเป็น ปี วิเคราะห์ข้อมลู ของส่วนกลาง แรก - ในหลายพนื้ ทีม่ ีการเขยี นโปรแกรมของตวั เอง และมีการ จดั เกบ็ ข้อมลู คา่ ตอบแทนครบ สามารถส่งข้อมลู เปน็ รายบคุ คลมาทสี่ ่วนกลางเพ่ือจัดทาดชั นีค่าแรงต่อไป - ถา้ ต้องการรวบรวมขอ้ มูลให้เปน็ ระบบในอนาคตหนว่ ย IT ของส่วนกลางสามารถเพม่ิ ประเภทค่าตอบแทนใน โปรแกรม HROPS ตามผลการประชมุ ในขน้ั ตอนที่ 3 เพอ่ื ให้สถานบริการในสงั กดั กระทรวงสาธารณสขุ สามารถ บนั ทกึ ข้อมลู ได้ - ในส่วนของโรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตาบล ในหลาย แห่งไม่มีการเกบ็ ข้อมลู รปู แบบอเิ ล็กทรอนิกส์ ในกรณนี ้คี วร สรา้ ง template ทเ่ี ปน็ excel เพอ่ื ให้ส่งข้อมูลมาที่ สานักงานสาธารณสุขจงั หวดั แลว้ จดั ส่งใหส้ ่วนกลางต่อไป - การวิจัยในระยะท่ี 1 เสนอให้รวบรวมขอ้ มลู รายบคุ คลทีม่ ี รหัสวิชาชพี แล้วมาวิเคราะห์แยกวชิ าชพี เองทีส่ ว่ นกลาง 6 รวบรวมข้อมูลทีด่ าเนนิ การสารวจ ตดิ ตามและรวบรวมข้อมลู ตลอดจนตรวจสอบความสมบูรณ์ และความถูกต้องของข้อมูล โดยบคุ ลากรจากส่วนกลาง 7 ประมวลข้อมลู เพื่อมาวิเคราะหด์ ชั นีคา่ แรง
61 4.5.2 การวิเคราะห์ดัชนีราคาค่าแรงบุคลากร ดชั นีราคาค่าแรงบุคลากรใชส้ ูตรแบบลาสแปร์ การคานวณค่าตอบแทนใชค้ ่ตอบแทนรวมรายวิชาชีพ ต่อปี สามารถแสดงการคานวณค่าตอบแทนรวม ได้ดงั น้ี ค่าตอบแทนรวม = (เงินเดือน + ประจาตาแหน่ง + ค่าตอบแทน + พตส. + เบ้ียเลี้ยงเหมาจ่าย + ไม่ทาเวชปฏิบตั ิ + P4P + ค่าเวร) การคานวณดัชนีราคาค่าแรงบุคลากรนั้นใช้ค่าตอบแทนรวมต่อปีของบุคลากรสาธารณสุขแต่ละ วชิ าชีพ หารด้วยค่าตอบแทนแต่ละวิชาชพี ในปีฐาน และใช้ตัวถว่ งสะท้อนปีฐานแบบไม่คงท่ี จากน้ันจึงคูณด้วย 100 ได้ตามสตู รดงั นี้ LPIL wio pit pi 0 100 โดย LPIL : ดชั นีราคาคา่ แรงแบบลาสแปร์ Pt : ราคาแรงงานปปี จั จุบัน Po : ราคาแรงงานปฐี าน คอื ปี 2558 wi0 pi0qi0 คอื ตัวถ่วงนา้ หนกั ในปฐี าน pi0qi0
62 ตวั อยา่ งการแสดงคา่ ดัชนีราคาคา่ แรงบุคลากร ตารางท่ี 23 ดชั นีราคาคา่ แรงของขา้ ราชการในโรงพยาบาลท่ัวไป/โรงพยาบาลศนู ย์ ต้ังแต่ปี 2559 ถึง 2560 ประเภทวชิ าชีพ 2559 2560 แพทย์ 125.0 126.1 ทันตแพทย์ 102.8 111.2 เภสชั กร 111.9 111.4 พยาบาลวชิ าชีพ 104.2 108.7 พยาบาลเทคนคิ 112.3 93.1 นักเทคนิคการแพทย์ 111.0 120.0 นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ 103.3 106.6 นกั กายภาพบาบดั 123.4 131.6 นักรงั สกี ารแพทย์ 112.2 119.0 นักวิชาการสาธารณสุข 105.1 119.4 สหวชิ าชพี อน่ื ๆ 105.1 111.4 ฝ่ายสนบั สนุน 94.6 114.3 จากตารางท่ี 23 แสดงดัชนีราคาค่าแรงข้าราชการในโรงพยาบาลทั่วไป/โรงพยาบาลศูนย์ ต้ังแต่ ปี 2559 ถึง 2560 โดยใช้ 2558 เป็นปีฐาน พบว่า ดัชนีราคาค่าแรงข้าราชการในโรงพยาบาลทั่วไป/ โรงพยาบาลศูนย์แต่ละวิชาชีพส่วนใหญ่มีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นจากปีฐาน ยกเว้นพยาบาลเทคนิคที่มีแนวโน้มของ ดัชนีราคาค่าแรงลดลงอย่างชัดเจนในปี 2560 คือ 93.1 ส่วนวิชาชีพที่มีดัชนีราคาค่าแรงที่สูงกว่าปีฐานมาก ทสี่ ดุ คอื แพทย์ ซ่งึ เทา่ กบั 125.0 และ 126.1 และนกั กายภาพบาบดั เทา่ กับ 123.4 และ131.6 ตารางที่ 24 ดชั นีราคาคา่ แรงของพนกั งานราชการในโรงพยาบาลท่ัวไป/โรงพยาบาลศูนย์ ต้งั แต่ปี 2559 ถึง 2560 วิชาชีพ 2559 2560 142.7 144.9 พยาบาลวิชาชีพ 131.4 134.9 นกั กายภาพบาบัด 109.5 142.4 ฝ่ายสนบั สนุน
63 จากตารางที่ 24 แสดงดัชนีราคาค่าแรงพนักงานราชการในโรงพยาบาลท่ัวไป/โรงพยาบาลศูนย์ ต้ังแต่ปี 2559 ถึง 2560 โดยใช้ 2558 เป็นปีฐาน พบว่า ดัชนีราคาค่าแรงพนักงานราชการในโรงพยาบาล ทวั่ ไป/โรงพยาบาลศูนย์แต่ละวิชาชีพส่วนใหญ่มแี นวโน้มเพ่ิมขึ้นจากปีฐาน โดยวชิ าชีพพยาบาลมีแนวโน้มดัชนี ราคาค่าแรงที่เพิ่มข้ึนจากปีฐานสูงที่สุด เท่ากับ 142.7 และ 144.9 นักกายภาพบาบัด เท่ากับ 131.4 และ 134.9 และฝา่ ยสนับสนุน เทา่ กบั 109.5 และ 142.4 ตารางที่ 25 ดชั นรี าคาคา่ แรงของพนกั งานกระทรวงสาธารณสุขในโรงพยาบาลท่ัวไป/โรงพยาบาลศนู ย์ ตงั้ แต่ ปี 2559 ถงึ 2560 วชิ าชีพ 2559 2560 พยาบาลวชิ าชีพ 71.7 108.6 นักวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ 124.9 115.0 สหวิชาชีพอ่นื ๆ 102.0 100.1 กลมุ่ ผู้ช่วยใหบ้ ริการทางการแพทย์ 104.1 104.9 ฝ่ายสนับสนุน 103.1 106.2 จากตารางท่ี 25 แสดงดัชนีราคาค่าแรงพนักงานกระทรวงสาธารณสุขในโรงพยาบาลท่ัวไป/ โรงพยาบาลศูนย์ ต้ังแต่ปี 2559 ถึง 2560 โดยใช้ 2558 เป็นปีฐาน พบว่า ดัชนีราคาค่าแรงพนักงานกระทรวง สาธารณสุขในโรงพยาบาลท่ัวไป/โรงพยาบาลศูนย์แต่ละวิชาชีพส่วนใหญ่มีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นจากปีฐาน ได้แก่ นกั วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ท่ีมีแนวโน้มของดัชนีราคาค่าแรงสงู กว่าปฐี าน เท่ากับ 124.9 และมที ิศทางท่ีลดลงใน ปี 2560 เท่ากับ 115.0 ส่วนกลุ่มผู้ช่วยให้บริการทางการแพทย์มีดัชนีราคาค่าแรงเท่ากับ 104.1 และ 104.9 สว่ นพยาบาลวิชาชีพมแี นวโน้มของดัชนรี าคาคา่ แรงท่ีลดลงจากปีฐานในปี 2559 เท่ากบั 71.7 และเพ่ิมข้นึ ในปี 2560 เทา่ กบั 108.6 ตารางท่ี 26 ดชั นีราคาค่าแรงของลกู จ้างประจาในโรงพยาบาลท่วั ไป/โรงพยาบาลศูนย์ ตั้งแต่ปี 2559 ถึง 2560 วชิ าชีพ 2559 2560 สหวชิ าชีพอื่นๆ 118.6 120.2 กลมุ่ ผชู้ ่วยใหบ้ ริการทางการแพทย์ 116.6 112.4 ฝ่ายสนบั สนุน 111.5 119.2
64 จากตารางท่ี 26 แสดงดัชนีราคาค่าแรงลูกจ้างประจาในโรงพยาบาลท่ัวไป/โรงพยาบาลศูนย์ ตั้งแต่ ปี 2559 ถึง 2560 โดยใช้ 2558 เป็นปีฐาน พบว่า ดัชนีราคาค่าแรงของลูกจ้างประจาในโรงพยาบาลท่ัวไป/ โรงพยาบาลศูนย์แต่ละวิชาชีพส่วนใหญ่มีแนวโน้มเพิ่มข้ึนจากปีฐาน ได้แก่ สหวิชาชีพอ่ืน มีดัชนีราคาค่าแรง เท่ากับ 118.6 และ 120.2 กลุ่มผู้ช่วยให้บริการทางการแพทย์ มีดัชนีราคาค่าแรงเท่ากับ 116.6 และ 112.4 และฝา่ ยสนบั สนนุ มีดัชนีราคาคา่ แรงเทา่ กบั 111. 5 และ 119.2 ตารางท่ี 27 ดชั นีราคาค่าแรงของลูกจ้างชั่วคราวในโรงพยาบาลทั่วไป/โรงพยาบาลศนู ย์ ต้ังแตป่ ี 2559 ถึง 2560 วชิ าชพี 2559 2560 แพทย์ 92.1 พยาบาลวิชาชีพ นักเทคนิคการแพทย์ 103.1 115.8 นักกายภาพบาบดั 54.7 83.9 นกั วชิ าการสาธารณสขุ 112.8 125.4 กลุ่มผ้ชู ว่ ยใหบ้ ริการทางการแพทย์ 117.6 128.0 ฝ่ายสนบั สนุน 66.9 92.7 92.5 103.5 จากตารางที่ 27 แสดงดัชนีราคาค่าแรงลูกจ้างชั่วคราวในโรงพยาบาลทัว่ ไป/โรงพยาบาลศูนย์ ตง้ั แต่ ปี 2559 ถึง 2560 โดยใช้ 2558 เป็นปีฐาน พบวา่ ดชั นีราคาค่าแรงของแพทย์ และนักเทคนิคการแพทย์ท่ีเป็น ลูกจ้างช่วั คราว มีแนวโน้มของดัชนีราคาค่าแรงที่ลดลงจากปีฐาน น่นั คือ ในปี 2560 แพทย์ มีดัชนีราคาค่าแรง เท่ากับ 92.1 ส่วนนักเทคนิคการแพทย์ มีดัชนีราคาค่าแรง เท่ากับ 54.7 และ 83.9 ส่วนนักกายภาพบาบัด มีแนวโน้มของดัชนีราคาค่าแรงเพิ่มขึ้น เท่ากับ 112.8 และ 125.4 และพยาบาลวิชาชีพ เท่ากับ 103.1 และ 115.8
65 ตารางที่ 28 ดัชนรี าคาค่าแรงของขา้ ราชการในโรงพยาบาลชุมชน ตั้งแตป่ ี 2559 ถึง 2560 วิชาชีพ 2559 2560 แพทย์ 112.1 111.9 ทันตแพทย์ 121.2 121.0 เภสชั กร 104.2 113.2 พยาบาลวชิ าชพี 94.3 97.2 พยาบาลเทคนิค 109.9 113.9 นกั เทคนิคการแพทย์ 105.6 114.5 นักกายภาพบาบดั 104.1 110.2 นักรงั สีการแพทย์ 96.5 103.4 นกั วิชาการสาธารณสขุ 96.8 104.9 สหวชิ าชพี อ่ืนๆ 103.7 112.9 ฝ่ายสนับสนุน 88.2 90.4 จากตารางที่ 28 แสดงดัชนีราคาค่าแรงของข้าราชการในโรงพยาบาลชุมชน ตั้งแต่ปี 2559 ถงึ 2560 โดยใช้ 2558 เป็นปีฐาน พบว่า ดัชนีราคาค่าแรงของทันตแพทย์มีแนวโน้มสูงจากปีฐานสูงท่ีสุด คือเท่ากับ 121.2 และ 121.0 รองลงมา คือ แพทย์ มีดัชนีราคาค่าแรงเท่ากับ 112.1 และ 111.9 ส่วนพยาบาลวิชาชีพ มแี นวโน้มของดัชนีราคาค่าแรงลดลง คอื เท่ากบั 94.3 และ 97.2 และฝา่ ยสนับสนุน มดี ัชนีราคาค่าแรงเท่ากับ 88.2 และ 90.4 ตารางที่ 29 ดชั นีราคาค่าแรงของพนกั งานราชการในโรงพยาบาลชมุ ชน ตง้ั แต่ปี 2559 ถงึ 2560 วชิ าชพี 2559 2560 106.4 113.2 ฝ่ายสนบั สนนุ จากตารางท่ี 29 แสดงดัชนีราคาค่าแรงของพนักงานราชการในโรงพยาบาลชุมชน ตัง้ แต่ปี 2559 ถึง 2560 โดยใช้ 2558 เป็นปีฐาน พบว่า ดัชนีราคาค่าแรงของฝ่ายสนับสนุนมีแนวโน้มสูงจากปีฐาน คือเท่ากับ 106.4 และ 113.2
66 ตารางที่ 30 ดชั นรี าคาคา่ แรงของพนกั งานกระทรวงสาธารณสขุ ในโรงพยาบาลชุมชน ต้งั แต่ปี 2559 ถึง 2560 วิชาชีพ 2559 2560 พยาบาลวิชาชีพ 142.4 104.8 นกั กายภาพบาบัด 109.9 99.8 นักวิชาการสาธารณสขุ 130.9 99.3 สหวิชาชีพอนื่ ๆ 109.4 102.6 กลุม่ ผูช้ ่วยใหบ้ ริการทางการแพทย์ 108.2 108.4 ฝา่ ยสนับสนนุ 108.8 110.7 จากตารางท่ี 30 แสดงดัชนีราคาค่าแรงของพนักงานกระทรวงสาธารณสุขในโรงพยาบาลชุมชน ต้ังแต่ปี 2559 ถึง 2560 โดยใช้ 2558 เป็นปีฐาน พบว่า ดัชนีราคาค่าแรงของพยาบาลมีแนวโน้มสูงท่ีสุดจาก ปฐี าน คือเท่ากับ 142.4 และ 104.8 และฝ่ายสนับสนุน มีดัชนีราคาค่าแรงเท่ากับ 108.8 และ 110.7 ส่วนนัก กายภาพบาบัด และนักวิชาการสาธารณสุขมีแนวโน้มของดัชนีราคาค่าแรงที่สูงกว่าปีฐานในปี 2559 แต่ปี 2560 มีแนวโน้มต่ากว่าปีฐานเล็กน้อย โดยที่นักกายบาบัด มีดัชนีราคาค่าแรงเท่ากับ 109.9 และ 99.8 นกั วชิ าการสาธารณสุข มดี ัชนรี าคาคา่ แรงเทา่ กบั 130.9 และ 99.3 ตารางท่ี 31 ดัชนีราคาคา่ แรงของลกู จ้างประจาในโรงพยาบาลชมุ ชน ตัง้ แต่ปี 2559 ถึง 2560 วิชาชีพ 2559 2560 สหวิชาชพี อ่นื ๆ 106.4 113.2 กลมุ่ ผู้ชว่ ยให้บรกิ ารทางการแพทย์ 105.4 111.2 ฝา่ ยสนับสนุน 105.6 111.5 จากตารางท่ี 31 แสดงดัชนีราคาค่าแรงของลูกจ้างประจาในโรงพยาบาลชุมชน ตั้งแต่ปี 2559 ถึง 2560 โดยใช้ 2558 เป็นปีฐาน พบว่า ดัชนีราคาค่าแรงของลูกจ้างประจามีแนวโน้มสูงท่ีสุดจากปีฐาน โดยท่ี ดัชนีราคาค่าแรงของสหวิชาชีพ เท่ากับ 106.4 และ 113.2 กลุ่มผู้ช่วยให้บริการทางการแพทย์ มีดัชนีราคา ค่าแรงของสหวิชาชีพ เท่ากับ 105.4 และ 111.2 และฝ่ายสนับสนุน มีดัชนีราคาค่าแรงเท่ากับ 105.6 และ 111.5
67 ตารางท่ี 32 ดชั นีราคาค่าแรงของลูกจ้างชว่ั คราวในโรงพยาบาลชุมชน ตัง้ แต่ปี 2559 ถึง 2560 วิชาชีพ 2559 2560 พยาบาลวิชาชพี 93.4 96.7 นกั กายภาพบาบัด 106.4 113.2 นักวิชาการสาธารณสขุ 104.9 107.4 สหวชิ าชีพอน่ื ๆ 109.9 111.6 กลุม่ ผ้ชู ว่ ยให้บรกิ ารทางการแพทย์ 108.7 114.5 ฝ่ายสนบั สนุน 109.5 108.6 จากตารางท่ี 32 แสดงดัชนีราคาค่าแรงของลูกจ้างชั่วคราวในโรงพยาบาลชุมชน ต้ังแต่ปี 2559 ถึง 2560 โดยใช้ 2558 เป็นปีฐาน พบว่า ดัชนีราคาค่าแรงของลูกจ้างชั่วคราวมีแนวโน้มสูงที่สุดจากปีฐาน โดยท่ี ดัชนีราคาค่าแรงของสหวิชาชีพอ่ืนๆ เท่ากับ 109.9 และ 111.6 และฝ่ายสนับสนุน มีดัชนีราคาค่าแรงเท่ากับ 109.5 และ 108.6 ส่วนพยาบาลวิชาชีพมีแนวโน้มของดัชนีราคาค่าแรงลดลงจากปีฐาน คือเท่ากับ 93.4 และ 96.7 ตารางท่ี 33 ดัชนีราคาคา่ แรงของข้าราชการในโรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตาบล ต้ังแต่ปี 2559 ถงึ 2560 วิชาชพี 2559 2560 พยาบาลวชิ าชีพ 66.2 102.6 นกั วชิ าการสาธารณสุข 93.1 93.3 สหวิชาชพี อ่ืนๆ 88.0 101.1 กลุ่มผู้ชว่ ยให้บริการทางการแพทย์ 102.5 92.2 จากตารางที่ 33 แสดงดัชนีราคาค่าแรงของข้าราชการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล ต้ังแต่ปี 2559 ถึง 2560 โดยใช้ 2558 เป็นปีฐาน พบว่า ในปี 2559 ดัชนีราคาค่าแรงของพยาบาลมีแนวโน้มลดลงจาก ปีฐาน เท่ากับ 66.2 และเพิ่มขึ้นในปี 2560 เท่ากับ 102.6 เช่นเดียวกับสหวิชาชีพอ่ืนท่ีดัชนีราคาค่าแรงของ พยาบาลมีแนวโน้มลดลงจากปีฐาน เท่ากับ 88.0 และเพ่ิมข้ึนในปี 2560 เท่ากับ 101.1 ส่วนนักวิชาการ สาธารณสุข มแี นวโน้มของดัชนรี าคาคา่ แรงที่ลดลงจากปฐี าน เท่ากบั 93.1 และ 93.3
68 ตารางที่ 34 ดชั นรี าคาคา่ แรงของลกู จ้างชวั่ คราวในโรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตาบล ตง้ั แตป่ ี 2559 ถงึ 2560 วชิ าชพี 2559 2560 กล่มุ ผ้ชู ่วยใหบ้ รกิ ารทางการแพทย์ 100.0 100.0 ฝา่ ยสนับสนนุ 115.2 160.7 จากตารางท่ี 34 แสดงดัชนีราคาค่าแรงของข้าราชการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล ต้ังแต่ปี 2559 ถึง 2560 โดยใช้ 2558 เป็นปีฐาน พบว่า ในปี 2559 ดัชนีราคาค่าแรงของฝ่ายสนับสนุนมีแนวโน้ม เพ่ิมข้ึน คือ เท่ากับ 115.2 และ 160.7 ส่วนกลุ่มผู้ช่วยให้บรกิ ารทางการแพทย์ ไม่มีการเปล่ียนแปลงของดัชนี ราคาค่าแรง เน่ืองจากคา่ ตอบแทนเทา่ กบั ปฐี านทั้งสองปี
69 บทท่ี 5 ขอ้ ค้นพบจากพื้นที่ และการนาสง่ ขอ้ มลู 5.1 ข้อค้นพบจากพื้นที่ การศึกษานี้เป็นการจัดทาดัชนีราคาค่าแรงบุคลากรของหน่วยบริการสังกัดสานักงานปลัดกระทรวง สาธารณสุขระยะท่ี 1 เพ่ือสารวจความเป็นไปได้ของข้อมูลที่จะใช้ในการออกแบบโครงสร้างและรูปแบบ มาตรฐานระบบจัดเก็บข้อมูล และพฒั นาระบบฐานข้อมลู เพอ่ื ใช้จัดทาดัชนีราคาค่าแรงบคุ ลากรทางการแพทย์ ในสถานพยาบาลภาครัฐท่ัวประเทศท่ีจะจัดทาในระยะท่ี 2 ของโครงการ โดยพ้ืนที่นาร่องที่ใช้ในการศึกษาครั้งน้ี คือ เขตสุขภาพท่ี 2 จังหวัดพิษณุโลก และเขตสุขภาพท่ี 10 จังหวัดศรีสะเกษ ท้ังนี้ทีมวิจัยได้ทาการสารวจ ข้อมูลในสาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน และโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตาบล ผลการสารวจพบว่า (1) สานักงานสาธารณสุขจังหวัดมีการเก็บรวมรวมข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับบุคลากร เช่น จานวน บุคลากรของสถานพยาบาลในสังกัดค่อนข้างสมบูรณ์ ส่วนค่าตอบแทนของบุคลากรน้ัน สานักงานสาธารณสุข จังหวัดจัดเก็บเฉพาะโรงพยาบาลชุมชน และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลที่เป็นลูกข่ายของโรงพยาบาล ชมุ ชนเท่านั้น เนื่องจากสานักงานสาธารณสุขจังหวัดเปน็ ศูนย์ต้นทุนของโรงพยาบาลดงั กล่าว ส่วนโรงพยาบาล ศูนย์/โรงพยาบาลท่ัวไป มีศูนย์ต้นทุนของโรงพยาบาลเอง จึงไม่ได้จัดส่งข้อมูลค่าตอบแทนแก่สานักงาน สาธารณสุขจังหวัด ทั้งนี้ค่าตอบแทนที่สานักงานสาธารณสุขจังหวัดจัดเก็บนั้น มีเกือบท้ังหมด ขาดแต่ในส่วน ของสวัสดิการท่ีเป็นการเบิกจากกรมบัญชีกลาง และค่าล่วงเวลา/ค่าเวรที่จาเป็นต้องรวบรวมข้อมูลอีกทีจาก โรงพยาบาลชุมชน ในส่วนค่าจ้างประเภทจ้างเหมานั้นสานักงานสาธารณสุขจังหวัดสามารถสารวจข้อมูล เพิม่ เติมได้ อยา่ งไรก็ตาม ทั้งสานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดและโรงพยาบาลศูนย/์ โรงพยาบาลทวั่ ไปต้องส่งขอ้ มูล ดังกล่าวแก่ส่วนกลาง ซึ่งมีกองบริหารทรัพยากรบุคคล (บค.) สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวง สาธารณสุขเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบในการจัดเก็บข้อมูล ดังนั้นการรวบรวมข้อมูลจานวนบุคลากรใน สถานพยาบาล และค่าตอบแทนบุคลากรของหน่วยบริการสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขสามารถ รวบรวมจากกองบริหารทรัพยากรบุคคล (บค.) ได้ อย่างไรก็ตามในส่วนของค่าตอบแทนเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่าย จะเปน็ การรวบรวมข้อมูลจากพนื้ ท่ี (2) ค่าล่วงเวลา/ค่าเวร หรือจะเป็นสวัดิการต่างๆ จาเป็นต้องเก็บรวบรวมข้อมูลโดยตรงจาก สถานพยาบาลแต่ละแห่ง เว้นแต่ในอนาคตจะมีการพัฒนาโปรแกรมเพ่ือให้สถานพยาบาลบันทึกข้อมูล ค่าล่วงเวลา/ค่าเวรส่งมารายงานสว่ นกลาง (3) ข้อมลู จานวนบุคลากรจะเป็นไปตามปฏบิ ตั ิงานจริง แตม่ ีบางกรณีที่ปฎิบัติงานไมค่ รบปี เชน่ กรณี แพทย์ฝึกงาน (intern) ที่มีการหมุนเวียนทุก 3 เดือน ส่วนข้อมูลค่าตอบแทนจะเป็นข้อมูลตาม จ18 หมายความว่า มรี ายชือ่ และเบิกค่าตอบแทนจากสถานพยาบาลนี้ แตป่ ฏบิ ัติงานจรงิ ที่สถานพยาบาลอ่ืน
70 (4) โปรแกรมที่มีความสาคัญมากในการรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับบุคลากร คือ โปรแกรมระบบ สารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการบุคลากรสาธารณสุข (โปรแกรมบริหารบุคคลใหม่ : HROPS) เป็นระบบ สารสนเทศเพ่ือการบริหารจัดการบุคลากรสาธารณสุข โดยความรับผิดชอบของกองบริหารทรัพยากรบุคคล สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ซ่ึงเป็นโปรแกรมการบริหารงานบุคคลใหม่ ท่ีครอบคลุมทุกประเภทของ บุคลากร ไดแ้ ก่ ขา้ ราชการ พนักงานราชการ ลูกจา้ งประจา ลูกจา้ งช่ัวคราว และพนกั งานกระทรวงสาธารณสุข (ยกเว้นประเภทจ้างเหมา) ในโปรแกรมนไี้ ด้รวบรวมข้อมลู รายบุคคลที่ประกอบไปดว้ ย ข้อมูลสายงาน ตาแหน่ง บริหาร สาขาความเช่ียวชาญ กลุ่มงานท่ีทา หน่วยงานท่ีสังกัด ประเภทบุคลากร ข้อมูลส่วนตัวและครอบครัว ข้อมูลการปฎิบัติราชการปัจจุบัน ข้อมูลประวัติการดารงตาแหน่ง ข้อมูลการศึกษา ข้อมูลสวัสดิการ ข้อมูล ประวัติเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ ข้อมูลการอบรม/ดูงาน ข้อมูลการรับโทษทางวินัย ข้อมูลการนับระยะเวลา เกื้อกูล ข้อมูลใบประกอบวิชาชีพ ข้อมูลการประเมินผลงาน ข้อมูลการปฏิบัติหน้าที่/ราชการ ข้อมูลการ รกั ษาการ/ราชการ ขอ้ มูลสถานะการดารงตาแหน่ง ข้อมูลแจง้ การลาออก ข้อมูลแจง้ การเกษียณ ข้อมูลการขอ ย้าย และประวัตกิ ารลา ปัญหาหน่ึงท่ีโรงพยาบาลในพ้นื ที่พบคือโปรแกรม HROPS ไม่ได้เปิดให้นาเข้าข้อมูลได้ จึงทาให้ต้องบันทึกข้อมูลอีกคร้ัง หากโรงพยาบาลใช้โปรแกรมของตนเองควบคู่กับโปรแกรม HROPS ซงึ่ ทาให้ ต้องคยี ข์ ้อมูลทงั้ สองโปรแกรม ทาใหเ้ กิดการซา้ ซอ้ นในการทางานได้ (5) แต่ละโรงพยาบาลมีวิธีการเก็บข้อมูลท่ีแตกต่างกัน โดยท่ัวไปโรงพยาบาลจะเก็บข้อมูลเป็น รายบุคคล จาแนกเป็นประเภทของบุคลากร (ข้าราชการ พนักงานราชการ ลูกจ้างประจา พนักงานกระทรวง สาธารณสุข ลูกจ้างช่ัวคราว เป็นต้น) และวิชาชีพหรือตาแหน่งงาน ซ่ึงความละเอียดของวิชาชีพหรือตาแหน่ง งานในแต่ละสถานพยาบาลจะแตกต่างกัน นอกจากน้ียังพบว่าในสถานพยาบาลขนาดเล็กมีแนวโน้มท่ีจะ รวบรวมขอ้ มูลบคุ ลากรในรูปแบบอิเลกทรอนิกส์นอ้ ยกวา่ สถานพยาบาลขนาดใหญ่ 5.2 ระบบข้อมูลและการนาสง่ ระบบขอ้ มลู โครงสร้างค่าตอบแทนของบุคลากรสาธารณสุขท่ีปฏิบัติงานในหน่วยบริการสุขภาพสังกัดสานักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุขจะมีค่าตอบแทนที่แตกต่างกันตามประเภทสถานพยาบาล, ประเภทบุคลากร และ ประเภทวิชาชีพ โดยสถานพยาบาล สามารถจาแนกออกได้เป็น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล, ศูนย์ สุขภาพชุมชนเมือง, โรงพยาบาลชุมชนสร้างใหม่, โรงพยาบาลชุมชนขนาดเล็ก, โรงพยาบาลชุมชนขนาดกลาง, โรงพยาบาลชุมชนขนาดใหญ่, โรงพยาบาลชุมชนแม่ข่าย, โรงพยาบาลท่ัวไปขนาดเล็ก, โรงพยาบาลทั่วไป, โรงพยาบาลศูนย์ และศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสูง ท้ังน้ีการจัดแบ่งประเภทหน่วยบริการสุขภาพ จาเป็นต้อง ห ารือร่ว มกั บ คณ ะก รรม การอี กครั้งเพ่ื อวางแผ นใน การเก็บ ข้อ มูล เพ่ื อจั ด ทาดัช นี ราค าค่าแ รงบุ คล าก ร สาธารณสุขในระยะที่ 2 ส่วนประเภทบุคลากรสามารถจาแนกได้เป็น ข้าราชการ, พนักงานราชการ, พนักงาน
71 กระทรวงสาธารณสขุ , ลูกจา้ งประจา และลูกจา้ งชัว่ คราว ส่วนประเภทวชิ าชีพ สามารถแบง่ ได้เป็น 4 กลุ่มหลัก ได้แก่ วิชาชีพหลัก, สหวิชาชีพ, กลุ่มผู้ชว่ ยให้บริการทางการแพทย์ และฝ่ายสนับสนุน ในส่วนของวิชาชีพหลัก ประกอบด้วย แพทย์, ทันตแพทย์, เภสัชกร และพยาบาลวิชาชีพ ส่วนสหวิชาชีพ ประกอบด้วย แพทย์, ทันต แพทย์, เภสัชกร, พยาบาลวิชาชีพ, พยาบาลเทคนิค, นักเทคนิคการแพทย์, นักวิทยาศาสตร์การแพทย์, นัก กายภาพบาบัด, นักรังสีการแพทย์, นักวิชาการสาธารณสุข, สหวิชาชีพอ่ืนๆ, กลุ่มผู้ช่วยให้บริการทางการ แพทย์ และฝา่ ยสนับสนนุ ระบบฐานข้อมูลเพื่อจัดทาดัชนีราคาค่าแรงบุคลากรในสังกัดสานักปลัดกระทรวงสาธารณสุขน้ัน ประกอบไปด้วย 8 ฐานข้อมูลย่อยด้วยกัน ได้แก่ ตารางประเภทโรงพยาบาล, ตารางรหัสประเภทบุคลากร, ตารางประเภทวิชาชีพ, ตารางรหัสวิชาชีพ, ตารางจานวนบุคลากร, ตารางจานวนค่าตอบแทน, ตารางค่าถ่วง น้าหนักข้อมูล และตารางดัชนีราคาค่าแรง โดยฐานข้อมูลดังกล่าวน้ี จะใช้ในการจัดเก็บข้อมูลจากส่วนกลาง คือ กองบริหารทรัพยากรบุคคล (บค.) สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข และหน่วย บริการสุขภาพ เพ่ือจัดทาดัชนีราคาค่าแรงบุคลากร และออกเป็นรายงานดัชนีราคาค่าแรงบุคลากรในสังกัด สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขประจาปี ดังนั้น ฐานข้อมูลทั้ง 8 ฐานย่อยน้ีจะถูกจัดเก็บในรูปแบบของ ฐานข้อมูลด้วยโปรแกรม Microsoft Office Access หรือโปรแกรมอื่นท่ีเป็นไปได้ และดูแลโดยกองเศรษฐกิจ สุขภาพและหลกั ประกนั สุขภาพ สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสขุ
72 การนาส่งข้อมูล ในการจัดทาดัชนีราคาค่าแรงบุคลากรสาธารณสุขในสังกัดสานักปลัดกระทรวงสาธารณสุขระยะท่ี 2 กองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ มีทางเลือกอยู่ 3 ทางเลือกด้วยกัน ที่ทางคณะกรรมการและทีม ผู้ศึกษาจาเป็นต้องตัดสินใจร่วมกันในการออกแบบการเก็บข้อมูลที่จะมีขึ้นในระยะท่ี 2 โดยทางเลือกมี ดังตอ่ ไปนี้ 1. จดั เกบ็ ขอ้ มลู จากกองบริหารทรพั ยากรบคุ คล (บค.) และหน่วยบรกิ ารสขุ ภาพ เป็นรายบุคคล การจัดเก็บข้อมูลจากกองบรหิ ารทรัพยากรบุคคล (บค.) บางส่วน และเก็บจากหน่วยบริการสุขภาพ บางส่วน เพ่ือลดภาระของหน่วยบริการสุขภาพในการจัดเก็บข้อมูล แต่มีข้อจากัดอยู่ว่าหน่วยบริการสุขภาพมี ความหลากหลายในการใช้โปรแกรมสาหรับการจัดเก็บข้อมูล อีกทั้งการลงรหัส id ก็ไม่สมบูรณ์ครบถ้วน จึง อาจเป็นอุปสรรคในข้ันตอนท่ีจะเชื่อมข้อมูล 2 ฐานน้ีเข้าด้วยกัน แม้กระทั่งการรวมข้อมูลของแต่ละหน่วย บริการสุขภาพเองก็ค่อนข้างลาบาก สาหรับทางเลือกน้ีในอนาคตระบบ HROPS ควรรองรับประเภทของ ค่าตอบแทนทุกประเภทตามที่กล่าวมาข้างต้น ทั้งในส่วนของการรวบรวมข้อมูลและการรายงานผลเป็น รายบุคคล ซึ่งจะทาให้การเชื่อมข้อมูลสะดวกมากยิ่งขึ้น ท้ังนี้การบันทึกข้อมูลเข้าระบบอย่างครบถ้วนและ สม่าเสมอนั้นค่อนข้างเป็นภาระแก่หน่วยบริการสุขภาพค่อนข้างมาก ดังน้ันสาหรับทางเลือกนี้ในช่วงแรกจะ เปน็ การจดั เกบ็ ข้อมูลจากสองแหล่งไปกอ่ นแลว้ จึงพฒั นาการเก็บข้อมลู จากระบบ HROPS ระบบเดยี วต่อไป 2. จัดเก็บข้อมูลจากกองบริหารทรัพยากรบุคคล (บค.) และหน่วยบริการสุขภาพ เป็นรายกลุ่ม ประเภทบุคลากร และกลุ่มวชิ าชีพ การจัดเก็บข้อมูลจากกองบรหิ ารทรัพยากรบุคคล (บค.) บางส่วน และเก็บจากหน่วยบริการสุขภาพ บางส่วน เพอ่ื ลดปัญหาการเช่ือมข้อมลู ระหว่าง 2 แหล่ง โดยใชค้ า่ ตอบแทน 2 หมวดจากกองบริหารทรัพยากร บุคคล ได้แก่ หมวดเงินเดอื น และหมวดเงนิ ประจาตาแหน่ง ทจี่ ัดการรวมข้อมูลเปน็ รายปี จาแนกตามประเภท บุคลากร และ 13 วิชาชีพ ท้ังนี้จานวนบุคลากรสาธารณสุขจะนับจากข้อมูลนี้ โดยยึดจานวนท่ีปฏิบัติงานตาม จ ส่วนอกี 6 หมวดค่าตอบแทนทีเ่ หลอื เก็บจากหน่วยบริการสขุ ภาพ โดยให้หน่วยบริการสขุ ภาพรวมข้อมลู เป็น รายปี จาแนกตามประเภทบุคลากร และ 13 วิชาชีพเช่นกัน ท้ังน้ีทางทีมผ้ศู ึกษาของกองเศรษฐกิจสุขภาพและ หลักประกันสุขภาพจะทาแบบสารวจส่งไปยังหน่วยบริการสุขภาพเพื่อจัดเก็บข้อมูล นอกจากแบบสารวจแล้ว สาหรบั ทางเลือกน้ีการชี้แจงการจัดเก็บเป็นเรือ่ งที่สาคญั ยิ่ง เพราะการตรวจสอบจะมีขอ้ จากัดมากกว่าการเก็บ รวบรวมขอ้ มูลเปน็ รายบคุ คลมาก
73 3. เก็บข้อมลู ทั้งหมดจากหนว่ ยบริการสุขภาพ ทางเลือกน้ีจะทาให้ได้ข้อมูลท่ีถูกต้องมากท่ีสุด แต่อาจเป็นภาระต่อการจัดเก็บข้อมูลของหน่วย บริการสุขภาพ เน่ืองจากจาเป็นต้องเก็บข้อมูลตามแบบสารวจท่ีทางผู้ศึกษาของกองเศรษฐกิจสุขภาพและ หลักประกันสุขภาพออกแบบข้ึน ในอนาคต ควรกาหนดให้หน่วยบริการสุขภาพจัดส่งข้อมูลดังกล่าวอย่างเป็น ระบบให้แก่ส่วนกลาง เพื่อส่วนกลางจะได้มีข้อมูลในการวางแผนบริหารทรัพยากรบุคคลภายใต้หน่วยบริการ สุขภาพสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุขต่อไป ท้ังนี้ควรมีการประชุมผู้มีส่วน เกยี่ วข้องมารว่ มกันบรู ณาการขอ้ มูล เพอ่ื ลดความซา้ ซอ้ นของการจดั เก็บข้อมูล และยังช่วยลดภาระให้แก่หน่วย บรกิ ารสุขภาพอกี ดว้ ย วธิ ีนี้จะมีแบบสารวจดังต่อไปนี้
แบบสารวจการเก็บขอ้ มลู สาหรบั จัดทาดชั นรี าคาค่าแรงของบคุ ลากรสาธารณสุขใน A1 A2 A3 A4 A5 A6 รหัสหนว่ ย ช่ือหนว่ ย id เขตสขุ ภาพ จงั หวดั อาเภอ บรกิ าร บริการ ปงี สุขภาพ สุขภาพ C1 C2 C3 C4 เงินเดอื น เงินประจาตาแหนง่ ค่าตอบแทน พตส.
74 นหน่วยบรกิ ารสขุ ภาพ A9 A10 A11 A12 A7 A8 งบประมาณ รหสั บคุ ลากร ประเภทบุคลากร รหสั วชิ าชพี ประเภทวิชาชพี จานวน (คน) C5 C6 C7 C8 P4P ค่าเวร เบี้ยเลยี้ งเหมาจา่ ย คา่ ตอบแทนกรณไี ม่ ทาเวชปฏบิ ัติ
75 บรรณานกุ รม Dennis Trewin. (2004). Labour Price Index; Concepts, Sources and Methods. Australian Bureau of Statistics . Health Insurance Group in Office of Permanent Secretary . (2013). financial report in 2013. Nonthaburi: Ministry of Public Health (MOPH). Horst Rinne. (1981). Ernst Louis Etienne Laspeyres, 1834–1913. Jahrbücher für Nationalökonomie und Statistik, 194–215. J. Haughton, และ Khandker, S 2009. (2009). Poverty and Inequality. The World Bank, US. John W. Ruser. (2001). The Employment Cost Index: what is it? Monthly Labor Review. Kamal K. Sharn. (2001). The Labour Cost Index. Statistics Canada. Peter Goodridge. (2007). Index Number. Economic & Labour Market Review , 54-57. Phatthanawilai Inmai, Pudtan Phantunane, และ Thaworn Sakulpanith. (2017). วารสารวจิ ยั ระบบ สาธารณสขุ , 435-450. Victor J. SHEIFER. (1988). The BLS Employment Cost Index: A Conceptual Overview. U.S. Bureau of Labor Statistics. กระทรวงสาธารณสุข. (2556). ระเบยี บกระทรวงสาธารณสุขวา่ ด้วยพนักงานกระทรวงสาธารณสขุ . นนทบุร:ี กระทรวงสาธารณสขุ . ธนาคารแหง่ ประเทศไทย. (2557). ดัชนีค่าจา้ งแรงงาน (Labour Cost Index). Statistics and Information Systems Department . พัฒนาวไิ ล อนิ ใหม, และ ถาวร สกุลพาณชิ ย์. (2556). โครงการจดั ทาดัชนีราคาค่าแรงบคุ ลากรใน สถานพยาบาล. นนทบรุ :ี สานกั วิจัยเพ่ือการพฒั นาหลกั ประกันสขุ ภาพไทย.
76 สานักงานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื น . (2555). การกาหนดอัตราเงนิ เดือนสาหรับคุณวุฒิที่ ก.พ. รับรอง. นนทบุร:ี สานกั งานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื น . สานกั งานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื น. (2553). การบรหิ ารอัตรากาลังลูกจ้างประจา. กทม.: สานกั งาน คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรอื น. (2558). คา่ ตอบแทนพนักงานราชการ (ฉบบั ที่ 8). นนทบรุ :ี สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรอื น. สานักปลดั กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข. (2555). บญั ชีโครงสร้างอตั ราคา่ จ้างลูกจ้างชั่วคราวเงิน นอกงบประมาณ (เงนิ บารุง) สาหรบั กลมุ่ วชิ าชพี และกลุ่มสนับสนุน สงั กดั สานักงานปลดั กระทรวง สาธารณสุข. นนทบุร:ี สานักปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสขุ . สานักวจิ ยั เพ่อื การพัฒนาหลกั ประกันสุขภาพไทย. (2554). ดัชนรี าคาแรงงานของบุคลากรในระบบสาธารณสุข กรณศี ึกษาจากการสารวจภาวะการทางานของประชากร. นนทบุรี: สานกั วจิ ยั เพ่อื การพฒั นา หลกั ประกันสขุ ภาพไทย. อโนทยั พทุ ธารี, ววิ ัฒน์ ภูมนิ าถ, และ พรสวรรค์ รักเป็นธรรม. (2557). ดัชนีค่าจา้ งแรงงาน (Labour Price Index). Statistics and Information Systems Department, 1-17.
77 ภาคผนวก ก เงินเดอื น
78 ภาคผนวก ข เงินประจาตาแหน่ง
79 ภาคผนวก ค คา่ ตอบแทนนอกเหนือจากเงนิ เดือน
80 ภาคผนวก ง ค่าเบีย้ เลยี้ งเหมาจ่ายและคา่ ตอบแทน ตามผลปฏิบัตงิ าน
81 ภาคผนวก จ โครงสร้างอตั ราคา่ จ้างลกู จ้างชวั่ คราว
Search