Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore PGMFI คู่มือ เวฟ 125 i

PGMFI คู่มือ เวฟ 125 i

Description: PGMFI คู่มือ เวฟ 125 i

Search

Read the Text Version

คาํ นาํ คมู อื ประกอบการอบรมรถจักรยานยนตร ุน Wave125-I ใหมน่จี ดั ทาํ ข้ึนเพื่อใหน ายชา งประจํา ศนู ยบรกิ ารรถจักรยานยนตฮอนดา ไดใชในการศึกษาเรยี นรูระบบการทํางานตา งๆของเคร่อื งยนตระบบหัวฉีดซง่ึ ในรถรุน Wave125-I ใหมนี้เปน รุน ทสี่ องของฮอนดาแลวที่ไดม ีการตดิ ต้งั ระบบการจายนาํ้ มนั เช้ือเพลงิ แบบ ใชหวั ฉีดระบบ PGM-FI ซงึ่ ถือไดวา เปนเทคโนโลยใี หมล าสดุ ของรถจกั รยานยนตฮอนดาในขณะนี้ คณะผูจดั ทําหวังเปน อยา งย่ิงวา คูมือประกอบการอบรมเลม นจี้ ะเปนประโยชนกบั นายชางทุกคน ฝายบริการหลังการขาย บรษิ ัท เอ.พ.ี ฮอนดา จาํ กดั

สารบัญ 1 5 1. ขอมลู ทางเทคนคิ 6 2. ขอแตกตางระหวางรนุ เกา กับรุน ใหม 9 3. หลกั การเบื้องตนของระบบฉีดเชื้อเพลิง 10 4. ตําแหนงอุปกรณข องระบบ 11 5. แผนผงั ระบบ PGM-FI 12 6. ระบบควบคุมอเิ ล็กทรอนิกส 18 7. ตวั ตรวจจับสญั ญาณ 21 8. ระบบเช้อื เพลิง 24 9. ระบบประจุอากาศ 25 29 10. ECM 30 32 11. ระบบวินจิ ฉัยขอขัดของดว ยตวั เอง 34 12. การเรยี กดรู ายการปญหา 36 13. การลบขอ มูล 37 14. การปรับต้งั ตัวตรวจจบั ตําแหนง ลนิ้ เรง 43 15. การถอดทอนํ้ามนั แรงดนั สูง 16. การประกอบทอ นํ้ามนั แรงดันสูง 17. ปญหาขอ ขัดของ 18. วงจรไฟ

ขอมลู ทางเทคนคิ WAVE 125 i หวั ขอ รายการ คา มาตรฐาน ขนาด ตังถัง ความยาวตัวรถ 1,881 มม. ( 74.1 น้ิว ) เครอื่ งยนต ความกวางตัวรถ 706 มม. ( 27.81 น้ิว ) ความสงู ตัวรถ 1,082 มม. ( 42.6 น้ิว) ระยะหางลอหนา - ลอ หลงั 1,239 มม. ( 48.8 น้ิว ) ความสงู ของเบาะนั่ง 761 มม. ( 30.0 นวิ้ ) ความสงู ของพักเทา 266 มม. ( 10.5 นิ้ว ) ระยะหางจากพื้น 130 มม. ( 5 .11 น้ิว ) นํ้าหนกั สทุ ธิ 97 กก. ( 213.8 ปอนด )< NF125> 99 กก. ( 218.3 ปอนด )< NF125M> แบบตวั ถัง แบบแบคโบน ( BACK BONE) ระบบกนั สะเทือนหนา / ระยะยุบ แบบเทเลสโคปค / 80.5 มม. ( 3.17 นวิ้ ) ระบบกันสะเทอื นหลงั / ระยะยุบ แบบสวงิ อารม / 81.8 มม. ( 3.22 น้วิ ) ขนาดยางหนา 60/100 - 17 M/C 33 P ขนาดยางหลัง 70/90 - 17 M/C 43 P เบรคหนา แบบดสิ กเบรค / ไฮดรอลิค เบรคหลัง แบบดรมั เบรค มุมแคสเตอร / ระยะเทรล 26° 30' / 68 มม. ( 2.7 นว้ิ ) ความจุถงั นา้ํ มนั เชือ้ เพลิง 4 ลิตร กระบอกสูบ X ระยะชัก 52.4 X 57.9 มม. ( 2.06 X 2.28 นวิ้ ) ปริมาตรกระบอกสูบ 124.8 ซม.3 ( 7.61 น้ิว ) อตั ราสว นการอัด 9.3 : 1 ความจนุ ้ํามันเครื่อง หลงั เปล่ยี นถาย 0.7 ลติ ร ( 700 ซีซี. ) หลงั ประกอบเครื่องยนต 0.9 ลิตร ( 900 ซซี ี. ) ระบบขับเคล่ือนวาลว โซราวลิน้ แบบซบั เสยี ง วาลวไอดี เปด ท่ี 1 มม. 5 ° กอ นศูนยตายบน ปด (0.04 น้วิ ) 22° หลังศนู ยตายลาง วาลวไอเสยี เปด 37° กอ นศนู ยตายลาง ปด -3° หลังศูนยต ายบน ระยะหางวาลว ( ขณะเย็น ) วาลวไอดี 0.05 ± 0.02 มม. ( 0.002 น้ิว ) วาลวไอเสยี 0.05 ± 0.02 มม. ( 0.002 นวิ้ ) ระบบหลอ ลนื่ ใชแรงดัน / แบบอา งเปยก ปม น้าํ มนั เคร่ือง แบบหมนุ

2 หวั ขอ รายการ คามาตรฐาน เครอื่ งยนต ระบบระบายความรอน ระบายความรอนดวยอากาศ ไสกรองอากาศ แบบกระดาษ เพลาขอ เหวยี่ ง แบบแยกสวน การวางเครื่องยนต สบู เดียววางเอียง 80° จากแนวดิ่ง นํ้าหนกั เครื่องยนตข ณะยังไมเติม NF125 22.3 กก. ( 49.2 ปอนด ) นาํ้ มัน NF125M 24.2 กก. ( 53.4 ปอนด ) ระบบจา ยนํา้ มัน PGM-FI [PROGRAMMED FUEL INJECTION ] ระบบจา ย ขนาดของคอคอด นํ้ามนั เชือ้ เพลิง แบบปม แรงดันสงู 22 มม. [0.9 in ] อัตราการไหล แบบใบพดั ( TURBINE PUMP ) ระบบสง กําลัง หวั ฉดี อยางนอ ย 13.9 cc./ 10 วินาที ทแ่ี บตเตอร1ี่ 2 โวลท ความตานของหวั ฉดี แบบรู (ที่ 20oC/68oF) ตัวควบคมุ แรงดัน 10.2-11.4 โอหม ความเรว็ รอบเดินเบา ระบบคลัทช 294 kpa (3.0 kgh/cm2,43 psi) ระบบการทาํ งานของคลทั ช 1,400 + 100 รอบตอนาที ระบบสงกาํ ลัง แบบเปย กหลายแผน ซอนกนั อตั ราทดขน้ั ตน แรงเหวี่ยงหนีศูนยกลาง อตั ราทดข้ัสุดทาย 4 เกียร แบบขบกนั ตลอด อัตราทด เกียร 1 3.350 ( 67 / 20 ) เกยี ร 2 เกยี ร 3 2.428 ( 34 / 14 ) เกยี ร 4 การเปล่ียนเกยี ร 2.500 ( 35 / 14 ) ระบบจดุ ระเบดิ 1.550 ( 31 / 20 ) ระบบสตารท เครื่องยนต 1.150 ( 23 / 20 ) ระบบไฟฟา หวั เทียน มาตรฐาน 0.923 ( 24 / 26 ) สาํ หรับขับขีด่ ว ยความเรว็ สูง ระยะหางเขีย้ วหัวเทยี น N - 1 - 2 - 3 - 4 (– N) ( เกยี รว นขณะรถหยดุ นิง่ ) ดิจิตอลทรานซีสเตอรเต็มรูปแบบ NF125 สตารท เทา NF125M มอเตอรส ตารท / สตารท เทา CPR6EA-9 (NGK) หรอื U20EPR9 (DENSO) CPR7EA-9 (NGK) หรือ U22EPR9 (DENSO) 0.80 - 0.90 มม. (0.031 - 0.035 น้ิว)

3 หัวขอ รายการ คา มาตรฐาน ระบบไฟฟา ระบบไฟชารจ เฟสเดียวจากอัลเทอรเนเตอร เรคกูเลเตอร / เรคตไิ ฟเออร SCR เฟสเดียวเรยี งกระแสครงึ่ คร่ืน ระบบแสงสวาง อัลเทอรเนเตอร องศาการจดุ ระเบิด 10o กอ นศนู ยตายบน ท่ี 1,400รอบ/นาที แบตเตอรี่ 125C, 125MC ฟวสหลัก / ฟวสรอง YTZ3,YTZ5S ( YUASA ) 15 / 10 A

4 KPHX : Fuel Injection System Step 2 รถจกั รยานยนต รุน Wave 125i ใหมไดมีการพัฒนาระบบการจา ยนาํ้ มนั เชือ้ เพลิงแบบ PGM-FI Step 2 เขา มาใชซึ่งเปน ระบบทพ่ี ัฒนามาจากระบบ PGM-FI Step 1 โดยการออกแบบใหง ายตอการตรวจเช็คซอ มและการ บํารุงรกั ษาตางๆ ไดม ีการแยกอุปกรณควบคุม(กลองECM) ออกจากเรอื นลิ้นเรงและเซนเซอรทัง้ สามตัวไดแ ก เซนเซอร ตรวจจบั อณุ หภูมิอากาศ,เซนเซอรต รวจจับตําแหนงลิน้ เรง, เซนเซอรต รวจจบั ความดันในทอ ไอดี ซ่งึ จากการออกแบบ ดงั กลาวทําใหสามารถตรวจเช็คและเปล่ยี นเซนเซอรต างๆ ไดในกรณที ีเ่ กดิ ความเสียหาย นอกจากน้ันยังมกี ารเปลย่ี น ตําแหนงการตดิ ต้ังตวั ควบคมุ แรงดันของนา้ํ มันในระบบโดยยายไปอยใู นถังน้าํ มันเชอ้ื เพลิงซ่ึงตดิ ตงั้ เปนชุดเดียวกันกบั ปม นาํ้ มันเช้อื เพลงิ ทาํ ใหไมจาํ เปนตองมที อน้าํ มันไหลกลบั เหมือนกบั PGM-FI Step1 ซึง่ จากการเปลย่ี นแปลงน้ีทําให ความดันของน้ํามันในระบบคงท่อี ยูตลอดเวลาท่คี วามดัน 294 Kpa ในทกุ สภาพการทํางานของเคร่ืองยนต

ขอแตกตางของ KPHL กบั KPHX 5 STEP 1 KPHL STEP 2 KPHX THB ECM เรือนลิ้นเรง และ ECM ยดึ ติดเปนชดุ เดยี วกนั เรือนลิ้นเรง กบั กลอ ง ECM แยกออกจากกนั หัวฉีดแบบ DN-C3 หัวฉีดแบบ KN-7 INJ เซนเซอรมมุ เอียง เซนเซอรม มุ เอียง มที อทางนํ้ามันไหลกลบั ไมมีทอทางนํ้ามันไหลกลบั มตี ัวควบคมุ แรงดัน นาํ้ มันตดิ ตั้งเปนชดุ เดยี วกันกับปม FPM

6 หลักการทํางานเบ้ืองตนของระบบฉดี นาํ้ มนั เชือ้ เพลิงในรนุ KPHX นํ้ามนั เช้ือเพลิงในถังจะถูกสง ผานกรองน้ํามนั ไปยังหัวฉีด ( Injector ) ซึง่ ติดต้ังอยบู รเิ วณทอ ไอดีโดยใช ปม นํ้ามันเชอ้ื เพลิงแบบไฟฟา ซงึ่ ติดตงั้ อยูภายในถังน้ํามันพรอ มกับตัวควบคุมแรงดันน้ํามันเชอ้ื เพลิง ซึ่งยึดติดเปนชุด เดยี วกนั กบั ปม น้ํามนั เชอื้ เพลิง ซ่งึ จะทําหนาทีค่ วบคมุ แรงดันน้ํามนั เช้ือเพลงิ ในระบบใหคงทีอ่ ยูตลอดเวลาในทุกสภาพการ ทาํ งานของเคร่อื งยนต ทคี่ วามดัน 294 Kpa สง ไปยังหวั ฉีด เม่ือกลอง ECM ตอวงจรไฟฟา ของชุดหัวฉีดลงกราวด เข็มหวั ฉดี จะยกตัวขึ้น ทาํ ใหนํ้ามันเชื้อเพลิงที่มีแรงดนั สงู ถกู ฉดี เขา ไปผสมกับอากาศภายในทอไอดีเพื่อบรรจุเขา กระบอก สบู ปริมาณน้ํามันเชื้อเพลงิ ทถ่ี ูกฉีดออกมาจะมีปรมิ าณมากหรอื นอย ขึ้นอยกู ับระยะเวลาทก่ี ลอง ECM ตอวงจรไฟฟาของ ชดุ หัวฉีดลงกราวด กลาวคือ ถาตองจรไฟฟาของชุดหัวฉีดลงกราวดนาน จะทาํ ใหเ ข็มของหัวฉดี เปด นาน สง ผลใหป รมิ าณ ของนา้ํ มันเช้ือเพลงิ ทีฉ่ ดี ออกมามีปริมาณมากตามไปดวย ระบบฉดี น้ํามันเชื้อเพลิง PGM-FI แบบ D-Jetronic เปน ระบบท่มี ีการควบคุมระยะเวลาการฉดี นาํ้ มันเชื้อเพลิงของหวั ฉดี โดยวธิ กี ารวดั แรงดันของอากาศในทอ ไอดี ดว ยตัวจับความดนั ในทอ ไอดี แลวเปล่ียนเปนสัญญาณไฟฟาสงเขา กลอ ง ECM เพื่อกําหนดระยะเวลาในการฉดี นํา้ มัน เชอ้ื เพลิงของหัวฉีดใหเหมาะสมกับปริมาณอากาศทีเ่ ขากระบอกสูบ หลกั การทํางาน ขณะทเี่ คร่อื งยนตม ีความเร็วรอบตํ่า ลน้ิ เรง จะเปดใหอ ากาศไหลเขา กระบอกสูบนอยเปน ผลใหความดันในทอไอดี ตา่ํ ตัวตรวจจบั ความดันในทอไอดี จะสงสัญญาณไฟฟาทีส่ ัมพันธกบั ความดันอากาศในทอ ไอดใี นขณะนั้น เขาไปทกี่ ลอ ง ECM ในสภาวะแบบน้ีกลอ ง ECM จะสัง่ จายน้าํ มันเชอ้ื เพลิงนอ ย และในทางกลับกันหากบิดคนั เรง มากขึน้ จะทาํ ใหมี อากาศไหลเขา กระบอกสูบมากข้ึน เปนผลใหค วามดันในทอ ไอดีสงู ขนึ้ ในสภาวะแบบนก้ี ลอ ง ECM จะส่ังจา ยน้ํามัน เชอ้ื เพลิงมากขนึ้

7 การควบคุมระยะเวลาในการฉีดนาํ้ มนั เชอื้ เพลิง ระบบจะมีการควบคมุ ระยะเวลาในการฉดี นา้ํ มันเช้ือเพลิง ออกเปน 2 สว นดว ยกัน คือ การควบคุมระยะเวลาการ ฉีดพ้ืนฐาน และการเพิ่มระยะเวลาในการฉีดตามสภาวะการทํางานของเครือ่ งยนต โดยมีรายละเอยี ดการควบคมุ ดงั นี้ การควบคุมระยะเวลาในการฉีดพนื้ ฐาน กลอง ECM จะไดรบั สญั ญาณไฟฟาจากตวั ตรวจจบั ความดันในทอไอดี และสัญญาณความเร็วรอบของ เครื่องยนต สัญญาณไฟฟา ท้งั สองจะเปนสญั ญาณท่ใี ชสําหรับ กําหนดระยะเวลาในการฉีดนาํ้ มันเชื้อเพลิงของหัวฉดี ระยะเวลาในการฉดี ที่ไดจากสัญญาณทั้งสองนจ้ี ะเรียกวา ระยะเวลาในการฉีดพื้นฐาน อากาศ ตวั ตรวจจบั ความดนั ใน ทอ ไอดี หัวฉดี ตวั ควบคุมความดนั ทอไอดี ปม นาํ้ มนั กรองนา้ํ มัน สัญญาณความดนั ในทอ ไอดี ถงั นาํ้ มันเชื้อเพลงิ ECM เคร่อื งยนต สัญญาณความเรว็ รอบเคร่ืองยนต สัญญาณการฉดี ไดอะแกรมการควบคุมระยะเวลาในการฉีดพนื้ ฐาน หมายเหตุ สญั ญาณความเร็วรอบของเคร่อื งยนตจ ะใชเปนขอมลู ในการคาํ นวณหาปรมิ าณอากาศตอรอบการทาํ งานของ เครอ่ื งยนต พรอมทั้งเปนตัวกําหนดจังหวะการจุดระเบิด และจงั หวะเริ่มตนการฉีดนํ้ามันเชอ้ื เพลงิ ของหัวฉีด

8 การเพม่ิ ระยะเวลาในการฉีดนํา้ มันเชอ้ื เพลิง เน่ืองจากเครือ่ งยนตตองทํางานภายใตสภาวะตา งๆ ทม่ี ีการเปลี่ยนแปลงอยตู ลอดเวลาจึงทาํ ใหอ ตั ราสว นผสมท่ีได จากสญั ญาณการฉดี พ้นื ฐานไมส ามารถตอบสนองตอความตอ งการของเครือ่ งยนตในทุกสภาวะการทํางานได ดังน้ันจึงตอ ง มีตัวตรวจจบั สภาวะการทํางานของเครอ่ื งยนต ( Sensor ) เปน ตัวสง ขอมลู สภาวะการทํางานตางๆของเคร่ืองยนตใหก ลอง ECM ทราบ เพือ่ ทีก่ ลอ ง ECM จะไดนําขอ มูลเหลา นั้นไปประมวลผลคํานวณหาปรมิ าณเชอ้ื เพลงิ ท่เี ครอื่ งยนตต องการ ในสภาวะน้นั ๆ แลวส่ังใหห ัวฉดี ฉีดนํา้ มันออกมาผสมกับอากาศใหไ ดส ว นผสมท่ีพอเหมาะทสี่ ดุ TA ตัวตรวจจับอณุ หภูมิอากาศ อากาศ THR ตัวตรวจจบั ตาํ แหนงล้นิ เรง ตัวตรวจจบั ความดนั ทอไอดี หวั ฉดี ตวั ควบคมุ ความดนั ในทอไอดี ปม นํ้ามัน กรองน้าํ มัน สัญญาณความดนั ในทอไอดี สัญญาณอณุ หภมู นิ ้าํ มันเคร่อื ง ECM เคร่ืองยนต สญั ญาณความเรว็ รอบเครอื่ งยนต ถงั นาํ้ มัน สญั ญาณการฉดี ไดอะแกรมเพ่ิมระยะเวลาในการฉดี นาํ้ มันเชือ้ เพลงิ สว นประกอบของระบบ - ตัวตรวจจับสญั ญาณ ( SENSOR ) - ปม นาํ้ มันเชื้อเพลงิ ( FUEL PUMP ) - ทอทางน้าํ มันเช้ือเพลิง ( FUEL HOSE ) - กลองควบคุม ( ENGINE CONTROL MODULE ) - หัวฉดี ( INJECTOR ) - หลอดไฟเชค็ เครือ่ งยนต ( FI-INDICATOR )

9 ตําแหนง ของอปุ กรณร ะบบ PGM-FI ใชร ปู กับคูมือซอม ตัวตรวจจบั การเอยี งของรถ กลอ ง ECM ตัวตรวจจับอณุ หภูมิ น้าํ มนั เครื่อง ตวั เรอื นหัวฉดี หัวฉีด เรกกเู ลเตอร/ เรกตไิ ฟเออร ทอทางเดนิ นา้ํ มนั ถังนํา้ มนั เชอ้ื เพลิง ปม นาํ้ มันเช้อื เพลงิ และตัวควบคมุ แรงดนั

10 แผนผงั ระบบ PGM - FI ใชร ูปกับคูมอื ซอม 1.สวทิ ชจ ดุ ระเบิด 12.คอยลจุดระเบดิ 2.ฟวสห ลกั (15 A) 13.ตัวตรวจจบั อุณหภมู ิอากาศ 3.ฟว สรอง (10 A) 14.ตวั ตรวจจบั ตําแหนงลน้ิ เรง 4.แบตเตอร่ี 15.ตัวตรวจจบั ความดันในทอ ไอดี 5.เรกกูเลเตอร/ เรกติไฟเออร 16.หวั ฉีด 6.เกจวดั ระดบั น้ํามนั เชอ้ื เพลิง 17.หวั เทียน 7.หลอดไฟแสดงความผิดปกติ 18.สวทิ ชไฟเกียรว าง 8.หลอดไฟเกยี รว าง 19.พลั ซเซอรค อยล 9.ตัวตรวจจบั การเอียงของรถ 20.ตวั ตรวจจบั อณุ หภมู นิ ้ํามนั เครอื่ ง 10.ข้ัวตรวจสอบ 21.อัลเทอรเ นเตอร 11.ปม นาํ้ มันเชื้อเพลิง

11 ระบบควบคุมอเิ ล็กทรอนกิ ส ระบบควบคุมอิเลก็ ทรอนิกสประกอบดวย ECM, ตัวตรวจจับสญั ญาณ, และอปุ กรณทํางาน ECM จะรับ สัญญาณไฟฟาจากตัวตรวจจับสัญญาณ และควบคุมการทํางานตางๆ เชน หวั ฉีดและปมนํา้ มันเชือ้ เพลงิ หนวยตรวจสอบ หนว ยควบคมุ อุปกรณทาํ งาน ตัวตรวจจับตําแหนง ล้ินเรง ควบคมุ การฉดี นํ้ามันเช้อื เพลิง หัวฉดี ตัวตรวจจบั ความดนั ในทอ ไอดี ควบคมุ การทํางานของ ปม นาํ้ มันเช้ือเพลงิ ตัวตรวจจบั อุณหภมู อิ ากาศ ปมน้ํามันเช้อื เพลิง ตัวตรวจจับอุณหภูมิน้าํ มันเครือ่ ง คอยลจุดระเบดิ ตวั ตรวจจบั ความเรว็ รอบเครอื่ งยนต ควบคมุ การทาํ งานของ ระบบจดุ ระเบิด หลอดไฟวิเคราะห ตัวตรวจจบั มมุ เอียงของรถ ปญ หา(FI) ขว้ั ตรวจสอบ ควบคุมการทาํ งานของหลอดไฟ แสดงความผิดปกติระบบวนิ จิ ฉัย ขอ ขดั ขอ งดว ยตัวเอง วงจรจา ยพลังงาน ( POWER SUPPLY CIRCUIT ) แหลง จายพลังงานในรถจักรยานยนตรุน ใหม มีอยูด วยกัน 2 แหงดว ยกนั คอื 1. แบตเตอรี่ 2. อลั เทอรเนเตอร ซ่งึ ระบบจายพลังงานสามารถแยกการทํางานออกเปน 2 กรณีคอื แบบปกตแิ ละแบบฉกุ เฉิน ซ่ึงมีหลักการทํางาน ดงั นี้ 1. การทํางานแบบปกติ (แบตเตอรี่อยูในสภาพพรอมใชงาน) เม่ือเปดสวิทชจ ุดระเบดิ แบตเตอรีจ่ ะจา ยพลังงานออกมาเล้ยี งระบบตางๆทั้งหมดจนกวาจะสตารท เครื่องยนต และเคร่อื งยนตต ิด ถา เครอื่ งยนตสามารถผลิตไฟฟา ไดม ากกวาแรงเคล่อื นของแบตเตอรเ่ี ม่ือไหรอัลเทอรเนเตอรกจ็ ะเปนตวั จา ยไฟเลยี งระบบแทนแบตเตอร่ีและจา ยไฟไปประจุทีแ่ บตเตอร่ี 2. การทํางานแบบฉุกเฉนิ (แบตเตอรี่อยูไมอยูในสภาพทีพ่ รอมใชงาน) อัลเทอรเนเตอรจะเปนตัวจายพลังงานไฟฟา ออกมาเลย้ี งระบบท้ังหมดโดยไดพลังงานไฟฟามาจากการสตารท เครอื่ งยนต ซ่ึงรนุ นี้ไดม ีการออกแบบชุดเรคติไฟเออรใหมใ หมีความสามารถในการจายกระแสไฟไปออกมาเล้ียงระบบได มากขึ้นโดยท่ีเรคกเู รเตอร-เรคติไฟเออร จะมีตัวเกบ็ ประจุอยูภายในซ่ึงจะชวยทําใหแ รงเคลื่อนท่จี ายออกมาจาก อลั เทอรเ นเตอรใ นระหวางการสตารทดวยคนั สตารทมคี วามคงที่และเพยี งพอในการติดเครอ่ื งยนต

15A 10A 12 TO STARTER. SW. STARTERRELAY TO BAT2 V02 DIMMER .SW. BAT1 VO1 FUELPUMP BANKANGLESENSOR ALTERNATOR วงจรจายพลงั งาน ตัวตรวจจบั สญั ญาณ ( SENSOR ) มีหนา ทต่ี รวจจับความเปล่ียนแปลงตางๆ แลวสง ขอ มลู เขา ไปทก่ี ลอง ECM แลว นาํ ขอมูลเหลานั้นไป ประมวลผล เพื่อหาปรมิ าณการฉดี และจงั หวะในการจดุ ระเบดิ ท่ีเหมาะสมทสี่ ดุ ในรถรุนนี้ ไดมกี ารติดตั้งตัวตรวจจับ สญั ญาณตางๆ ดังน้ี 1.ตัวตรวจจบั อุณหภูมอิ ากาศ 2.ตวั ตรวจจับความดันในทอไอดี 3.ตวั ตรวจจบั อุณหภูมนิ ํ้ามนั เครื่อง 4.ตวั ตรวจจบั ตําแหนงลิ้นเรง 5.ตวั ตรวจจับความเร็วรอบเครื่องยนต 6.ตวั ตรวจจบั มุมเอียงของรถ ใชรปู กับคูมือซอม

13 ตวั ตรวจจบั อณุ หภูมอิ ากาศในทอ ไอดี ( Intake Air Temperature Sensor : IAT ) เปนอุปกรณท ี่ใชสําหรับตรวจจบั อุณหภมู ขิ องอากาศที่บรรจเุ ขากระบอกสูบ และเปล่ยี นเปน สัญญาณไฟฟา สงเขา กลอ ง ECM เพื่อปรับเปล่ยี นระยะเวลาในการฉีดเช้ือเพลิงใหเหมาะสมกับอณุ หภมู ขิ องอากาศที่เปลยี่ นแปลงไป ตัวตรวจจบั อณุ หภูมอิ ากาศเปนเทอรม ิสเตอรท ่สี ามารถตรวจจับการเปล่ียนแปลงอุณหภมู ขิ องอากาศไดถ งึ แมจะ เปน เพียงความรอนแคเล็กนอ ย ซงึ่ ติดตั้งอยูด านหนา ของลิ้นปก ผเี สอ้ื เพือ่ ตรวจสอบอุณหภมู ิของอากาศทจ่ี ะบรรจุเขา กระบอกสบู โดยตวั ตรวจจบั อุณหภูมิอากาศจะประกอบเปน ชดุ เดียวกันกบั ตัวเรือนล้นิ เรง คาความตานทาน (K Ω ) ตัวตรวจจับอุณหภูมอิ ากาศ -20 0 20 40 60 80 1 อุณหภูมอิ ากาศ oC จากหลักการของระบบ ปริมาณอากาศที่บรรจุเขากระบอกสูบจะเปน ขอ มูลใหก ลอง ECM คํานวณหาระยะเวลา ในการฉดี นํ้ามันเช้ือเพลิงใหไ ดสวนผสมระหวางอากาศกับนาํ้ มันเช้ือเพลิงตามทฤษฎี แตด วยเหตุท่ีอณุ หภมู ิของอากาศไม คงท่จี งึ ทาํ ใหความหนาแนน ของอากาศเปลี่ยนแปลงไป คอื ถา อุณหภมู ขิ องอากาศสงู ขึ้นความหนาแนนจะนอ ยลง จากการท่ี ความหนาแนนของอากาศเปลีย่ นแปลงไปจะทําใหการจา ยสว นผสมผดิ พลาดได ดังนั้นจึงจําเปนตอ งมีตวั ตรวจจับอณุ หภมู ิ ของอากาศกอ นที่จะเขา เครือ่ งยนต ตรวจจบั อณุ หภูมขิ องอากาศแลว สง ขอ มลู ใหกับกลอง ECM เพ่อื ทีจ่ ะนําขอ มูลทไี่ ดไ ป คํานวณหาปรมิ าณอากาศทแ่ี ทจรงิ แลว สง่ั จายเชือ้ เพลิงในปริมาณทีเ่ หมาะสมกับปรมิ าณอากาศในขณะนั้น กลาวคอื ถา อุณหภมู ิของอากาศต่าํ หมายความวาความหนาแนน ของอากาศจะมากดว ยกลอ ง ECM จะส่ังจาย น้ํามนั เช้อื เพลิงมาก ( หัวฉดี เปด นาน ) ในทางกลับกัน ถาอุณหภมู ิของอากาศสูง หมายความวาความหนาแนน ของอากาศจะ นอ ยกลอง ECM จะส่งั จายนํ้ามนั เชอื้ เพลิงนอ ย ( หัวฉดี ปดเร็ว )

14 ตวั ตรวจจับความดนั ในทอ ไอดี ( Manifold Absolute Pressure Sensor : MAP ) ทาํ หนาที่ตรวจวัดปรมิ าณอากาศดว ยการตรวจจบั ความดันภายในทอไอดี แลวเปลยี่ นเปนสัญญาณไฟฟา สง เขา กลอ ง ECM เพ่ือกาํ หนดระยะเวลาในการฉดี พ้ืนฐานของหวั ฉีด ตัวตรวจจบั ความดนั ในทอ ไอดี เปนความตานทานทเ่ี ปลย่ี นแปลงไดแ บบ สารกึ่งตัวนาํ ซง่ึ จะเปลี่ยนความดนั ให เปน สญั ญาณไฟฟาสง ไปท่ีกลอง ECM กลอง ECM จะรับขอมูลความดันสมบูรณภ ายในทอ ไอดี จากสัญญาณทสี่ ง มาจากตวั ตรวจจับความดันใน ทอไอดี และสัญญาณความเร็วรอบของเคร่ืองยนต ซง่ึ จะเปนขอมลู ในการส่งั จายน้ํามันเชื้อเพลิงข้นั พืน้ ฐานใหม ีความ เหมาะสมกับความตองการของเครื่องยนต กลา วคอื ถาความดนั ภายในทอไอดสี งู กลองควบคุม ( ECM ) จะส่งั จายนํ้ามันเชอื้ เพลงิ มาก เพราะมีปรมิ าณ อากาศมาก ในทางกลบั กัน ถา ความดันในทอ ไอดตี าํ่ กลอ งควบคุม ( ECM ) จะส่งั จายนาํ้ มันเชื้อเพลิงนอยเพราะปรมิ าณ อากาศนอ ย ตัวตรวจจับความดนั จะติดต้ังอยูดานหลังของล้ินปกผเี สื้อ เพื่อตรวจจับความดันของอากาศกอนที่จะเขาเครือ่ งยนต โดยตวั ตรวจจบั ความดันจะประกอบเปน ชุดเดยี วกันกับตัวเรือนลิ้นเรง ตัวตรวจจับความดนั ในทอไอดี ตัวตรวจจบั ความดันในทอไอดี ตวั ตรวจจบั ตําแหนงลนิ้ เรง ( Throttle Position Sensor : TPS ) ทําหนา ที่ตรวจจับตาํ แหนงการเปดของล้นิ เรงแลวสงเปนสัญญาณไฟฟาเขา กลอง ECM เพือ่ เปน ขอมูลในการ สั่งจายนาํ้ มันเชื้อเพลิงใหม คี วามเหมาะสมกับความตองการของเคร่อื งยนตใ นขณะนัน้ และเปน ขอ มูลในการส่งั ตัดการจา ย น้ํามันเช้ือเพลิงเมือ่ ผอ นคันเรง โดยการเปรียบเทยี บสัญญาณกับสัญญาณความเร็วรอบของเครือ่ งยนตและสญั ญาณอณุ หภูมิ ของนาํ้ มันเครื่อง ตวั ตรวจจบั ตําแหนงล้นิ เรง จะบอกการเปด ของลิ้นเรงออกมาเปนสญั ญาณทางไฟฟา ซึ่งเกิดจากความตานทานท่ี เปลีย่ นแปลงไดทต่ี ดิ ตั้งอยูท ่ีสว นปลายของเพลาลน้ิ เรง แลวสง สญั ญาณไฟฟาดังกลาวไปท่กี ลอ งECM

15 เซนเซอรล้นิ เรง ตวั ตรวจจับตาํ แหนง ลนิ้ เรง การทํางาน ที่ตําแหนงลิ้นเรงปดสดุ ชุดหนาสมั ผสั สญั ญาณการเปดลิ้นเรง จะตอท่สี ว นปลายของแผนความตานทานใน ตาํ แหนงนค้ี วามตา นทานจะมาก ทาํ ใหไฟท่จี า ยมาจากขั้ว VCC 5 โวลท ไหลผา นความตา นทานมากจงึ ทําใหไ ฟไหล กลบั ไปทีก่ ลอง ECM ทขี่ ้วั THR นอ ย ( 0.5 โวลท ) ในตาํ แหนง นกี้ ลอง ECM จะส่งั ใหหวั ฉีดจา ยนํ้ามันเชอ้ื เพลิง นอยเมอ่ื บิดคนั เรง มากขนึ้ ชดุ หนาสัมผัสสัญญาณการเปดล้ินเรง จะเคลื่อนทเี่ ขา หาข้วั VCC มากขึ้น ทาํ ใหคาความ ตานทานระหวา งขัว้ VCC กับขวั้ THR ลดลงยอมใหก ระแสไฟไหลกลบั ไปที่กลอง ECM ท่ขี ว้ั THR มากขึ้น เปน ผลใหกลอง ECM สงั่ จา ยนา้ํ มันมากขน้ึ จนล้ินเรง เปด สดุ ความตานทานจะนอ ยท่ีสดุ ทาํ ใหไ ฟไหลกลบั ไปทก่ี ลอง ECM ไดมากท่ีสดุ ( 4.47 โวลท ) ตัวตรวจจบั ตําแหนงล้ินเรงจะประกอบเปนชดุ เดียวกันกับตัวเรือนลน้ิ เรง โดยจะเชื่อมตอ อยกู บั แกนหมนุ ของ ลิน้ ปกผเี สือ้ ซ่งึ ติดตั้งอยูที่ทอ ไอดี

16 ตัวตรวจจบั อุณหภูมินํ้ามนั เคร่ือง ( Engine Oil Temperature Sensor : EOT ) ทําหนา ท่ีตรวจจับอุณหภูมิของน้ํามันเคร่อื ง แลวเปล่ยี นเปนสญั ญาณไฟฟา สงเขา กลอง ECM เพื่อเพมิ่ หรอื ลด ปริมาณการฉีดนํ้ามนั เช้อื เพลิง กลา วคอื ถานํ้ามันเครอ่ื งมอี ุณหภูมิต่ํากลอง ECM จะส่ังจายนํ้ามันเชือ้ เพลิงมากข้ึน คา ความตานทาน กโิ ลโอม 7.000 20 40 60 80 100 120 140 160 180 200 6.000 5.000 4.000 3.000 2.000 1.000 0.000 0 อณุ หภมู ินา้ํ มนั เคร่อื ง ( องศาเซลเซยี ส ) ตวั ตรวจจบั อุณหภมู ิน้ํามันเครอ่ื ง อณุ หภมู ิ 20oC 100oC คา ความตานทาน 2.5-2.8 KΩ 0.21-0.22 KΩ ตัวตรวจจบั อณุ หภูมิของน้ํามันเคร่ืองตดิ ตั้งอยทู ี่ดานลางของเสือ้ สบู ภายในประกอบดวยความตานทานแบบมีคา สมั ประสทิ ธ์ทิ างอุณหภูมเิ ปนลบ ซ่งึ จะมคี าความตา นทานลดลงเมอ่ื อณุ หภูมสิ ูงขน้ึ จากคุณสมบัติดงั กลาวจะถกู นาํ ไปใช เปล่ียนเปน แรงดันไฟฟาสง เขา กลอ ง ECM เพอ่ื เปน ขอมูลในการคํานวณหาปรมิ าณนา้ํ มนั เชอ้ื เพลิงท่ีเหมาะสมกบั อณุ หภูมขิ องเครอ่ื งยนตขณะน้ัน ถา เคร่อื งยนตเ ยน็ ความตา นทานจะมาก เปน เหตุใหแรงดันไฟฟาตกครอมทตี่ วั ตรวจจบั อุณหภมู นิ ํ้ามนั เครอ่ื งมาก กลอ ง ECM จะส่ังจา ยนํ้ามนั เชื้อเพลิงมาก และเมื่อเครื่องยนตทํางานจนอณุ หภูมิสูงข้ึน ความ ตานทานจะลดลงเปน เหตใุ หไ ฟฟาสามารถผานตัวตรวจจับอณุ หภูมิของนํ้ามันเครือ่ งไปเขากลอ ง ECM ไดมากกลอ ง ECM ก็จะสัง่ จา ยนา้ํ มนั เชอื้ เพลงิ ใหนอ ยลง ท้ังนกี้ ็เพอ่ื ความเหมาะสมกับสภาวะการทํางานของเคร่อื งยนต

17 ตวั ตรวจจบั ความเร็วรอบเครอ่ื งยนต ( Engine Speed Sensor ) ทาํ หนาที่ตรวจจับความเรว็ รอบเครอ่ื งยนต แลวสงเปนสญั ญาณไฟฟาเขา กลอง ECM เพอื่ เปนขอ มูลพ้ืนฐานใน การคํานวณจังหวะและอัตราการฉดี น้าํ มนั เช้ือเพลิงใหเ หมาะสมกับความเร็วรอบของเครือ่ งยนต และกลอง ECM ยงั ใช สญั ญาณนีไ้ ปคํานวณหาจังหวะจุดระเบดิ ทีเ่ หมาะสมทีส่ ุดสําหรับแตล ะสภาวะการทาํ งานของเครื่องยนต ลอ แมเ หล็ก จดุ ตัดบอกตาํ แหนง องศา พัลเซอรคอยล เพลาขอ เหว่ยี ง ตวั ตรวจจับการเอียงของรถ ( Bank Angle Sensor ) ทาํ หนา ท่ีตรวจจับการเอยี งของรถ เพอ่ื ใหเ กดิ ความปลอดภัยในกรณีรถลม โดยตวั ตรวจจบั การเอยี งของรถจะสง กระแสไฟฟาประมาณ 1 โวลท ไปยังชุดกลอง ECM เมือ่ องศาการเอียงถึงจุดท่กี ําหนดไว เพ่ือแจงใหทราบวาขณะนี้รถ อยูในลกั ษณะเอียง กลอ ง ECM กจ็ ะสงั่ ใหร ะบบ PGM-FI หยดุ ทํางานเปนการปอ งกันไฟใหมใ นกรณีรถเกดิ อบุ ัติเหตุ ลม โดยตวั ตรวจจบั การเอยี งของรถ จะสง่ั ใหก ลอ ง ECM ตดั การทํางานของชดุ ไฟจดุ ระเบิดและหัวฉีด เมอ่ื รถจกั รยานยนตเ อยี งเปนมุมมากวา 55o + 5o ภายในระยะเวลา 4 + 0.5 วินาที โดยการตัดวงจรนจี้ ะเปน การตัดแบบถาวร ถึงแมว ารถจะต้ังข้ึนมาแลว กต็ าม ECM ส่ังใหระบบจดุ ระเบดิ ทํางานอีกคร้งั เม่ือมีการปด-เปดสวิทชจ ดุ ระเบิดใหม ระบบ จึงจะทํางานเปน ปกติ ( ปม นา้ํ มันเชือ้ เพลิงยังคงทํางานตามไดตามเงือ่ นไขเดิม ) 55+5o 55+5o 55o+5 55o+5 ตาํ แหนงติดต้ัง Bank Angle Sensor

18 ระบบฉดี นํา้ มนั เช้อื เพลงิ ในรถจักยานยนตร ุน KPHX สามารถแบง ระบบการทาํ งานไดด ังนี้ 1. ระบบเช้ือเพลิง ทาํ หนา ท่จี ายนาํ้ มนั เชอื้ เพลิงใหกบั เครือ่ งยนตในปรมิ าณท่เี พียงพอตอ ความตองการในทกุ สภาวะการทาํ งานของเครอ่ื งยนต ดวยความดนั คงที่ 294 Kpa ตลอดเวลา ประกอบดวย ถงั นํา้ มันเช้อื เพลิง ปม นํา้ มัน เช้อื เพลิง ตัวควบคมุ แรงดนั นา้ํ มันเช้อื เพลิง ทอ จายน้าํ มันเชอ้ื เพลิง (ทอแรงดนั สงู ) หัวฉีด หัวฉีด ทอ นาํ้ มัน ถงั น้ํามันเชื้อเพลิง ระบบนา้ํ มันเชื้อเพลิง - ปม น้าํ มนั เชื้อเพลิง (Fuel Pump) ทําหนาทีส่ รางแรงดันนาํ้ มันเชื้อเพลิงจากถังสง ไปยังหัวฉีดในปริมาณที่ เพยี งพอตอ ความตองการของเคร่ืองยนตโดยปม น้ํามันเชื้อเพลิงจะตดิ ต้ังอยูภายในถงั น้ํามันเช้อื เพลงิ เปน ปมแบบใบพดั ( Turbine Pump) ขบั ดวยมอเตอร 12 VDC.จายนํ้ามนั เช้อื เพลงิ ดวยอัตราการไหลคงท่ี ท่ีแรงดนั 294 Kpa หรอื 3.0 Kgf/cm2 โดยทอ ดดู ของปม ติดตั้งอยูในตําแหนง ตํ่าสดุ ของถังนํา้ มนั และจะมกี รองตาขายอยดู า นลา งเพ่ือกรองสิ่งสกปรกท่ี มีขนาดตั้งแต 10 ไมครอนขึน้ ไป มอเตอรปมจะถกู สัง่ งานโดยกลอง ECM ลิ้นกันกลับ ตวั ควบคุมแรงดันนาํ้ มันเชือ้ เพลิง กรองนา้ํ มันดานดูด

19 จากการที่ปม นํ้ามันเชือ้ เพลิงจา ยนํ้ามนั ดวยอัตราการไหลคงท่ีตลอดเวลา แตเคร่ืองยนตตองการปรมิ าณนํ้ามันที่ไม คงท่ี ดังนัน้ จึงตองมกี ารควบคุมแรงดันน้ํามันอกี คร้ังโดยตัวควบคุมแรงดันทต่ี ิดตั้งอยกู ับปมน้ํามันเชือ้ เพลงิ ภายในถงั กอ นท่ี จะสงไปยังหัวฉีด ทําใหไมม ีน้ํามันสว นเกินสง ไปยงั หวั ฉีด จึงไมต อ งมที อน้ํามันไหลกลบั เหมือนที่ใชในรนุ KPHL สวนประกอบของปม นา้ํ มนั เชอ้ื เพลงิ ขดลวดอาเมเจอร เรือนปม ใบพัด ทอ ทางจา ย หองปม น้ํามนั ล้นิ กันกลบั มอเตอร ปม นํ้ามนั เช้อื เพลิง ทางจา ย ทางดดู รองของใบพัด ใบพัด รองของใบพัด เรอื นปม ปมนํา้ มันประกอบดวย ขดลวดอาเมเจอร ชุดปม ล้ินกนั กลับ มอเตอร ใบพดั หองปม ทอ ทางดูดทอทางสง และ เรือนปม ปมน้ํามนั จะทาํ งานทุกคร้งั ที่เปดสวิทชกญุ แจโดยกลอง ECM จะเปนตวั สงั่ ใหปม ทาํ งานเปน เวลา 2 วนิ าที แลว ดบั หลงั จากน้นั จะทํางานอีกเมื่อเครื่องยนตตดิ โดยปม น้ํามนั จะทํางานตลอดเวลาถา มสี ัญญาณความเร็วรอบของเครื่องยนต สงมาท่กี ลอง ECM ปมน้าํ มนั เชื้อเพลิงจะหยดุ การทาํ งานอตั โนมตั ิเม่อื ไมมสี ัญญาณความเร็วรอบของเครอ่ื งยนตส ง มาที่ ECM เม่อื ปม หยุดทาํ งานลิ้นกันกลบั จะปดเพื่อรักษาแรงดนั นา้ํ มันในระบบไว

20 หวั ฉีด ( Injector ) ทาํ หนาท่ฉี ีดนํ้ามันเช้อื เพลิงใหเปนฝอยละออง เพ่ือคลกุ เคลากับอากาศบริเวณทอไอดีกอนผานวาลว ไอดีเขา สู กระบอกสบู หัวฉีดที่ใชเปนแบบบงั คับการเปด ของหัวฉีดโดยโซลนิ อยดไฟฟา และปดโดยแรงดันสปรงิ โดยมีโครงสราง ดงั น้ี KPHX (KN-7 Type) หลักการทํางาน นาํ้ มันจากทอ สงไหลเขาหวั ฉีดโดยผา นกรองละเอยี ดทช่ี องทางเขา ผานลงไปยังเขม็ หวั ฉดี ทีป่ ลายดา นลางของ หวั ฉีด ในขณะท่ีหัวฉีดยังไมทํางาน เขม็ หัวฉดี จะถกู สปริงดนั ใหแ นบสนิทอยกู ับบา ของเข็มหวั ฉีดจังหวะน้ีจะไมมีการฉีด นาํ้ มนั เม่อื กลอง ECM สง่ั ใหไ ฟฟา ที่มาจากหวั ฉดี ลงกราวดจะทําใหเกิดสนามแมเ หล็กข้ึนทขี่ ดลวด เสน แรงแมเหล็กที่ เกดิ ขนึ้ จะดูดใหพลังเยอรทอ่ี ยตู รงกลางยกขึ้น เข็มหวั ฉีดทตี่ ิดกับพลังเยอรกจ็ ะยกตวั ขนึ้ จากบาของเขม็ หัวฉดี ทําใหน าํ้ มนั ทีม่ ี แรงดนั ประมาณ 294 Kpa ถกู ฉดี ออกมาจากหวั ฉดี ในลักษณะเปน ฝอยละออง สําหรบั ปรมิ าณน้ํามนั ที่ฉีดออกมาจะมาก หรอื นอยข้นึ อยกู บั ระยะเวลาในการเปด ของหัวฉีด ถา หัวฉดี เปดนานปรมิ าณนํ้ามันท่ฉี ีดออกมากจ็ ะมาก สาํ หรบั หวั ฉีดรนุ น้ี (KN7) เปนหวั ฉดี ทีถ่ ูกพัฒนาข้ึนมาสาํ หรับใชใ นรถรนุ KPHX นี้โดยเฉพาะ มีขนาดเล็ก กระทัดรัดเสียงเบา

21 ตัวควบคุมแรงดนั ( Pressure Regulator ) ติดตั้งอยกู ับปม นา้ํ มันเชือ้ เพลิงในถงั นํ้ามนั มีหนา ท่ีในการรกั ษาแรงดนั น้ํามนั เชื้อเพลงิ ในระบบใหค งที่294 Kpa ตลอดเวลา โดยการระบายแรงดันนา้ํ มันสวนเกนิ กลบั ลงไปในถังนํา้ มนั เชอื้ เพลิงตามเดิม ไปทอ สง จายนาํ้ มนั ไปทอสงจา ยน้าํ มนั ตวั ควบคมุ แรงดนั ตวั ควบคมุ แรงดนั กลับลงถงั นํ้ามัน แรงดันนาํ้ มนั เชอื้ เพลิงปกติ แรงดนั นา้ํ มนั เช้อื เพลิงสูงกวาปกติ ตัวควบคุมแรงดนั กลับลงถังนํ้ามนั 2.ระบบประจอุ ากาศ ทําหนา ที่ประจุอากาศใหก บั เครือ่ งยนตป ระกอบดวย กรองอากาศ เรือนล้ินเรง และทอ ไอดี กรองอากาศ ( Air Cleaner ) ทําหนา ที่กรองสิ่งสกปรกออกจากอากาศทจ่ี ะบรรจเุ ขากระบอกสูบกรองอากาศจะตองมกี ารตรวจเช็คทําความ สะอาดอยเู สมอ และควรเปลีย่ นเม่อื ถึงระยะเวลาท่กี ําหนด เพือ่ ประสิทธิภาพของเคร่อื งยนต เพราะหากกรองอากาศอดุ ตัน จะเปน สาเหตใุ หเครือ่ งยนตส ตารทติดยาก เดินเบาไมเ รียบ หรอื อาจจะสตารท ไมติด และจะสง ผลตอ การทํางานของระบบ อกี ดวย

เรือนลน้ิ เรง ( THROTTLE BODY ) 22 เรอื นล้นิ เรง ชุดเซนเซอร สกรูปรบั รอบเดนิ เบา ท่ตี วั เรือนลิ้นเรงจะประกอบไปดวยอุปกรณท ส่ี ําคัญหลายช้ิน คือ ลิน้ เรง ( Throttle Valve ) สกรูปรบั รอบเดนิ เบา ( Throttle Stop Screw ) ชอ งทางอากาศรอบเดนิ เบา ( Idle Air Passage ) ตวั ตรวจจับตําแหนงลนิ้ เรง ( Throttle Position Sensor : TPS ) ตวั ตรวจจบั อณุ หภูมอิ ากาศ ( Intake Air Temperature Sensor : IAT ) ตัวตรวจจับความดนั ในทอ ไอดี ( Manifold Absolute Pressure Sensor : MAP )

23 ล้ินเรง ( Throttle Valve ) มหี นา ท่คี วบคมุ ปรมิ าณอากาศท่ีไหลเขากระบอกสบู ซงึ่ เปน การควบคมุ ความเร็วรอบของเคร่อื งยนต สกรูปรบั รอบเดินเบา ( Throttle Stop Screw ) สกรปู รับรอบเดนิ เบาจะทําหนาที่เปดชอ งทางใหอากาศไหลเขากระบอกสูบไดโดยไมผ านลนิ้ เรงเน่ืองจากขณะ เคร่ืองยนตเ ดนิ เบาล้ินเรงปดดังนน้ั จงึ ตองมีชองทาง Bypass ใหอากาศผานเขากระบอกสูบ เพ่ือใหเ ครือ่ งยนตเดนิ เบาอยู ไดโ ดยไมด บั ถาปรบั สกรใู หอากาศไหลผา นไดมากจะทําใหค วามเรว็ รอบเดนิ เบาสงู ข้นึ ชอ งทางอากาศเดินเบา สกรูปรบั รอบ Slow Line เดินเบา Main Line หวั ฉดี ลนิ้ เรง สกรูปรับรอบเดินเบา ตัวตรวจจบั อณุ หภูมิอากาศ ตัวตรวจจบั ความดนั ในทอไอดี ตัวตรวจจับตําแหนง ล้นิ เรง

24 ECM : Engine Control Module กลอ งควบคมุ (ECM) ถอื ไดว าเปนสมองกลของระบบฉดี น้ํามันเชอ้ื เพลิงแบบ PGM-FI เปน ไมโครคอมพวิ เตอรท ีป่ ระกอบขึ้นมาจากอปุ กรณทางอเิ ล็กทรอนิกส มหี นาทร่ี ับสัญญาณตา งๆ จากตัวตรวจจบั สญั ญาณ แลว นําไปประมวลผลเพ่ือสั่งจา ยนํ้ามันเชอื้ เพลิงและกําหนดจังหวะในการจุดระเบิดใหม ีความเหมาะสมในทุกสภาวะการ ทํางานของเครื่องยนตเพ่ือการเผาไหมทส่ี มบูรณ โดยกลอ ง ECM จะแยกติดต้ังอยูบริเวณบงั โคลนหลังดานซา ยของตัวรถ เพื่อปอ งกันปญหาเรื่องความรอนท่ี ออกจากเครอื่ งยนต เร่อื งนา้ํ ที่กระเดน็ เขา ทางดานหนา และใหงายตอการบาํ รงุ รักษาหรือถอดเปลี่ยน การตดั การฉดี นาํ้ มันเช้ือเพลงิ กลอง ECM จะตัดการฉดี น้าํ มันเชอ้ื เพลงิ ของหัวฉีด ในบางสภาวะการทํางานของเครื่องยนต เพอื่ ความ ประหยดั และเปนการปอ งกันการสกึ หรอของเคร่ืองยนต คอื 1. ขณะลดความเรว็ รอบของเครอื่ งยนตอ ยางทันทีทันใด เชน ขณะทําการเบรกหรือขบั รถลงจากท่สี งู ซง่ึ เปนภาวะท่ีเครอื่ งยนตไ มตอ งการน้ํามนั เช้อื เพลิงกลองECM จะทาํ การตัดการฉีดนํ้ามันของหัวฉีด โดยกลอง ECM จะไดรับสัญญาณจากตวั ตรวจจับตาํ แหนงล้นิ เรงเปนตาํ แหนงเดินเบา และสญั ญาณความเร็วรอบเครอ่ื งยนต มาเปรยี บเทียบกัน ถา ลิ้นเรงอยใู นตําแหนงเดนิ เบาแตเคร่อื งยนตม ีความเร็วรอบสูง กลอ ง ECM จะตดั การฉีดน้ํามันของหวั ฉดี สวนความเร็วรอบในการตดั จะขึน้ อยกู ับอุณหภมู ิของนาํ้ มนั หลอ ล่ืนที่สง มา จากตัวตรวจจับอุณหภมู นิ ้ํามันหลอ ล่นื โดยมีเงอ่ื นไขดงั นี้ ถาอุณหภูมิของนํ้ามนั เครอื่ งตํา่ ความเร็วรอบในการตดั การฉดี นํ้ามนั เชื้อเพลิงจะสงู ถาอุณหภูมิของนํา้ มนั เครอ่ื งสูง ความเรว็ รอบในการตัดการฉดี นํ้ามันเชือ้ เพลิงจะต่าํ ลง ในการตดั การฉีดนํา้ มนั เช้ือเพลิงจะเปน การตดั เพียงช่ัวขณะเทาน้ัน หลังจากความเรว็ รอบของเครอ่ื งยนตลดลงถึง คาทก่ี ําหนดกลอง ECM จะสั่งใหหวั ฉีด ฉีดน้ํามันตามปกตเิ พื่อไมใ หเครือ่ งยนตด บั

25 2.เมื่อความเรว็ รอบของเครื่องยนตสงู เกินคาท่กี ําหนด กลอ ง ECM จะทาํ การเปรียบเทยี บความเร็วรอบของเคร่ืองยนตท ่สี งมาจากตัวตรวจจับความเร็วรอบของ เคร่ืองยนตกับความเร็วสูงสุดที่ถูกกาํ หนดไวในหนว ยความจาํ หากพบวาความเร็วรอบของเคร่อื งยนตสูงเกนิ คา ที่กําหนดไว กลอ ง ECM จะตดั การฉีดของนํ้ามันของหัวฉีด เพ่อื เปน การปองกนั เคร่อื งยนตเสียหายจากการท่ีความเรว็ รอบสงู เกินไป และเมอ่ื ความเร็วรอบลดต่ําลงกวาคาที่กําหนด กลอง ECM จะสั่งใหห วั ฉีดฉีดนํ้ามนั ตามปกติเพื่อใหเ ครือ่ งยนตทํางาน ตอไปได ระบบวนิ ิจฉยั ขอ ขดั ขอ งดว ยตวั เอง เปนระบบทตี่ ิดต้ังเขา มาเพอ่ื เปน การอาํ นวยความสะดวกกับนายชา ง โดยทร่ี ะบบนี้จะคอยตรวจสอบการทํางานของ เซนเซอรอยตู ลอดเวลาถา เมอ่ื ใดระบบตรวจพบความผดิ ปกตเิ กดิ ขึ้นกับเซนเซอร ระบบก็จะแสดงผลออกมาทางหลอดไฟ FI ซ่งึ ตดิ ต้ังอยูท่ีหนา ปท มเ รอื นไมล โดยการกะพริบของหลอดไฟ FI ใชรปู กบั คูมอื ซอ ม รหสั ขอขัดขอ ง เมอ่ื เปดสวิทชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง \" ON \" หลอดไฟจะติดขึ้นมา 2 วินาทีแลวดับลง ถาระบบวนิ ิจฉยั ขอขัดขอ งดว ยตัวเอง ตรวจพบความผิดปกตขิ องอุปกรณ หลอดไฟ \" FI \" จะกะพริบเปนรหัสเพ่ือแจง ปญหาใหทราบ โดย หลอดไฟจะกะพรบิ เมือ่ สวทิ ชอ ยใู นตําแหนง \" ON \" และเครื่องยนตมีความเร็วรอบไมเ กนิ 2000 รอบตอนาที ถา ความเร็วรอบของเคร่อื งยนตสงู กวานี้ หลอดไฟจะติดตลอดและจะกะพริบอีกคร้งั เม่อื ความเร็วรอบของเครอื่ งยนตลดลงตํ่า กวา 2000 รอบตอ นาที ระบบจะตรวจสอบเฉพาะปญหาทีเ่ กิดจากการเปดของวงจรหรอื ปญหาทเ่ี กิดจากการรดั วงจรเทา นัน้ ขอมูลความผิดปกตทิ ่เี กิดขน้ึ จะถูกบันทกึ ไวในกลอง ECM ตลอดไปจนกวา จะมีการแกไขปญหาลบขอมูลโดยการตัด ไฟเล้ยี งกลอง ECM โดยการปดสวทิ ชจ ุดระเบิด

26 รหัสวนิ จิ ฉัยขอขดั ขอ งที่ใชในรถรนุ KPHX จะมีอยู 2 แบบคอื แบบรหัสเดี่ยว และแบบรหสั คู แบบรหสั เด่ียว เปน การแสดงรหสั ขอ ขัดของ 1 รหสั โดยการกะพรบิ ของหลอดไฟ FI ตามจํานวนครงั้ ของรหสั ดว ยความถ่ที ี่ เทา กนั เชน รหัส 3 ก็จะกะพริบ 3 ครัง้ รหสั 7 กจ็ ะกะพรบิ 7 คร้งั วินาที วนิ าที แบบรหสั คู วินาที เปนการแสดงรหสั ขอขดั ขอ ง 2 รหสั โดยการกะพรบิ ของหลอดไฟ FI ตามจํานวนครั้งของรหสั ดวยความถ่ีที่ แตกตางกันเชน รหัส 11 กจ็ ะกะพริบยาว 1 คร้งั สั้น 1 ครง้ั รหัส 12 ก็จะกะพรบิ ยาว 1 ครัง้ ส้ัน 2 คร้งั วินาที วนิ าที

27 ตารางการวินจิ ฉยั ขอ ขัดขอ งดวยตวั เอง จาํ นวนครัง้ การกะพรบิ ของหลอดไฟ FI จะแสดงออกมาเปน รหัสของปญ หาที่เกดิ ข้ึนกบั ระบบ รหสั ปญหา จดุ ท่ีเกดิ ปญ หา สาเหตุ อาการปญหา ไมก ะพริบ ขดลวดพัลซเ ซอร ไมม ีสัญญาณไฟจาก เครอื่ งยนตส ตารทไมต ิด ไมกะพรบิ หวั ฉดี นํ้ามนั เชือ้ เพลงิ ขดลวดพลั ซเ ซอร เคร่ืองยนตส ตารทไมต ดิ ไมก ะพรบิ 1.กรองเช้ือเพลิงอุดตัน เครอื่ งยนตสตารทไมตดิ ไมกะพรบิ ECM 2.เข็มหวั ฉีดติดตาย เครื่องยนตสตารทไมต ดิ ECM ผดิ ปกติ ไมกะพริบ ระบบไฟเลย้ี งหรือกราวด 1.ฟวส 15A ขาด เครอ่ื งยนตทํางานไดเ ปนปกติ ตดิ ตอ เนือ่ ง ของ ECM 2.วงจรเปด ท่สี ายไฟเล้ยี ง กลอ ง ECM เครื่องยนตท ํางานไดเปน ปกติ รหสั 1,8,9 วงจรหลอดไฟ “FI” 3.สวิทชจดุ ระเบิดเสีย 1.ECM ผิดปกติ เครือ่ งยนตติดไดแตเ รงแลวดับ รหัส 1 ขว้ั ตรวจสอบหรือวงจร 2.มกี ารขาดหรือรดั วงจร รหัส 7 ของระบบไฟ “FI” เครอ่ื งยนตท ํางานไดเ ปน ปกติ เซนเซอรทีเ่ รอื นล้นิ เรง 1.มกี ารรัดวงจรที่ข้วั เครือ่ งยนตส ตารทตดิ ยากท่ี ตรวจสอบ อณุ หภูมิตํ่า ตวั ตรวจจบั ความดนั ในทอ 2.มีการรดั วงจรของสาย ไอดี ข้วั ตรวจสอบMIL ตวั ตรวจจบั อณุ หภมู ิ 3.ECM ผิดปกติ นํา้ มนั เคร่ือง 1.ขว้ั ตอของเซนเซอร หลวมหรือไมด ี 2.สายไฟของวงจรขาด หรือรัดวงจร 3.ตัวตรวจจบั เสีย ตัวตรวจจบั ความดนั ใน ทอไอดีเสยี 1.ขัว้ ตอ ของเซนเซอร หลวมหรือไมด ี 2.สายไฟของวงจรขาด หรือรัดวงจร 3.ตัวตรวจจับอุณหภมู ิ นาํ้ มนั เครอ่ื งเสยี

28 รหสั ปญหา จดุ ทเ่ี กิดปญหา สาเหตุ อาการปญ หา รหสั 8 ตัวตรวจจับตําแหนง ลน้ิ เรง 1.ขว้ั ตอของเซนเซอร เครื่องยนตมีการตอบสนองไมด ี หลวมหรอื ไมด ี ในขณะบิดคันเรงทันทที ันใด รหสั 9 ตวั ตรวจจบั อุณหภมู อิ ากาศ 2.สายไฟของวงจรขาด รหสั 12 หัวฉีดนํ้ามันเชอ้ื เพลิง หรือรดั วงจร รหัส 33 EP-ROM ใน ECM 3.ตวั ตรวจจับตําแหนงลน้ิ รหัส 54 ตวั ตรวจจบั การเอยี งของรถ เรงเสีย 1.ขั้วตอของเซนเซอร เครอื่ งยนตทํางานไดเปนปกติ หลวมหรอื ไมดี 2.สายไฟของวงจรขาด หรอื รัดวงจร 3.ตัวตรวจจับอุณหภูมิ อากาศเสีย 1.ขว้ั ตอ สายของหัวฉีด เคร่อื งยนตส ตารทไมต ิด หลวมหรอื ไมดี 2.สายไฟของวงจรหัวฉดี ขาดหรอื รัดวงจร 3.หัวฉีดเสีย ECM ผดิ ปกติ เครื่องยนตท ํางานไดเปนปกติ แตไมส ามารถวเิ คราะหป ญหา ได 1.ข้ัวตอ ของเซนเซอร เคร่ืองยนตทํางานไดเปนปกติ หลวมหรอื ไมด ี 2.สายไฟของวงจรขาด หรอื รดั วงจร 3.ตวั ตรวจจับการเอียง ของรถเสีย

29 การเรียกดูรายการปญ หาทเี่ คยเกดิ ขนึ้ ในอดตี ถาตองการเรยี กดูความผิดพลาดทเ่ี คยเกิดขนึ้ ในหนวยความจาํ ใหท ําตามข้ันตอน ดังนี้ วธิ กี ารเรยี กดูปญหาในหนว ยความจาํ ใชร ูปกบั คูมอื ซอ ม 1. ปด สวิทชกุญแจไปท่ตี ําแหนง “OFF” 2. ถอดฝาครอบดานหนา 3. ถอดฝาครอบขว้ั ตรวจสอบออก ( DLC ) 4. ตอเคร่อื งมอื พิเศษเขา กบั ข้ัวตรวจสอบ 5. เปดสวทิ ชไ ปท่ีตาํ แหนง “ON” ถา ECM ไมมขี อ มูลในระบบวิเคราะหป ญ หาหลอด FI จะติดคางตามรูปแบบดังภาพ รปู แสดงรหสั ขอ มูลทไ่ี มม คี วามผิดปกติ

30 ถา ECM มขี อมลู ในระบบวเิ คราะหป ญหาหลอด FI จะกะพริบแสดงรายการปญหาโดยจะแสดงรหัสเดย่ี วกอ น รหัสคเู สมอ โดยเร่ิมจากรหัสนอยไปหามากและจะวนมาแสดงปญหาเดิมเมอื่ แสดงรายการปญ หาครบแลวจะเปนอยา งนี้ จนกวาจะปดสวิทชจดุ ระเบดิ ดงั ตวั อยาง รปู แสดงรหสั ขอ มูลที่มีความผดิ ปกติ ขน้ั ตอนการลบขอ มูลในหนว ยความจาํ ของระบบวินจิ ฉยั ขอ ขัดของดว ยตัวเอง 1. ปด สวิทชกุญแจไปทตี่ ําแหนง “OFF” ใชรปู กับคูมอื ซอ ม 2. ถอดฝาครอบดา นหนา 3. ถอดฝาครอบขั้วตรวจสอบออก ( DLC ) 4. ตอ เคร่อื งมือพิเศษเขา กับขั้วตรวจสอบ 5. เปดสวทิ ชไ ปที่ตาํ แหนง “ON” 6. ถอดเครื่องมือพเิ ศษออกจากข้วั ตรวจสอบ 7. ตอเคร่ืองมือพิเศษเขา กบั ข้ัวตรวจสอบอีกครง้ั ภายใน 5 วินาที ถาหลอดไฟ FI ดบั และเริ่มกระพริบ แสดงวา ขอ มูลในหนวยความจาํ ของระบบวิเคราะหปญ หาดว ยตัวเองถูกลบสําเร็จ ถาปดสวิทชแลวเปดใหมอ กี คร้ังหลอดไฟ FI จะตองติดตลอด

31 ใชรปู กับคูมือซอม รูปแบบของการลบขอมูลท่ีประสบความสาํ เรจ็ ถาตอ ข้ัวตรวจสอบไมท นั ภายใน 5 วินาที แลว หลอดไฟ FI ดบั และตดิ ข้ึนมาใหมโ ดยไมก ะพรบิ แสดงวาการ ลบขอมูลไมสาํ เรจ็ ใชรูปกบั คูมอื ซอม รปู แบบของการลบขอ มลู ท่ไี มประสบความสาํ เร็จ ถา ปดสวทิ ชแ ลวเปด ใหมหลอดไฟ “FI” จะกะพรบิ ตามรหสั ปญหาทเี่ กิดข้ึน ใหย อนกลบั ไปเริ่มตน ใหมที่ ขั้นตอนที่ 4

32 ขนั้ ตอนการ ปรับตงั้ ตัวตรวจจับตาํ แหนงลิน้ เรง ใชรูปกบั คูมือซอ ม 1. ปด สวทิ ชไปทีต่ ําแหนง “OFF” 2. ถอดฝาครอบของข้ัวตรวจสอบออก 3. ตอเครือ่ งมือพเิ ศษเขากับขัวตรวจสอบ 4. ถอดขว้ั ตอของตัวตรวจจบั อุณหภูมิน้าํ มันเครอ่ื ง แลวชอ ตขั้วสายไฟดังรปู ตําแหนง : สายสเี หลอื ง/น้ําเงนิ กับ สายสีเขียว/สม 5. เปดสวิทซจดุ ระเบดิ ไปที่ตําแหนง “ON” ยกเลกิ การชอ ตข้ัวสายดังกลาวภายในระยะเวลา 10 วนิ าที ถาการปรับต้ังสาํ เร็จการกะพรบิ ของหลอดไฟจะมีรปู แบบดังภาพ ใชรูปกบั คูมอื ซอม รปู แบบของการปรับตงั้ ทปี่ ระสบความสําเร็จ

33 ถายกเลิกการชอ ตสายดงั กลาวไมทนั ในเวลา 10 วินาทหี ลอดไฟจะติดตลอดดงั ภาพดานลาง แสดงวา การปรับต้ัง ไมสําเร็จ ใชรปู กบั คูมอื ซอม รปู แบบการปรับตงั้ ทไ่ี มป ระสบความสาํ เร็จ ถา การปรับตั้งไมสาํ เร็จใหกลบั ไปเรม่ิ ตน ใหมท ี่ขั้นตอนที่ 4 ใชรปู กับคูมอื ซอ ม ถาการปรับต้ังสําเรจ็ ใหทาํ ขัน้ ตอนตอไป 6. ปดสวิทชจดุ ระเบดิ ไปท่ีตาํ แหนง \"OFF\" 7. ตอข้วั ตอเขา กับตัวตรวจจบั อุณหภมู นิ ํ้ามนั เคร่ือง 8. ถอดเคร่ืองมอื พเิ ศษออกจากขั้วตรวจสอบ 9. ประกอบฝาครอบข้วั ตรวจสอบกลบั คืน 10. ตง้ั รถดวยขาตง้ั กลางเขา เกียรว าง อุน เครอ่ื งยนตเปนเวลา 10 นาที ตรวจสอบความเรว็ รอบเดินเบา มาตรฐาน : 1,4000 + 100 รอบตอ นาที

34 การถอดทอนํา้ มันแรงดนั สูง ขั้นตอน 1. ลดแรงดนั นํ้ามันในระบบโดยการถอดปล๊ักไฟทเี่ ขาปม นาํ้ มันเช้ือเพลิงออกแลวสตารท เคร่อื งยนตรอจน เคร่อื งยนตดับไปเอง 2. ปลดยางรองขอตอ ทอ นา้ํ มันโดยการดึงใหหลุดออกจากขอ ตอดังภาพ ยางรองทอน้ํามัน 3. ปลดลอ กขอตอ ทอ นา้ํ มันโดยการกดท่ปี มุ ปลดลอกจนเขี้ยวลอ กหบุ เขา ไปแลวดึงขอตอออกตามทศิ ทางของหัว ลูกศร ปุมปลดลอ ก กด กด เขีย้ วลอก

35 4. ใชถุงพลาสติกหมุ ทขี่ อตอทง้ั สองดา นเพอ่ื ปอ งกันสิง่ สกปรกเขา ไป หมายเหตุ กอ นทาํ การถอดทอ น้ํามันใหทําการลดแรงดันน้ํามันในระบบกอนทุกครงั้ ข้นั ตอนการประกอบทอ นํา้ มัน 1. ใสตวั ลอกเขาไปในขอ ตอ โดยใหเขย้ี วลอ กอยูตรงกับชองลอกท่ขี อ ตอดงั ภาพ ขอ ตอ เขีย้ วลอ ก ชอ งลอ ก ปมุ ปลดลอ ก

36 3. จัดยางรองขอ ตอ ทอน้ํามนั ใหเขา ท่ีแลวเสยี บขอตอเขากับทอน้ํามันทตี่ วั ปมน้าํ มนั เช้ือเพลิงเขาไปให สุด จนไดยินเสียงดงั “คลก๊ิ ” ตามภาพ ทอนา้ํ มันเช้ือเพลิงที่ปม นาํ้ มัน ยางรองขอ ตอทอ นํา้ มัน ขอตอ ทอ น้ํามัน 4. ทดสอบความแนน โดยการดงึ เขาออกตามภาพ การประกอบทอนาํ้ มนั ดา นหวั ฉดี 1. ใสต ัวลอ กเขาไปในขอตอ โดยใหเข้ยี วลอกอยูตรงกับชอ งลอกที่ขอตอดังภาพ ขอ ตอ เข้ยี วลอ ก ชอ งลอ ก ปมุ ปลดลอก

37 2. จัดยางรองขอตอทอ นํ้ามนั เขา ทีแ่ ลวเสยี บขั้อตอ เขา ไปโดยใหปมุ ปลดลอ กท่ีขอตอ ตรงกับปมุ ลอกทย่ี างรองขอ ตอใหสุด จนไดยนิ เสยี งดัง “คล๊กิ ”ตามภาพ ปุมลอ ก ยางรองขอตอทอ นา้ํ มนั ขอตอทอ นาํ้ มัน ปญ หาขอ ขัดขอ ง ผิดปกติ สาเหตุที่เปนไปได ผิดปกติ เคร่ืองยนตสตารทไมตดิ หรือตดิ ยาก ไมไ ดยนิ เสียง 1.แบตเตอรบี่ กพรอ ง 1.ตรวจสอบระบบไฟชารจ ผดิ ปกติ 2.ระบบไฟชารจบกพรอ ง ปกติ 1.กลอ ง ECM บกพรอ ง 2.ตรวจสอบระบบ PGM-FI ปกติ 1.ขว้ั ตอ ปม นํ้ามันเช้อื เพลิงหลวม หรอื หลดุ 3.ตรวจสอบเสยี งการทํางานของ 2.สายไฟปม น้ํามนั เช้ือเพลงิ ปม นํา้ มันเชอ้ื เพลงิ ลัดวงจรขาดหรอื ลัดวงจร 3.ปม น้าํ มันเช้ือเพลิงบกพรอ ง ไดย นิ เสยี ง 1.ปม น้าํ มันเชอ้ื เพลิงบกพรอง 4.ตรวจสอบแรงดันและอตั ราการ 2.กลอง ECM บกพรอ ง ไหลของน้าํ มันเชอื้ เพลิง ปกติ

38 5.ทดสอบประกายไฟทห่ี ัวเทยี น ไฟออ นหรอื ไมมีประกายไฟ 1.หัวเทียนบกพรอง ประกายไฟดี กาํ ลังอดั ต่ํา 2.หวั เทยี นสกปรก 3.สายหัวเทยี นขาดหรอื ลัดวงจร 6.ทดสอบกําลังอัดในกระบอก 4.ขดลวดพัลซเ ซอรบกพรอ ง สูบ 5.สายไฟระบบจุดระเบดิ หลวม กําลังอัดปกติ หรือหลดุ 1.วาลวเปด คาง 2.เสอ้ื สบู และแหวนลูกสบู สกึ หรอ 3.ปะเก็นฝาสูบเสียหาย 4.จังหวะเปด -ปดวาลว ผิด 7.สตารท เครอื่ งยนตตามปกติ เครอ่ื งยนตติดแตดับ 1.ทอ ไอดีรว่ั เครือ่ งยนตไ มตดิ 2.จงั หวะจุดระเบิดผิด(ขดลวด 8.ถอดหัวเทยี นและตรวจสอบ หัวเทยี นเปย ก พัลซเ ซอรผดิ ปกต)ิ หัวเทียนแหง 3.น้าํ มนั สกปรก 1.ไสกรองอากาศอุดตนั 2.กลอ ง CEM บกพรอ ง 1.หวั ฉดี บกพรอง

39 เครื่องยนตไ มม กี ําลงั หมนุ ไมค ลอ ง สาเหตุท่ีเปนไปได 1.ใหพ น พ้ืนแลวยกลอ ขนึ้ แลวใช 1.เบรกติด มือหมุน 2.ลกู ปนลอ สกึ หรอหรอื เสยี ลอหมนุ ไดอยางอิสระ 2.ตรวจแรงดันลมยาง ลมยางออ น 1.จุดลมยางเสยี ปกติ 2.ยางรว่ั 3.เรง เครอ่ื งทันทจี ากเกยี รตา่ํ ไป ความเรว็ ไมเ ปล่ียน 1.คลัทชล น่ื เกียร 2 เมอื่ เปลยี่ นเกยี ร 2.แผน ผา คลทั ช/ แผน เหล็กคลทั ช ความเร็วลดลงเม่ือเปลยี่ นเกยี ร ความเรว็ ไมเ พม่ิ ข้ึน สึกหรอ ไมถ กู ตอง 3.แผน ผา คลัทช/แผนเหล็กคลทั ช 4.คอ ยๆเรงเคร่ืองยนต ความเรว็ เพมิ่ ข้ึน โกงงอ 4.สปริงคลทั ชอ อน 5.ตรวจสอบจังหวะจดุ ระเบิด 5.นาํ้ มนั เคร่อื งสกปรก ถกู ตอ ง 1.ไสก รองอากาศสกปรก 2.น้ํามนั เชอื้ เพลิงไหลลงไมท นั 3.ทอ ไอเสียอุดตัน 4.ทอ ระบายถังนาํ้ มนั เชื้อเพลิงถูก กดทบั 1.กลอ ง ECM บกพรอง 2.ขดลวดพลั ซเซอรบ กพรอ ง 6.ทดสอบกําลงั อดั ภายใน ไมถ ูกตอ ง 1.วาลวเปดคาง กระบอกสบู 2.เสือ้ สบู และแหวนลกู สูบสึกหรอ 3.ปะเก็นฝาสบู รั่ว ปกติ 4.จังหวะเปดปด วาลวผิด

40 7.ตรวจสอบแรงดันและอตั ราการ ไหลของนํ้ามันเช้ือเพลิง ปกติ 1.ปม นา้ํ มันเช้อื เพลงิ บกพรอ ง ปกติ 2.กลอง ECM บกพรอง 8. ถอดหัวเทยี น หัวเทยี นสกปรกหรือเปลย่ี นสี หัวเทียนสะอาดหรอื ไมเปลี่ยนสี 1.หวั เทยี นบกพรอ ง 9.ตรวจเช็คระดับนํา้ มันและ ไมถูกตอง 1. นาํ้ มนั เชอ้ื เพลงิ มากเกนิ ไป สภาพของนํา้ มนั 2. น้าํ มนั เชื้อเพลงิ นอยเกนิ ไป กลไกวาลวไดรบั การ 3. น้ํามนั เช้อื เพลงิ สกปรก ถกู ตอง หลอ ล่ืนไมสมบรู ณ 1. ทางเดินน้ํามันอดุ ตัน 10.ถอดฝาครอบฝาสูบและเช็ค 2. รนู ํ้ามันอดุ คัน การหลอลืน่ กลไกวาลวไดร ับการหลอล่ืน สมบูรณ 11.เช็คความรอ นเคร่ืองยนต รอ นมากไป 1.มเี ขมาในหอ งเผาไหมม ากเกินไป ไมร อ น เครื่องยนตน อ ก 2.ใชน ้ํามนั ท่มี คี ุณภาพตํ่า 3.ใชน้ํามันผิดประเภท 12.เรง เครอ่ื งยนตทนั ทหี รือว่ิงท่ี 4.คลัตชล ่ืน ความเรว็ สูง 1.ลูกสบู และเสื้อสบู สึกหรอ 2.ใชน ํ้ามนั ผิดประเภท เครอ่ื งยนตไมนอ็ ก 3.มเี ขมา ในหอ งเผาไหมมากเกินไป 4.จุดระเบดิ ลวงหนา (กลอ ง ECM บกพรอ ง ) 5.สว นผสมน้ํามันกบั อากาศบางเกินไป ( หัวฉดี บกพรอง )

41 เคร่ืองยนตไ มม ีกําลงั ท่คี วามเร็วต่ําและรอบเดนิ เบา สาเหตุท่เี ปน ไปได 1.ตรวจสอบจงั หวะจุดระเบดิ ไมถูกตอง 1.จงั หวะจุดระเบิดไมถ ูกตอ ง ถูกตอ ง 2.(ขดลวดพลั ซเซอรบ กพรอ ง) 2.ตรวจสอบแรงดนั และอัตราการ ผิดปกติ 1.ปม นํ้ามันเชื้อเพลงิ บกพรอ ง ไหลของนาํ้ มันเชอื้ เพลิง 2.กลอง ECM บกพรอง รว่ั ปกติ 1.โบลทย ึดหรือเขม็ ขดั รัดทอไอดี ออ นหรือมี หลวม 3.ตรวจสอบการรว่ั ของทอ ไอดี เปนชวง ๆ ไมร่วั 2.ทอ ไอดเี สียหาย 4.ทดสอบหัวเทียน 1.หวั เทยี นบกพรอ ง 2.หวั เทียนมเี ขมาหรอื เปย ก ดี 3.กลอง ECM บกพรอ ง 4.คอยลจดุ ระเบิดบกพรอ ง 5.สายหวั เทียนลัดวงจรหรือขาด 6.ขดลวดพลั ซเซอรบกพรอง 7.สวิตซจ ุดระเบิดบกพรอง 8.สายไฟระบบจุดระเบิดหลวม หรอื หลุด 9.หัวฉดี บกพรอ ง

42 เครอื่ งยนตไ มม กี ําลังท่ีความเร็วสงู ไมถูกตอ ง สาเหตุทีเ่ ปน ไปได 1.ตรวจสอบจังหวะจุดระเบดิ 1.กลอ ง ECM บกพรอง ถูกตอ ง 2.ตรวจสอบแรงดนั และอตั รา ผดิ ปกติ 1.ปมนา้ํ มนั เชอื้ เพลงิ บกพรอ ง การไหลของนา้ํ มันเชื้อเพลิง ไมถกู ตอง 2.กลอง ECM บกพรอ ง ปกติ สปริงออ น 1.ประกอบเพลาลูกเบย้ี วไมถกู ตอง 3.ตรวจสอบจงั หวะเปดปด วาลว 1.สปริงวาลวบกพรอง ถกู ตอง 2.หัวฉีดบกพรอง 4.ตรวจสอบสปรงิ วาลว สปรงิ ไมออน

วงจรสตารท R R/W 43 B/L Y/R 15 A MOTOR Bat1 V01 B/L G1 R Bat2 V02 Y/R G1 R/L ECM G1

วงจรควบคมุ หัวฉีด B/L 44 15 A ECM R Bat1 V01 Bat2 V02 G1 Bat1 V01 B/L ECM Bat2 V02 วงจรจดุ ระเบดิ 15 A R G1

วงจรควบคมุ ปมนํ้ามนั เชื้อเพลิง 45 Bat1 V01 B/L ECM Bat2 V02 15 A R G1 Bat1 V01 B/L ECM Bat2 V02 วงจรไฟเลี้ยงเรือนไมล SP METER 15 A G1 R G1

ระบบไฟสญั ญาณ Bat1 V01 B/L 46 Bat2 V02 10A ECM 15A R G1

ระบบไฟแสงสวาง 47 ECM Bat1 V01 B/L Bat2 V02 15 A R G1


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook