Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายวิชา ช่องทางการพัฒนาอาชีพ อช21001

รายวิชา ช่องทางการพัฒนาอาชีพ อช21001

Published by thezeroii, 2021-08-21 12:25:12

Description: ช่องทางการพัฒนาอาชีพ อช21001

Search

Read the Text Version

หนังสือเรียนสาระการประกอบอาชีพ รายวชิ า ช่องทางการพฒั นาอาชีพ (อช21001) ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560) สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ห้ามจาหน่าย หนงั สือเรียนเล่มน้ีจดั พิมพด์ ว้ ยเงินงบประมาณแผน่ ดินเพ่ือการศึกษาตลอดชีวติ สาหรับประชาชน ลิขสิทธ์ิเป็นของ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวชิ าการลาดบั ท่ี 25/2555

หนังสือเรียนสาระการประกอบอาชีพ รายวชิ า ช่องทางการพฒั นาอาชีพ (อช21001) ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 ลิขสิทธ์ิเป็นของ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวชิ าการลาดบั ที่ 25/2555

คํานาํ กระทรวงศึกษาธกิ ารไดป ระกาศใชหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 เม่ือวันท่ี 18 กนั ยายนพ.ศ.2551 แทนหลกั เกณฑแ ละวิธกี ารจดั การศึกษานอกโรงเรยี น ตามหลักสูตรการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2544 ซ่ึงเปน หลักสูตรท่พี ัฒนาข้ึนตามหลักปรัชญา และความเชือ่ พื้นฐานในการจดั การศกึ ษานอกโรงเรียนท่ีมกี ลุมเปาหมายเปน ผูใหญม กี ารเรยี นรูและ สงั่ สมความรู และประสบการณอ ยางตอเนื่อง ในปง บประมาณ 2554 กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดแผนยุทธศาสตรในการขับเคล่ือน นโยบายทางการศกึ ษาเพอื่ เพม่ิ ศกั ยภาพ และขีดความสามารถในการแขง ขนั ใหประชาชนไดม ีอาชีพ ที่สามารถสรางรายไดทมี่ ั่งค่งั และมน่ั คง เปนบุคลากรที่มีวินัย เปยมไปดวยคุณธรรมและจริยธรรม และมีจิตสํานึกรับผิดชอบตอตนเองและผูอื่น สํานักงาน กศน. จึงไดพิจารณาทบทวนหลักการ จดุ หมาย มาตรฐาน ผลการเรียนรทู ่คี าดหวงั และเนอื้ หาสาระ ทั้ง 5 กลุมสาระการเรียนรู ของหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ใหมีความสอดคลองตอบสนอง นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งสงผลใหตองปรับปรุงหนังสือเรียน โดยการเพิ่มและสอดแทรก เน้ือหาสาระเกี่ยวกับอาชีพ คุณธรรม จริยธรรม และการเตรียมพรอมเพ่ือเขาสูประชาคมอาเซียน ในรายวชิ าทม่ี คี วามเกี่ยวขอ งสัมพันธกัน แตยงั คงหลกั การและวธิ กี ารเดิมในการพัฒนาหนังสอื ทีใ่ ห ผูเรยี นศึกษาคน ควา ความรูด ว ยตนเอง ปฏิบตั ิกิจกรรม ทาํ แบบฝกหัดเพ่อื ทดสอบความรูความเขาใจ มีการอภิปรายแลกเปล่ียนเรยี นรกู ับกลุม หรอื ศึกษาเพ่ิมเติมจากภูมิปญญาทองถ่ิน แหลงการเรียนรู และสอ่ื อน่ื การปรับปรงุ หนังสือเรยี นในคร้ังน้ี ไดรับความรว มมืออยางดีย่ิงจากผูทรงคุณวุฒิในแตละ สาขาวชิ า และผูเกีย่ วของในการจดั การเรยี นการสอนท่ีศึกษาคนควา รวบรวมขอมูลองคความรูจาก สอื่ ตา ง ๆ มาเรียบเรยี งเน้อื หาใหค รบถวนสอดคลองกับมาตรฐาน ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง ตัวช้ีวัด และกรอบเน้ือหาสาระของรายวิชา สาํ นักงาน กศน.ขอขอบคุณผูมีสวนเกี่ยวของทุกทานไว ณ โอกาสนี้ และหวังวาหนงั สอื เรียนชุดน้ีจะเปนประโยชนแกผูเรียน ครู ผูสอน และผูเก่ียวของใน ทุกระดบั หากมีขอ เสนอแนะประการใด สํานกั งาน กศน. ขอนอมรบั ดว ยความขอบคณุ ยิ่ง

สารบญั หนา คํานาํ คาํ แนะนาํ การใชหนงั สอื เรยี น โครงสรางรายวิชาชอ งทางการพฒั นาอาชพี บทท่ี 1 การงานอาชีพ 1 เรอื่ งท่ี 1 ความสาํ คญั และความจําเปน ในการพฒั นาอาชีพ 2 เรื่องที่ 2 การพฒั นากระบวนการผลิตอาชีพในชุมชน สงั คม ประเทศ และภูมิภาค 5 ทวีป 3 ไดแ ก ทวปี เอเชีย ทวปี ออสเตรเลยี ทวปี อเมริกา ทวีปยโุ รป และทวปี แอฟริกา เรอื่ งที่ 3 กลมุ อาชีพใหม 32 เรื่องท่ี 4การประกอบอาชพี ในภมู ภิ าค 5 ทวีป 34 เรือ่ งท่ี 5 การพัฒนากระบวนการจดั การงานอาชพี ในชมุ ชน สังคม ประเทศ และ 42 ภูมภิ าค 5 ทวปี ไดแ ก ทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลีย ทวีปอเมริกา ทวีปยโุ รป และทวปี แอฟรกิ า เร่อื งที่ 6 คณุ ธรรม จริยธรรม 77 เรอ่ื งที่ 7 การอนุรกั ษพลังงานและสง่ิ แวดลอ มในชมุ ชน สงั คม ประเทศ และ 80 ภูมิภาค 5 ทวปี ไดแ ก ทวีปเอเชยี ทวีปออสเตรเลยี ทวีปอเมรกิ า ทวปี ยโุ รป และทวีปแอฟริกา บทท่ี 2 ชอ งทางการพฒั นาอาชพี 83 เรือ่ งที่ 1 ความจําเปน ในการมองเห็นชอ งทางเพอื่ พฒั นาอาชีพ 84 เร่อื งที่ 2 ความเปน ไปไดใ นการพฒั นาอาชพี 85 เรอ่ื งท่ี 3 การกําหนดวธิ กี ารพัฒนาอาชีพพรอ มเหตุผล 92 บทท่ี 3 การตดั สินใจเลอื กพฒั นาอาชพี 94 เรอ่ื งที่ 1 การตดั สนิ ใจเลอื กพัฒนาอาชีพ 95 เรอ่ื งท่ี 2 การตดั สนิ ใจพฒั นาอาชีพดว ยการวิเคราะหศกั ยภาพ 106 บรรณานกุ รม 110 คณะผจู ัดทาํ 111

คําแนะนําการใชห นังสอื เรียน หนังสือเรียนสาระการประกอบอาชีพ รายวิชาชองทางการพัฒนาอาชีพ รหัส อช21001 ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน เปนหนงั สือเรยี นทีจ่ ดั ทําขน้ึ สําหรบั ผูเรียนที่เปนนักศกึ ษานอกระบบ ในการศึกษาหนังสอื เรยี นสาระการประกอบอาชพี รายวชิ าทกั ษะการพฒั นาอาชีพ ผูเรียนควร ปฏิบัติ ดังนี้ 1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในหัวขอและสาระสําคัญ ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง และ ขอบขา ยเนื้อหา 2. ศึกษารายละเอียดเน้ือหาของแตละบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามที่กําหนด หากยังไมเขาใจควรกลับไปศึกษาและทําความเขาใจในเน้ือหานั้นใหมใหเขาใจ กอนท่ีจะศึกษา เร่ืองตอไป 3. หนงั สอื เรยี นเลมนี้มี 3 บท คือ บทที่ 1 การงานอาชพี บทที่ 2 ชอ งทางการพฒั นาอาชพี บทท่ี 3 การตดั สินใจเลือกพฒั นาอาชพี

โครงสรา งรายวิชาชอ งทางการพัฒนาอาชพี ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน (อช21001) สาระสาํ คัญ เปนองคความรเู ก่ยี วกับการงานอาชพี และเทคโนโลยี ซ่ึงประกอบดวยการสํารวจวิเคราะห อาชีพในชุมชน ประเทศ และภูมิภาค 5 ทวีป ไดแก ทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลีย ทวีปอเมริกา ทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกา เพื่อนําไปสูการพัฒนา ระบุส่ิงที่ตองการพัฒนาอาชีพ เหตุผลความ จําเปนท่ีตองการพัฒนาอาชีพดานตาง ๆ แสวงหาความรูและเทคนิคการพัฒนาอาชีพวิเคราะห ความรู และเทคนิคท่ไี ดม า เพอ่ื นาํ ไปสกู ารพัฒนาอาชีพ การตัดสินใจเลือกวิธีการเพื่อพัฒนาอาชีพ และการตรวจสอบความเปน ไปไดใ นการพัฒนาอาชีพ ใหผูเรียนสามารถเลือกแนวทางการพัฒนา อาชพี ท่เี หมาะสมตอตนเองและชมุ ชนได ผลการเรียนรูที่คาดหวงั 1. อธิบายความหมาย ความสําคัญ วิเคราะหลักษณะงาน ขอบขายอาชีพในชุมชน สังคม ประเทศ และภูมภิ าค 5 ทวีป ไดแ ก ทวปี เอเชยี ทวีปออสเตรเลยี ทวีปอเมรกิ า ทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกา ท่ีจะนําไปสกู ารพัฒนาอาชีพทเ่ี หมาะสมกบั ศักยภาพของตน และสอดคลองกับชุมชน สังคม 2. อธิบายเหตผุ ล ปจ จยั ความจาํ เปน ในการพัฒนาอาชพี ท่เี หมาะสมกบั ศกั ยภาพของตนเองได 3. จดั ระบบความสําคัญในการตดั สนิ ใจพฒั นาอาชีพได 4. ปฏิบตั ิการวเิ คราะหเ พ่ือการพฒั นาอาชีพได ขอบขา ยเนือ้ หา บทที่ 1 การงานอาชพี บทท่ี 2 ชอ งทางการพัฒนาอาชีพ บทที่ 3 การตดั สินใจเลอื กพัฒนาอาชีพ สื่อการเรียนรู 1. กจิ กรรม 2. หนังสอื เรยี น

1 บทที่ 1 การงานอาชีพ สาระสําคัญ อาชีพในปจจุบันมีอยูหลากหลายในสังคม มีท้ังสรางข้ึนใหมจากทรัพยากรท่ีมีอยู หรือ พัฒนาขยายขอบขายจากอาชีพหน่ึงเปนอาชีพหนึ่ง หากผูเรียนมีโลกทัศนทางอาชีพจะทําใหมี ความรู ความเขาใจ อธิบายความสําคัญ และความจําเปน ลักษณะขอบขายกระบวนการผลิตงาน อาชีพ การจัดการในงานอาชีพ คณุ ธรรม จริยธรรม และการอนุรักษพลังงานและส่ิงแวดลอม จะทําให เห็นชอ งทางในการพฒั นาอาชีพ ตัวชี้วดั 1. อธิบายความสําคญั และความจําเปน ในการพฒั นาอาชีพ 2. อธิบายลักษณะขอบขายกระบวนการผลิตงานอาชีพในชุมชน สังคม ประเทศ และ ภูมิภาค 5 ทวีป ไดแก ทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลีย ทวีปอเมริกา ทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกา เพอื่ นํามาวเิ คราะหใ นการพฒั นาอาชีพ 3. อธิบายการจัดการในงานอาชีพในชุมชน สังคม ประเทศ และภูมิภาค 5 ทวีป ไดแก ทวีปเอเชีย ทวปี ออสเตรเลยี ทวีปอเมริกา ทวปี ยโุ รป และทวีปแอฟริกา เพือ่ นํามาวิเคราะหใ นการพัฒนาอาชพี 4. อธิบายคุณธรรม จรยิ ธรรมในการพัฒนาอาชีพ 5. อธบิ ายการอนรุ ักษพลงั งานและส่ิงแวดลอมในการพัฒนาอาชพี ในชมุ ชน สงั คม ประเทศ และภูมิภาค 5 ทวปี ไดแก ทวีปเอเชยี ทวปี ออสเตรเลีย ทวปี อเมรกิ า ทวีปยโุ รป และทวีปแอฟริกา ขอบขา ยเน้อื หา เรอ่ื งที่ 1 ความสําคญั และความจําเปนในการพัฒนาอาชพี เรอ่ื งท่ี 2 การพัฒนากระบวนการผลติ อาชีพในชุมชน สังคม ประเทศ และภูมิภาค 5 ทวีป ไดแ ก ทวปี เอเชีย ทวีปออสเตรเลยี ทวีปอเมริกา ทวปี ยโุ รป และทวปี แอฟริกา เรื่องที่ 3 กลุมอาชีพใหม เรื่องท่ี 4 การประกอบอาชีพในภมู ิภาค 5 ทวีป เรื่องท่ี 5 การพัฒนากระบวนการจดั การงานอาชพี ในชุมชนสงั คม ประเทศ และภมู ิภาค5 ทวีป ไดแ ก ทวปี เอเชีย ทวีปออสเตรเลีย ทวปี อเมริกา ทวปี ยโุ รป และทวปี แอฟริกา เรือ่ งที่ 6 คณุ ธรรม จริยธรรม เรื่องที่ 7 การอนุรักษพ ลังงานและส่ิงแวดลอ มในชุมชน สงั คม ประเทศ และภูมิภาค 5 ทวีป ไดแ ก ทวีปเอเชยี ทวปี ออสเตรเลีย ทวีปอเมริกา ทวีปยโุ รป และทวีปแอฟรกิ า

2 เรอ่ื งท่ี 1 ความสาํ คัญและความจําเปนในการพฒั นาอาชพี ความสาํ คญั และความจาํ เปนของการพัฒนาอาชพี วิเคราะหลกั ษณะขอบขายการงานอาชีพ กระบวนการทาํ งาน การบรหิ ารจัดการของอาชีพตา ง ๆ ในชมุ ชน สงั คม ประเทศ และภูมภิ าค 5 ทวีป ไดแก ทวปี เอเชีย ทวีปออสเตรเลยี ทวปี อเมรกิ า ทวีปยโุ รป และทวีปแอฟริกา เพ่ือการพัฒนาอาชีพ จากการงานอาชีพตาง ๆ ความสําคัญในการพฒั นาอาชีพ การพฒั นาอาชพี เปน สงิ่ ท่สี าํ คญั ในวิถีชีวิตและการดาํ รงชพี ในปจจบุ นั เพราะอาชีพเปน การสราง รายไดเ พ่ือเลีย้ งชพี ตนเองและครอบครัว อาชีพกอใหเกิดผลผลิตและการบริการ ซึ่งสนองตอบตอ ความตองการของผูบริโภค และที่สําคัญคือ การพัฒนาอาชีพมีความสําคัญตอเศรษฐกิจของ ประเทศชาติ ความสําคัญจึงเปน ฟน เฟองในการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต เศรษฐกิจ ชมุ ชน สงผลถึงความ เจรญิ กา วหนาของประเทศชาติ ความจําเปนในการพฒั นาอาชพี ความจําเปนในการพัฒนาอาชพี ในชุมชน สังคม ประเทศ และภมู ภิ าค 5 ทวีป ไดแก ทวีปเอเชยี ทวีปออสเตรเลีย ทวีปอเมริกา ทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกา ท่ีเหมาะสมกับตนเอง วิเคราะห ความเปนไปไดตาง ๆ ไดแก การลงทุน การตลาด กระบวนการผลิต การขนสง การบรรจุหีบหอ การแปรรูป และผลกระทบตอชุมชน และสิ่งแวดลอม ความรูความสามารถของตนเองตอส่ิงที่ ตองการพัฒนา การลําดับความสาํ คัญของการพฒั นาทมี่ คี วามเปน ไปได เพ่ือนําขอมูลที่วิเคราะหไว นาํ ไปปรกึ ษาผรู ู การตัดสนิ ใจเลือกพฒั นาอาชพี ที่เหมาะสมกบั ตนเอง โดยวเิ คราะหค วามพรอ มของ ตนเอง ความตองการของตลาด เทคนิคความรู ทักษะในอาชีพ และความรับผิดชอบตอสังคม ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอม

3 เร่อื งท่ี 2 การพฒั นากระบวนการผลิตอาชีพในชุมชน สังคมประเทศและภมู ภิ าค5ทวีปไดแ ก ทวีปเอเชีย ทวปี ออสเตรเลีย ทวปี อเมรกิ า ทวีปยโุ รป และทวีปแอฟริกา เปนการวิเคราะหลักษณะ ขอบขาย กระบวนการผลิตทางอาชีพจากงานตาง ๆ ในวิถีชีวิต ไดแ ก งานบาน งานเกษตร งานชา ง งานประดิษฐ และงานธรุ กิจ 1. งานบา น งานบา น เปนการวเิ คราะหเกย่ี วกบั งานบานและชีวติ ความเปน อยใู นบาน ผาและเครื่องแตงกาย อาหารและโภชนาการ โดยเนนการแกปญหาในการทํางาน มีความรับผิดชอบ สะอาด มีระเบียบ ประหยัด อดออม อนรุ กั ษพลงั งานและสิ่งแวดลอม เพ่ือนําไปสูการสรางงานอาชีพท่ีเหมาะสมกับ ศกั ยภาพของตนเองและสอดคลอ งกบั ชมุ ชน สงั คม 1.1 บานและชวี ิตความเปน อยใู นบาน ความสัมพนั ธข องสมาชิกในบาน บานเปนปจ จยั ทจ่ี าํ เปน ในการดาํ รงชีวิต บานเปนท่ีอาศัย ใหความปลอดภยั ความรกั ความอบอุน รว มกนั ทาํ กิจกรรมตาง ๆ เปนศูนยรวมของสมาชิกทุกคน ในครอบครัวและมคี วามสมั พันธตอกนั ความหมายของครอบครัว ครอบครัวเปนหนวยหนึ่งของสังคม ประกอบดวยสมาชิกต้ังแต 2 คนข้ึนไปอยูรวมกัน บา นเดียวกันชว ยกนั ดูแลรกั ษาและออกคา ใชจา ยของบานรวมกัน และยังเปนรากฐานหรือสถาบัน ทส่ี ําคัญของสงั คมในการใหการศึกษา อบรมเล้ียงดูและสรางประสบการณดานตาง ๆ แกสมาชิก ที่อาศัยอยูรวมกนั ลกั ษณะของครอบครวั มีดังน้ี 1. ครอบครัวที่ประกอบดวยกลุมคนท่ีมีความผูกพันกันทางกฎหมาย คือ การสมรส และ การรบั บุคคลอ่นื เปนบุตรบญุ ธรรม 2. ครอบครวั ที่ประกอบดวยกลุมคนที่มคี วามผูกพันกันทางสายเลือด ไดแก พอ แม ลูก ปู ยา ตา ยาย พี่ นอ ง หลาน 3. ครอบครัวท่ีประกอบดวยกลุมคนท่ีมีการใชจายรวมกัน จากเงินงบประมาณเดียวกัน อาจเก่ยี วพันกันทางสายเลอื ด หรือไมเกยี่ วพนั กนั เชน พอ แม ลูก พ่นี อ ง นายจา ง ลูกจา ง เพ่ือน ความสาํ คญั ของครอบครัว ครอบครวั ตองมหี วั หนาครอบครัว โดยปกติจะเปนบิดา แตบางครอบครัวอาจเปนมารดา หรือญาติผูใหญ หัวหนาครอบครัวเปนบุคคลสําคัญในการสรางความสัมพันธและบรรยากาศให สมาชกิ ในครอบครวั มีความรกั ความอบอุน ความเขาใจอันดีตอกัน สมาชิกจะไดรับแบบอยางที่ดี จากครอบครวั ทําใหมจี ิตสาํ นึกในบทบาทภาระหนาที่ของตนเองทม่ี ีตอ ครอบครวั และสงั คม

4 ดังนั้น ครอบครวั จึงเปน สถาบนั ทีส่ ําคัญตอการปลกู ฝง คณุ ลักษณะอันพึงประสงคใ หเ กดิ แก สมาชิกของครอบครวั ไดแก ความเปน ผมู รี ะเบียบวนิ ัย มีความรับผดิ ชอบ ซ่ือสัตยตรงตอเวลา รูจัก การเสียสละ ซ่ึงเปนรากฐานสําคัญใหสมาชิกของครอบครัวกาวไปสูสถาบันอื่น ๆ ของสังคมได อยา งมีคณุ ภาพ การสรา งความสัมพันธใ นครอบครวั บรรยากาศของครอบครัวท่ีมีสมาชิกอารมณดีมีความสัมพันธอันดีตอกัน สามารถทําได ดังนี้ 1. ใหส มาชิกมสี วนรวมแสดงความคิดเหน็ เก่ียวกับงาน หรือปญ หาของครอบครัว 2. ฝก ใหร ูจักการเปน ผฟู ง และผพู ดู ทีด่ ี 3. ยอมรบั นบั ถอื ในความคิดเหน็ ของผูอ น่ื 4. มอบหมายงานใหเหมาะสมกบั วัยและความสามารถ 5. รจู กั หลกี เล่ียงการขดั แยง พยายามทําความเขา ใจและรจู ักการใหอ ภัยซ่งึ กันและกนั 6. มกี ิจกรรมหรืองานทท่ี าํ รว มกัน ชว ยใหเกิดความสามัคคี การปรบั ตัวเขาหากนั 7. มีสัมมาคารวะ ประพฤตติ นเหมาะสมกับวัย และกาลเทศะ 8. ใหค วามเคารพนบั ถือตอผูอ าวโุ ส 9. ใหค วามชวยเหลือ เอื้ออาทร และมีนํา้ ใจอนั ดีตอ กัน 10. รจู ักเสียสละตามสมควรแกโ อกาส หนาทีค่ วามรบั ผดิ ชอบของสมาชิกในครอบครวั สมาชกิ ทกุ คนในครอบครวั มีสว นรว มในการทํางานบาน ไมควรมอบภาระใหกับผูใดผูหนึ่ง งานตาง ๆ จะสาํ เรจ็ ไดด ว ยดีตอ งอาศยั ความรวมมอื รว มใจของสมาชกิ ทุกคน ซึ่งหลกั ในการแบงงาน และความรับผิดชอบควรพิจารณา ดงั นี้ 1. วเิ คราะหและวางแผนรว มกันวามงี านอะไรบา งที่จะตองจดั ทําในครอบครวั 2. มอบหมายงานใหส มาชกิ ทําตามความสามารถ ความถนดั และเหมาะสมกบั วัย 3. กาํ หนดหนาท่ีรับผิดชอบงานของแตละคนใหชัดเจนวาใครมีหนาท่ีอะไรและมีงานใด ท่สี มาชิกควรทํารวมกัน ลักษณะงานในบา น ลกั ษณะงานในบา นมหี ลายประการ สมาชิกในครอบครัวควรมสี ว นรวมลักษณะงานในบา น แบงออกได 2 ประเภท คือ 1. งานสวนตวั เปนงานทส่ี มาชิกตองปฏิบัติสําหรับตนเอง เชน ดานสุขภาพอนามัยตัวเอง คือ การทําความสะอาดรางกาย การทําความสะอาดเคร่ืองใชสวนตัว รับประทานอาหารท่ีมี

5 ประโยชนตอรางกาย พกั ผอ นใหเ พียงพอ ดานการวางแผนมกี ารวางแผนในการใชเวลาแตละวันให เปนประโยชนและเหมาะสมกบั ลักษณะงานท่ีปฏิบัติ 2. งานสว นรวม เปนงานทีไ่ ดร บั มอบหมายจากสมาชกิ ในครอบครัว หรอื เปนงานท่ีแบงเบา ภาระของบิดามารดา ผูปกครอง และสมาชกิ ในบาน เชน การประกอบอาหาร งานซักรดี เส้ือผา และ ทําความสะอาดเคร่ืองนงุ หม การจดั และการดูแลรักษาบาน การใช การเกบ็ การบํารงุ รักษา การเลือก ซอ มแซม ดดั แปลง เครื่องมือเครื่องใชในบานให ถกู วิธีและเหมาะสมกับบริเวณพื้นท่ีในบาน จะชวยใหสะดวกตอการนํามาใชและยืดอายุการเก็บ รกั ษา ซง่ึ จะเปนประโยชนตอ การจัดและการดแู ลรักษาบาน แบง ไดดงั น้ี 1. อุปกรณการทําความสะอาดบาน เชน ไมก วาดประเภทตา ง ๆ หลังจากใชแ ลวควรเก็บใน บริเวณทล่ี ับตาหรอื ขางตูท่ีสูง เพ่ือหยิบใชไดสะดวกในการใชงานครั้งตอไป สารท่ีชวยในการทํา ความสะอาด เชน ผงซักฟอก น้ํายาขัดพนื้ ควรเกบ็ ใสภ าชนะทีม่ ฝี าปดมิดชิด 2. อปุ กรณเครื่องใชไ ฟฟา เชน เตารีด โทรทศั น เตาไฟฟา ฯลฯ ควรจดั วางในที่อากาศถา ยเท หรือหมุนเวยี นไดส ะดวก ไมค วรมนี า้ํ ขัง และหลงั จากใชงานแลวตองถอนปลั๊กออกใหเรียบรอย 1.2 ผา และเคร่อื งแตงกาย การเลือกใชผาและเคร่ืองแตงกายผาและความสําคัญของเสื้อผา ผาเปนเคร่ืองนุงหมท่ีให ประโยชนตอการดํารงชีวิตของมนุษย ผาเปนเครื่องนุงหมที่ใหความอบอุนแกรางกาย ปองกัน อนั ตรายจากการปฏบิ ัติงานตา ง ๆ และเพ่ือใหเ กดิ ความสวยงาม นอกจากน้ันผายังใชในการตกแตง บา นเรือน กอ นที่จะนาํ ผา มาใชใ หเกิดประโยชนต อ การดาํ รงชีวิต ควรศึกษาและเลือกใชใหถูกตอง ตามความเหมาะสม การเลือกใชเสื้อผาเคร่ืองแตง กายทีถ่ กู ตอง จะตองคํานงึ ถึง 1. การสํารวจและรจู ักตนเอง การพิจารณารูปราง ลักษณะของผูสวมใส เชน ความสูง เตี้ย ความอว น ผอม สผี ิว สีตา สผี ม จุดเดนและจุดบกพรองของรูปรา งหนาตา 2. ในการเลือกแบบเส้อื แบบเสื้อที่ดีควรเปน แบบท่งี าย ๆ แตนาสนใจ มจี ุดเดน เพยี งจุดเดยี ว ไมควรมกี ารตกแตงรงุ รังมากเกินไป และเลือกใหเหมาะสมกับบุคลกิ ของผูสวมใส 3. งบประมาณเรอ่ื งเส้ือผา ควรซือ้ มาใชแ ลวคุม คา เงินทีเ่ สียไปและใชไ ดนาน การทําความสะอาด ดูแลและรกั ษาผาและเครอ่ื งแตง กาย เส้อื ผา นอกจากจะตอ งเลอื กเส้ือใหเหมาะสม ใหถูกตอ งกับบุคลิกภาพ โอกาส สถานที่แลว ผสู วมใสค วรศึกษาการรักษาความสะอาดอยางถูกวิธีเพื่อยืดอายุการใชงาน ความทนทาน รวมทั้ง รูจ กั การซอ มแซมเส้ือผาใหอยใู นสภาพพรอมที่จะใชประโยชนไดทันที การทําความสะอาดเสื้อผา ควรคํานงึ ถึงชนิดของผาเสียกอนวาควรใชน า้ํ ยา ผงซกั ฟอกหรอื สบชู นดิ ใด ผา ที่ซักนนั้ ทนตอการขยี้

6 หรือไม และอณุ หภมู มิ ากนอ ยเพยี งใด รวมท้ังความคงทนของสีผา ควรอานปายท่ีติดกับตัวเสื้อให ละเอยี ดเก่ยี วกับคุณสมบตั ขิ องเสอ้ื ผา ที่นํามาใช เพราะผาแตละชนิดการดแู ลรักษาแตกตา งกนั ดังนน้ั ควรไดศ กึ ษาเพื่อจะไดมีเส้ือผา ที่ใหมแ ละใชงานไดนาน ๆ การซกั ผา มจี ุดมุงหมาย คอื การทําความสะอาด ลบรอยเปอนออกใหหมด การซักผาทําได 2 วธิ ี คือ 1. ซกั ดวยน้ํา เรียกวา ซกั เปยก 2. ซกั ดวยสารละลายโดยผา ตอ งไมถกู นาํ้ เรียกวา ซักแหง การซักผา ทถ่ี กู ตองจะชวยทาํ ใหผาทนทานและสวยงามอยูเสมอ มีลาํ ดับข้ันตอน ดงั น้ี 1. ตรวจดูรอยชํารดุ ของเส้อื ผา กอ นลงมอื ซกั ถามีรอยชาํ รดุ ควรซอมแซมกอน 2. รดู ซปิ และปลดเขม็ ขดั ออกจากหวง เพราะจะทําใหฟ นซิปหรอื เข็มขดั เสยี ในระหวางที่ซกั 3. ลว งดูกนกระเปาหากมสี ิ่งของหรือส่ิงแปลกปลอมควรเอาออกใหห มดเพราะบางคร้ังสิง่ เหลาน้ี จะทําใหเสื้อผา เปอน ถา ซกั ดวยเครื่องจะทําใหเคร่อื งซกั ผาเสยี เร็ว 4. กาํ จดั รอยเปอนและจดุ ดา งดําใหหมดกอนลงมือซกั 5. แยกประเภทของผา กอ นท่ีจะนําไปซัก เพราะผา บางชนดิ อาจสีตก 6. กอนนําผาลงไปซักกับผงซักฟอกหรือน้ําสบู ควรซักน้ําเปลากอน 1 คร้ัง เพื่อขจัดสิ่ง สกปรก เชน ฝุน ละออง หรอื คราบสิง่ สกปรกอ่นื ๆ เพราะผา บางชนดิ สกปรก สามารถดูดซึมซับได รวดเร็วจะทาํ ใหผานนั้ เกา เรว็ สไี มสดใส การรดี ผา ควรปฏิบตั ิ ดงั น้ี 1. เสยี บปล๊กั เตารดี แลว เปดสวิตชปรบั อณุ หภมู คิ วามรอนใหเหมาะสมกับเน้ือผาท่ีกําลังรีด หรืออา นจากปายทีต่ ดิ เส้อื วาควรใชอ ณุ หภูมเิ ทา ไหรใ นการรดี การรีดควรกลับตะเขบ็ ดา นในทดลอง รีดดกู อน เพอื่ ปองกนั ผาเสียหาย 2. การรดี เตารีดไอนํา้ ควรใชน ้ํากล่ันเตมิ กอ นเสียบปลั๊กไฟเปดสวิตช ไมค วรใชนํ้าประปาเติม เพราะถา ใชนาํ้ เตมิ ไปนาน ๆ ทาํ ใหนํา้ ท่ตี กตะกอนจบั ตัวทาํ ใหอุดตันที่ทอไอน้ําได ดังน้ัน หลังจาก เลิกใชท กุ คร้ังควรถายนา้ํ ออกใหห มด 3. อยาพรมนาํ้ เปยกมากจนเกินไป ควรพรมนาํ้ ท้งิ ไวป ระมาณ 5-10 นาที แลว คอ ยรดี เพราะ ถา ผา เปยกมากเกนิ ไปจะทาํ ใหเสียเวลาการรดี ผา และจะเสียคา ไฟฟา มากขึน้ กวา ปกติ 4. ควรรดี ผาหลาย ๆ ตวั ในคร้งั เดียวกนั ถา ผาเนอ้ื บาง ๆ ควรรีดหลังสุด เพราะผาบางไมไดใช อณุ หภูมิสงู เหมาะทีจ่ ะรีดหลังจากถอดสวติ ชแ ลว เพอ่ื เปน การประหยดั กระแสไฟฟาและเงินอีกดวย 5. ระวงั อยา ใหเ ตารีดหลนหรือตก ขณะที่กําลังจะหยุดรีดชั่วขณะหน่ึงควรปดสวิตช หรือ ถอดปลกั๊ เตารีดเพ่ือปอ งกนั การเกิดไฟไหม

7 6. ขณะทร่ี ดี ผา ควรใหสายเตารดี เรยี บไมมวนงอ เพราะจะทาํ ใหสายเสยี ดสีกนั ทําใหฉนวน หุมสายไฟไมทนทานจะทาํ ใหเกิดอันตรายได 7. เม่ือรดี ผาเสรจ็ ทกุ ครั้งตอ งปดสวิตช ถอดปลกั๊ และเก็บพับสายใหเ รยี บรอยทุกครั้ง 8. เตารีดหลังจากใชแลว หากมีส่ิงสกปรกติดอยู ควรใชผาชุบนํ้าหรือเบนซินหมาด ๆ เช็ดออก ทุกครง้ั การซอ มแซมเสอ้ื ผา เสื้อผา ที่ชาํ รุดอาจเน่อื งมาจากการซักรีด หรือถูกส่ิงอื่นเกาะเกี่ยว ทําใหเส้ือผามีรอยตําหนิ หรือเสียหาย เส้ือผาท่ีใสอยูบางตัวยังใหม ตองการกลับมาใชประโยชนอีก จึงจําเปนตองศึกษา วิธีการซอมแซมใหเหมาะสมและถูกวิธี การซอมแซมเสื้อผา นอกจากจะนํากลับมาใชไดอีก ยังสามารถดดั แปลงเส้ือผา ใหไ ดแบบใหมแ ปลกตา ทาํ ใหเกิดความสวยงามย่ิงขน้ึ และนา สวมใส กอนท่ีจะนําเส้ือผามาซอมแซม ควรพิจารณากอนวาควรซอมแซมวิธีใดจึงจะเหมาะสม โดยพิจารณาจากรอยชํารุดกอนและวิธีการซอมแซมสามารถนํากลับไปใชไดอีกนานหรือไม การซอมแซมก็ไมยุงยาก กจิ กรรม ใหผ เู รียนหาภาพการแตงกายของบุคคลตาง ๆ คนละ 3 ชุด ใหเหมาะสมกับวัย กาลเทศะ และฐานะทางเศรษฐกิจพรอมทงั้ แสดงความคิดเห็น 1.3 อาหารและโภชนาการ การเลอื กบริโภคอาหารเครือ่ งดม่ื และมารยาทในการรับประทานอาหาร อาหารเปนหนึ่งใน ปจจัย 4 ทีส่ ําคัญตอ การดาํ รงชีวิต รา งกายจะเจริญเติบโตแข็งแรง และมสี ขุ ภาพท่ดี ีตองไดรับอาหาร ท่ีถูกสุขลักษณะ มีคุณคาทางโภชนาการเพียงพอกับความตองการของรางกายในแตละวัยซ่ึงมี ความแตกตา งกัน อาหาร หมายถึง ส่ิงท่ีกินเขาสูรางกายแลวไมมีโทษตอรางกาย แตนําไปใชประโยชนได โดยสรางความเจริญเติบโต ซอมแซมสวนที่สึกหรอ ชวยใหรางกายดําเนินชีวิตตามปกติและ ปราศจากโรค สารอาหาร หมายถึง สวนประกอบที่เปนสารเคมีที่มีอยูในอาหารและรางกาย สามารถ นําไปใชป ระโยชนได ไดแ ก โปรตนี คารโบไฮเดรต วิตามนิ เกลือแร ไขมนั อาหารสมสว น หมายถึง อาหารที่มีสารอาหารครบทง้ั ปริมาณและคุณภาพตามความตองการ ของรางกาย

8 การเลือกบริโภคอาหารใหถกู หลักอนามยั การมีความรูความเขาใจเก่ียวกับการเลือกบริโภคอาหารใหถูกหลักอนามัย จะชวยปองกัน การแพรกระจายของเช้อื โรคท่ีมใี นอาหารได หลักการเลอื กบริโภคอาหารใหถูกหลกั อนามยั 1. ควรบรโิ ภคอาหารสุก เนือ่ งจากอาหารสกุ เปนอาหารท่ผี านการฆาเชือ้ ดว ยความรอ น จึงมี ความปลอดภัยมากกวาอาหารดิบ 2. ควรใชชอนกลางประจําสําหรับตักกับขาวในการรับประทานอาหาร เพื่อเปนการปองกัน การแพรกระจายของโรคที่ตดิ ตอได 3. ควรลา งมือกอ นรับประทานอาหารดวยนาํ้ สบูท กุ ครงั้ โดยเฉพาะผูน ยิ มบริโภคขาวเหนยี ว และอาหารอ่นื ๆ ดวยมอื 4. รูจักเลอื กบริโภคอาหารทส่ี ะอาดและปลอดภยั 5. อาหารตอ งมีคณุ คา สูงและราคาไมแพงนัก การเลอื กซ้ืออาหารควรพิจารณาถึงคุณคาของ สารอาหารตามหลกั โภชนาการ 6. อาหารตองมีคุณภาพ สังคมในปจจุบันมีการเลือกซ้ืออาหารมารับประทานกันมากขึ้น ผบู รโิ ภคควรเลอื กอาหารสดใหม ไมบูดเนา หรือสงกลิ่นเหม็น ไมควรเก็บอาหารท่ีซื้อไวนานเกิน เพราะจะทําใหอาหารไมมคี ุณภาพ 7. ทาํ ความสะอาดและเกบ็ ภาชนะอุปกรณเ ครื่องใชอ ยา งถูกตอ ง หลังทําความสะอาดผึ่งใหแหง และควรเกบ็ เขา ท่ีใหเ รียบรอย เพ่ือปองกนั ฝุนละอองและไมอ ับชนื้ การปฏบิ ัติหลังรบั ประทานอาหาร 1. เมื่อรบั ประทานอาหารอ่ิมแลว ควรรวบชอ นและสอมไวใ นจาน 2. ชว ยกันเกบ็ ภาชนะตาง ๆ เกบ็ กวาดเช็ดถูใหเ รียบรอย (รบั ประทานอาหารทบ่ี า น) 3. ควรลกุ จากโตะอาหารพรอม ๆ กนั ถา จาํ เปน ตองลุกกอ นควรกลา วขออนุญาตแลว เกบ็ เกา อ้ี ไวใ นสภาพเดมิ การเลอื กบรโิ ภคอาหารใหเหมาะสมตามวยั อาหารสําหรับผูใหญ (อายุ 40 ปข ึน้ ไป) วยั นี้รางกายมีการเสริมสรางเซลลตาง ๆ เพ่ือรักษา สมรรถภาพการทํางานในรา งกายใหคงที่ จงึ ควรไดรบั อาหารครบทัง้ 5 หมแู ละไดส ดั สว นท่เี หมาะสม ดังน้ี โปรตีน นม 1 แกว ตอวัน ไข 1 ฟองตอวัน หรอื สปั ดาหล ะ 3-4 ฟอง เน้อื สัตว 100 กรัมตอวนั

9 เคร่ืองในสัตว 1 ครัง้ ตอสัปดาห ถว่ั เมล็ดแหง 50 กรัม แปง หรือน้ําตาล (ใน 1 วนั ) ขา วสวยหรืออาหารจากแปง 3 จาน (250-300 กรมั ) เผือก มนั 1 หวั เลก็ น้าํ ตาล 2 ชอนโตะ นาํ้ มนั หมู 2 ½-3 ถวยตวง ผัก/ ผลไม (ใน 1 วนั ) ผกั ใบเขยี วสกุ ½ ถว ยตวง ผกั ใบเขยี วสด 1 ถวยตวง ผักประเภทหัว ดอก ผล ½ ถวยตวง ผลไม 1 ผลเลก็ (สม 1 ผล) นํ้าผลไม ½ ถวยตวง อาหารสาํ หรบั ผสู ูงอายุ (อายุ 60 ปข ้นึ ไป) วัยน้มี ีการเปล่ยี นแปลงไปในทางเส่อื มลงของเซลล อวัยวะตา ง ๆไดแก เซลลของสมอง ไต หัวใจ กระดูกออน กลามเนื้อลาย เปนตน และไมสามารถ สรางข้นึ ใหมได จงึ ควรไดร ับสารอาหารในปริมาณที่เพียงพอเชนเดียวกบั วัยผูใหญ การเก็บและการถนอมอาหาร วธิ กี ารเก็บอาหารประเภทตา ง ๆ 1. การเก็บอาหารสด กอนเก็บไวในตูเย็นหรือตูแช ตองลางส่ิงปกปรกที่ติดมากับอาหาร ออกใหห มดขณะทแ่ี ชเ ย็น และจะชว ยยดื อายกุ ารเกบ็ อาหารสดได 2. การเก็บอาหารแหง ตองปองกันความชนื้ ทจ่ี ะเกดิ กบั อาหาร เชน การเก็บเมล็ดพืชควรทําให แหง กอนนาํ ไปเก็บในภาชนะมีฝาปดและไมอับช้ืน สวนพืชที่เปนหัวควรแขวนไวในที่โปรง สะอาด มลี มโกรกไดดี ควรนาํ ไปผ่ึงแดดออน ๆ เปนประจํา 3. การเก็บอาหารกระปอง ควรเก็บไวในที่ท่ีมีอากาศเย็น โปรงและไมอับชื้น เพราะจะได ปอ งกนั เชื้อโรคท่หี ลงเหลอื อยใู นกระปอ ง 4. การเก็บอาหารปรงุ สาํ เรจ็ อาหารทเ่ี หลอื จากการบริโภคควรเก็บในตเู ยน็ ไมเกิน2 วันกอ นนํามา รบั ประทานควรอุน ใหร อ นจดั เพ่อื ทาํ ลายเช้อื จุลนิ ทรียทท่ี าํ ใหเ กดิ อาการทอ งเสยี การถนอมอาหาร คอื วธิ ีการตา ง ๆ ทีท่ ําใหอ าหารเกบ็ ไดน านกวาปกติ โดยไมบดู เสีย หลักในการถนอมอาหาร หลักในการถนอมอาหารสามารถทําไดหลายวิธี ดงั นี้ 1. การแชอ าหารในอุณหภมู ติ าํ่ วธิ นี ้ีชว ยใหอ าหารเสยี ชาลง เพราะแบคทีเรียและเชื้อราซ่ึงเปน ตนเหตุใหญมีการเจรญิ เติบโตไดชา การเก็บอาหารไมใหเสียโดยใชอุณหภูมิตํ่านี้จะเก็บไวไดนานเทาไร ข้ึนอยกู บั อุณหภูมิในการเกบ็ วธิ เี กบ็ อาหารในตูเ ยน็ จะเกบ็ อาหารไดในระยะส้นั ประมาณ 1 สัปดาห

10 แตถาตองการเก็บอาหารในระยะยาวเปนเดือนหรือเปนป จะตองใชอุณหภูมิต่ํากวาจุดเยือกแข็ง คือ แชใหอาหารแข็ง อาหารท่ีแชแข็งนี้ถานํามาไวในอุณหภูมิสูงข้ึนก็จะเร่ิมเสียไดอีก เชนเดียวกับ อาหารสดทว่ั ไป 2. การตากแหง แบคทีเรียและเชื้อราในอาหารจะเจริญเติบโต ทําใหอาหารเสียได ตองอาศัย ความช้นื พอสมควร การตากแหงทําใหค วามช้ืนในอาหารต่าํ จนเชือ้ จุลนิ ทรียไ มส ามารถเจริญเติบโตได อาหารก็ไมเสียนิยมใชกันมากกับเนื้อสัตว ผักและผลไม เพราะทําไดงายและประหยัด การตากแหง อาจจะใชวธิ ตี ากแดดอบ ปง ยาง หรอื รมควันกไ็ ด สาํ หรับวธิ หี ลังน้ี ควันไฟยังมสี ารบางอยางชวยถนอม อาหารไมใ หเสียอกี ดวย 3. การใชความรอ น วิธีนอ้ี าศัยความรอนเพอ่ื ทาํ ลายจุลินทรียท่ีจะทําใหอาหารเสียและทําลาย เอนไซมทาํ ใหปฏิกิรยิ าดาํ เนนิ ไปไมได การทาํ ลายจุลินทรยี ดวยความรอนนอี้ าจทาํ ไดห ลาย ๆ ขนั้ เชน 3.1 การทําลายเช้ือจลุ ินทรยี บ างตวั ใชกับอาหารบางชนิดท่ตี องการรักษาใหค งรูปเดิมไว เชน นมสด ใชว ธิ ีพาสเจอรไ รส ซ่ึงใชค วามรอนตํ่าไมถ ึงจุดเดอื ด เพียงแตทําลายเช้ือจุลินทรียท่ีจะเปน อันตรายแกผ ูบรโิ ภคเทานน้ั ฉะน้นั นมสดท่ผี านความรอนไมถ งึ จดุ เดือดจะยังมีเชอ้ื จลุ นิ ทรียอ ยูตองเก็บ ไวในที่อุณหภูมิตํา่ เพ่อื ไมใหเ สีย 3.2 การทาํ ลายเช้ือจุลินทรยี ท้ังหมด วิธนี ีใ้ ชความรอ นสูงในระยะยาว ใชวิธีสเตอริไลซ เพื่อฆา เช้ือจลุ นิ ทรยี ใ นอาหารใหหมด และเก็บอาหารที่ไมมีเชื้อจุลินทรียแลวในภาชนะท่ีมิดชิด เชน บรรจุกระปอง หรือบรรจุขวด อาหารที่ถนอมดวยวิธีน้ีเก็บไวไดนานมาก เพราะไมมีส่ิงท่ีจะทําให อาหารเสียเหลืออยู แตว ิธกี ารนีย้ งุ ยากไมเหมาะท่ีจะทําในครอบครัว เพราะตนทุนสูงเหมาะในการทํา เปนอตุ สาหกรรมเทา นั้น 4. วธิ ีอ่ืน ๆ ไดแก การดอง การกวน การแชอ ม่ิ ฯลฯ ใชม ากกับผักและผลไม ในประเทศเรา วิธเี หลา นชี้ ว ยถนอมอาหารไวไ ดม ากโดยทําสงิ่ แวดลอ มใหมีสภาพไมเหมาะสมสาํ หรับการเจรญิ เตบิ โต ของเชื้อจุลนิ ทรีย คุณคา ทางโภชนาการของอาหารทีถ่ นอมแลว วิธีการถนอมอาหารทุก ๆ วิธี ทําใหมีการเปล่ียนแปลงในตัวอาหารเองมากบางนอยบาง แลว แตวิธกี าร สาํ หรบั คณุ คา ทางโภชนาการนั้นก็มกี ารเปลีย่ นแปลงเชนเดยี วกัน มากนอยข้ึนอยูกับ ประเภทของอาหารและวิธีการที่ทําถนอมไวโดยตากแหง เชน เนื้อเค็ม ปลาแหง ปลากรอบ ฯลฯ ดองหรือหมักใสเกลือ เชน ปลารา หอยดอง ฯลฯ เหลานี้ โปรตีนในเน้ือสัตวยังใชประโยชนได แตก ารบริโภคอาหารเหลาน้จี ะตองระวังในดา นความสะอาด ควรจะทาํ ใหสกุ ดีเสยี กอน ผักและผลไม สารอาหารที่สําคัญ คือ วิตามิน โดยเฉพาะอยางย่ิงวิตามินซีสลายตัวไดงาย โดยความรอน การสัมผัสกับอากาศ ฯลฯ ฉะน้ัน ผักและผลไมที่ถนอมวิตามินจะนอยลง เมื่อถูก ความรอนและสมั ผสั กับอากาศ สว นเกลือแรใ นผกั และผลไมไมคอยมีการเปลี่ยนแปลง

11 กจิ กรรม ใหผูเรียนจัดรายการอาหารและเครื่องด่ืมเพื่อสุขภาพ 3 ม้ือ ใน 1 วัน สําหรับบุคคล ดงั ตอไปนี้ (เลอื ก 1 หัวขอ) - เดก็ วยั เรียน - ผใู หญ - ผสู งู อายุ มอื้ อาหาร ชือ่ อาหาร/เครือ่ งดืม่ สว นผสม/วธิ ีปรงุ คณุ คา ทางโภชนาการ การอนรุ ักษพลังงานและสิง่ แวดลอม การอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมในครอบครัว ไดแก การใชไฟฟา นํ้าประปาอยาง ประหยัด ดงั นี้ การใชไฟฟา 1. การเลือกซ้ือเคร่ืองใชไฟฟา ควรเลือกซื้อชนิดประหยัดไฟ เชน หลอดตะเกียบ หรือ เครอื่ งใชไ ฟฟาทร่ี ะบฉุ ลากประหยัดไฟ 2. เครอ่ื งใชไ ฟฟา ทีก่ ินไฟมาก เชน หมอ หงุ ขาว กาตมน้ํา กระทะ เคร่ืองซักผา เตารีด หรือ เคร่ืองใชไ ฟฟาเสียบปลกั๊ ทุกชนิด เม่อื ใชเ สร็จแลวตองถอดปลก๊ั ออกทันที 3. การใชเ ตารีดไฟฟา รีดผา ควรเตรียมเส้ือผา ทีจ่ ะรดี และเตรียมเครื่องใชอ่ืน ๆ ใหพรอมกอน เมื่อจะรีดจึงเสยี บปลั๊ก ควรรดี คร้งั ละมาก ๆ ประหยัดไฟฟา มากกวา รดี ทีละนอยและบอ ยคร้ัง 4. เครื่องใชไฟฟา ท่ีมสี วิตซป ด เปด เชน หลอดไฟ พัดลม เมื่อเลิกใชค วรปด สวิตชทนั ที 5. เครอื่ งปรับอากาศตองใชเ ทา ทีจ่ าํ เปน เมอ่ื จะออกจากหองหรือหยุดใชงานควรปด เคร่อื งกอน ประมาณคร่ึงช่วั โมง 6. ควรตรวจปลั๊ก สวิตชเ คร่ืองใชไ ฟฟา ในบานทุกชนิดใหเรยี บรอย และอยูในสภาพดเี สมอ เพ่ือประหยดั ไฟฟา และปลอดภยั จากอบุ ตั เิ หตทุ ี่จะเกิดจากไฟฟา

12 การใชน้าํ ประปา 1. เม่ือเปด กอ กน้าํ ประปาและใชน้ําในปริมาณพอเพียงแลว ปดกอกน้ําทันที อยาปลอยให นํ้าไหล จนลนภาชนะ 2. หมั่นตรวจดูกอกน้าํ ทอ น้าํ ภายในบานและบรเิ วณบา น ถามรี อยรั่วแตกตอ งรีบซอมทันที 3. บา นท่ีมีหองสุขาแบบชกั โครก ควรเลอื กซือ้ ชักโครกแบบประหยัดน้ําและถาใชขวดพลาสติก กรอกน้ําใหเต็ม แชไ วใ นถังชักโครกจะชว ยประหยดั นํ้าได 4. นาํ้ ทใ่ี ชแลว เชน น้ําซาวขา วนา้ํ ลา งผกั ผลไม นาํ้ ลา งจาน นํ้าท่ซี ักผา ถา เปนนํา้ สุดทา ย จะไม คอ ยสกปรกสามารถนําไปรดตนไมได 5. กอ นออกไปนอกบา น หรอื กอนนอนควรตรวจดกู อ กนา้ํ ในบา นตอ งปดใหเรยี บรอย การเกบ็ ขยะภายในบานและการแยกขยะ ปจจุบันปญหาสิ่งแวดลอม คือ ขยะ ซ่ึงตองกําจัดอยางรวดเร็ว ขยะนอกจากทําลาย สิ่งแวดลอ มแลว ยงั เปนจุดรวมของสตั วทเี่ ปนพาหนะนาํ โรค เชน หนู แมลงสาบ ดงั นน้ั การเก็บขยะ และแยกขยะทีถ่ กู วธิ ี ชว ยใหส ะดวกตอการนาํ ไปยอ ยสลายหรือนาํ ไปใชใหเ กิดประโยชน อกี ทง้ั ชวย รักษาสภาพแวดลอ มที่ดี กิจกรรม 1. ทา นมหี ลกั ในการมอบหมายหนา ที่ใหก บั สมาชิกในครอบครวั อยา งไรบา ง 2. ครอบครวั หน่งึ มสี มาชิกท้งั หมด 5 คน และมีความชอบทีต่ างกนั ดังนี้ พอ ชอบปลกู ตน ไม แมชอบทาํ อาหาร ลูกสาวคนท่ี 1 ชอบอานหนังสือ ลูกชายคนที่ 2 ชอบ เลนเกม และลกู ชายคนสุดทอ งชอบเลนกฬี า ทานมวี ิธกี ารแบง หนา ทก่ี ารทาํ งานบา นใหก ับคนในครอบครัวน้ีไดอยางไร 2. งานเกษตร งานเกษตร เปน การวเิ คราะหเกี่ยวกับการปลูกพืช และการเล้ยี งสัตว ตามกระบวนการผลิต และการจัดการผลผลติ มกี ารใชเทคโนโลยเี พือ่ การเพ่มิ ผลผลติ ปลูกฝง ความรบั ผดิ ชอบ การอนุรักษ พลังงานและส่ิงแวดลอมเพื่อนําไปสูการสรางงานอาชีพที่เหมาะสมกับศักยภาพของตนและ สอดคลอ งกบั ชมุ ชน สังคม 2.1 การปลกู พืช การปลกู ผักสวนครัวปลอดสารเคมี ผักเปนพืชที่เรานํามาประกอบเปนอาหารในชีวิตประจําวัน มีคุณคาทางอาหารที่เปน ประโยชนตอรางกาย การปลูกผักสวนครัวปลอดสารเคมีเปนการปลูกผักโดยไมใชสารเคมี เชน

13 ปุยเคมี และสารปองกันกาํ จัดศัตรพู ชื แตใ ชป ยุ คอก ปยุ หมักชีวภาพ นํ้าสกัดชีวภาพ และสารสมุนไพร ปอ งกันกําจดั แมลงมาใชใ นการปลูก ทาํ ใหปลอดภัยกับผผู ลติ และผบู ริโภค ความหมายของพืชผกั สวนครัว พืชผกั สวนครัว หมายถึง พืชผกั ทีป่ ลูกในพ้ืนทวี่ างในบริเวณบานหรือหนวยงาน อาจปลูก ลงแปลงหรอื ในภาชนะตา ง ๆ เพอ่ื ใชบริโภคในครอบครัว หากมีจํานวนมากเหลือจากการบริโภค กส็ ามารถนาํ ไปจําหนา ยได การแบงประเภทของพชื ผกั สวนครวั 1. ผักกินใบกินตน เชน คะนา ผักบุง กะหลํา่ ปลี ผักกาดขาว 2. ผกั กนิ ฝกกนิ ผล เชน พรกิ มะเขอื ถั่วฝกยาว ถั่วแขก ถวั่ พู 3. ผกั กินหวั กนิ ราก เชน ผกั กาดหวั กระชาย ขม้ิน 4. ผกั กนิ ยอด เชน ตําลึง ชะอม 5. ผักกนิ ดอก เชน กะหลํา่ ดอก ดอกแค ขจร การคัดเลอื กเมล็ดพนั ธุ มวี ิธีการคัดเลือก ดังนี้ 1. เปน เมล็ดทแี่ กเ ตม็ ท่ี เก็บจากผลหรือฝก ทีแ่ กหรือสุกจัด มอี าหารสะสมในเมล็ดมาก 2. เปน เมลด็ ทส่ี มบรู ณ ไมม ีรอยแตก หักรา ว หรอื ลบี 3. เปน เมลด็ ท่ีเกบ็ มาใหม ๆ ไมเกบ็ ไวนานจนเกินไป 4. เปน เมลด็ ทสี่ ะอาดปราศจากโรคและแมลง เครือ่ งมอื และอุปกรณใ นการปลกู ผัก เคร่ืองมอื และอปุ กรณในการปลูกผัก เปนส่ิงที่ชวยใหทํางานไดสะดวกและรวดเร็วย่ิงข้ึน ไดงานทม่ี คี ณุ ภาพ ประหยัดเวลา แรงงาน และสงผลใหไดผลผลิตมากย่ิงขึ้น เชน เคร่ืองพรวนดิน อปุ กรณร ดนา้ํ และเคร่อื งพน ยา เปน ตน หลักการปลูกผักสวนครวั ปลอดสารเคมี 1. ไมใชสารเคมีใด ๆ ในการปลูกผัก เชน ยาปองกันและกําจัดเช้ือรา ยาฆาแมลง ปุยเคมี และยากาํ จดั วชั พชื 2. ใชว ธิ ีการปอ งกนั และกาํ จดั ศตั รูพชื โดยวธิ ผี สมผสาน 3. ใชปุยท่ีไดจากธรรมชาติ เชน ปุยคอก ปุยหมัก อินทรียวัตถุตาง ๆ บํารุงดินโดยใช จลุ ินทรยี เขา มาชว ย 4. ใชปุยหมักชีวภาพ นํ้าสกัดชีวภาพ น้ําหมักสะเดา หรือสารสมุนไพรอยางสม่ําเสมอ ทุก 7-10 วัน ถามีแมลงศัตรูพืชมารบกวน พนสารสมุนไพรกําจัดแมลงใหบอยขึ้นเปนทุก 2-3 วัน หรอื ทกุ วัน

14 5. ไมป ลอยใหท ด่ี ินวางเปลา ควรมีการปลูกพืชหมนุ เวียน 6. ใชพันธุพ ืชตา นทานโรค 7. เตรยี มดนิ ปลูกใหอ ุดมสมบูรณ จะทําใหพ ืชผักสมบูรณแข็งแรงตานทานโรค ใหผลผลิต ทด่ี แี ละมคี ุณภาพ 8. ปลูกผกั ผสมผสาน โดยปลกู สลบั หรอื คละกนั ในแปลงเดียว ปองกนั การทาํ ลายของหนอน และแมลง 9. ปลกู พชื ใหเหมาะสมกับฤดูกาล การเตรียมดนิ ปลกู ผกั เลอื กสถานทใ่ี นการปลกู ผักสวนครัว ควรเปนสถานทที่ ี่ไมม ีน้ําทว มขัง ไดรับแสงแดดอยางนอย วนั ละ 6 ชัว่ โมง ไมม สี ตั วเ ลยี้ งมารบกวน ใชจ อบหรอื มีดดายหญา บรเิ วณทจี่ ะปลูกแปลงควรมีขนาด กวาง 1-1.5 เมตร ยาว 4 เมตร ขดุ ดินลกึ ประมาณ 30 เซนตเิ มตร ตากดิน ยอ ยดินเก็บวัชพชื ใสป ยุ คอก ปยุ หมกั จาํ นวน 1 ปบ ตอพ้ืนที่ 1 ตารางเมตร และปุยหมักชีวภาพ 1 กิโลกรัม คลุกเคลาใหเขากัน คลุมดว ยฟาง รดนํา้ สกัดชีวภาพ 1 ลติ ร ตอ นา้ํ 20 ลิตร ใหช มุ หมักทง้ิ ไว 2-3 วนั การปลูกผกั สวนครัว มีวิธกี ารปลกู ดังนี้ 1. เพาะกลาแลวยายปลูก อาจเพาะในแปลงหรือในภาชนะจะชวยประหยัดคาเมล็ดพันธุ เชน กะหล่าํ ปลี กะหลํ่าดอก มะเขอื เทศ พรกิ ฯลฯ 2. หวานเมล็ดในแปลงปลูก เปนผักท่ีเมล็ดมีราคาไมแพง ปลูกงาย เชน คะนา ผักบุง กวางตุง ผักกาดขาว ฯลฯ 3. ปลูกแบบหยอดหลุม เปนการปลกู ผกั ที่มเี มลด็ ใหญ เชน ถวั่ พู ถว่ั ฟกยาว ฟกทอง ฯลฯ การบํารุงรักษาผกั สวนครัว มีวธิ ีการ ดังน้ี 1. การรดน้าํ ควรรดนาํ้ อยางสมาํ่ เสมอเชา และเย็น ใหช ุมชืน้ พอเหมาะอยา งใหนํ้าขงั แฉะ 2. ใสปยุ ใชปุยท่ีไดจ ากธรรมชาติ เชน ปุยคอก ปุยหมัก นํ้าสกดั ชวี ภาพ หรอื ปุยหมกั ชวี ภาพ 3. การปองกันกาํ จดั ศัตรพู ชื ใชวธิ ีผสมผสานและใชสารสมนุ ไพรกาํ จดั แมลงไมใ ชสารเคมี การเก็บเกีย่ วผักสวนครวั การเกบ็ เกีย่ วและระยะเวลาในการเกบ็ เกยี่ วของพชื ผกั แตละครงั้ จะแตกตางกนั ออกไปตามชนิด ของผัก เชน แตงกวา อายุ 30-45 วัน หลังปลกู ผลออนสเี ขียวออ นปนขาวไดข นาด ผักบุง อายุ 25 วนั ตนออนสูง ประมาณ 30 เซนตเิ มตรขนึ้ ไป

15 ขอ ควรรู ผักกินตนบางชนิดเมื่อโตเต็มท่ีแลว เหลือโคนตนท่ีมีใบติดไว 2-3 ใบ รดนํ้า ใหปุย ดูแล รักษาตอไป จะมีตาขางหรือแขนงผักเกิดขึ้นมา สามารถเก็บมารับประทานไดอีก เชน คะนา กะหลา่ํ ปลี ผกั บงุ การเก็บผักท่ตี อ งถอนออกมาทงั้ ตน ควรรดนาํ้ ใหด นิ ชนื้ จะทําใหถ อนไดง า ย จดั เรยี งเปนกอง นําสวนรากไปลางน้ําเอาดินออก นํามาจัดเรียงใหโคนตนเสมอกัน ดึงในบริเวณโคนตนและ ใบท่ีเนาเสียออก การแปรรปู พชื ผักสวนครวั ผักสวนครัวถามีปริมาณมากใชบริโภคในครัวเรือนไมหมดก็สามารถนําไปจําหนายหรือ แปรรูปดวยวิธีการตา ง ๆ เชน การตากแหง เชน พรกิ หอม กระเทยี ม การทําปุยหมักชีวภาพ ปุยหมักชีวภาพ ไดจากการหมกั อินทรยี วตั ถุกบั น้ําสกดั ชวี ภาพ เปนการเพม่ิ จุลนิ ทรยี ไปชวย ยอยสลายอินทรยี วัตถทุ าํ ใหด ินมคี วามอดุ มสมบูรณย ่งิ ข้นึ วิธีใชปุยหมักชวี ภาพกบั ผักสวนครัว 1. ใสป ยุ ลงไปในแปลงปลกู ขณะเตรยี มดินอัตราสวน 1 กโิ ลกรัมตอพ้ืนที่ 1 ตารางเมตร 2. พืชผกั ท่ีมีอายเุ กือบ 2 เดือน เชน ถ่ัวฝกยาว แตง พริก มะเขือ ใชปุยชีวภาพรองกนหลุม กอ นปลูก 1 กาํ มอื 3. หลงั จากปลกู ผักแลวใสป ยุ หมกั ชวี ภาพทกุ 7-10 วนั และรดดวยนาํ้ สกัดชีวภาพ 1 ชอนโตะ ตอน้าํ 5-10 ลิตร ทุก 5-7 วนั 4. ดินทีใ่ ชปุยหมักชีวภาพควรเปนดินที่มีสวนผสมของปุยหมัก ปุยคอก หรืออินทรียวัตถุ เพอื่ เปนอาหารของจุลนิ ทรียต อ ไป 5. บริเวณแปลงปลูกผักควรมวี สั ดุคลุมแปลง เพื่อรักษาอุณหภูมิและความชื้นใหเหมาะสม กบั การเจริญเติบโตของจุลนิ ทรยี  6. เพือ่ เปน การประหยดั ปุย หมกั ชีวภาพ กอ นนําไปใชควรนําไปคลุกเคลากับปุยหมัก หรือ ปุย คอกในอัตราสวนปยุ ชีวภาพ 1 สว น ตอ ปุย หมกั หรอื ปยุ คอก 10 สวน การจดั จาํ หนา ย การตลาด ตองศกึ ษาความไดเ ปรียบเสยี เปรียบของปจ จัยตนทุน อายขุ องสนิ คา โควตา และ สิทธิบัตรทีไ่ ดครอบครอง หรือแปรรูปกง่ึ อตุ สาหกรรมเพื่อตอบสนองตลาดภายในประเทศ หากเกนิ ความพอดสี ามารถวางแผนการตลาดสูต ลาดตา งประเทศได

16 กจิ กรรม ใหผ เู รียนวางแผนการปลูกผกั ลงในตารางดา นลาง ข้นั ตอน วธิ กี ารปฏบิ ตั ิ 1. การเตรยี มการกอ นปลูก ............................................................................................................ 2. การเตรียมอปุ กรณ ............................................................................................................ 3. การเตรยี มดนิ ............................................................................................................ 4. วิธีปลกู ............................................................................................................ 5. การดแู ลรกั ษา ............................................................................................................ 6. การเก็บเกย่ี ว ............................................................................................................ กจิ กรรม จงตอบคําถามตอ ไปน้ี 1. ผกั สวนครัวคอื อะไร 2. การปลกู พชื สวนครวั ปลอดสารเคมมี ีประโยชนอยางไร 3. วัสดอุ ปุ กรณในการทําปุย หมักชวี ภาพมอี ะไรบาง 4. อินทรยี วัตถุในทองถ่นิ ของผูเรยี น ทส่ี ามารถนาํ มาทาํ ปุย หมกั ชีวภาพมอี ะไรบาง 5. วิธีการปองกันและกาํ จดั แมลงสาํ หรับการปลกู ผักปลอดสารเคมมี ีวิธกี ารอยางไรบาง 2.2 การเลยี้ งสัตว การเล้ียงสัตวมีจุดประสงคที่สําคัญ คือ เพื่อเปนอาหารของประชากรภายในครอบครัว หมูบานในประเทศ และเพื่อประชากรโลก ซึ่งอาหารที่ไดจากสัตว ไดแก อาหารประเภทเนื้อ นม และไข อาหารประเภทเน้ือไดจาก โค กระบือ สุกร สัตวปก สัตวนํ้า จระเข อาหารประเภทนมได จากโคนม แพะนม และควายนม เปนตน อาหารประเภทไขไดจากไขไก ไขเปด ฯลฯ นอกจากน้ี การเลี้ยงสตั วย งั ใหประโยชนใ นดา นเครือ่ งนุง หม ยารักษาโรค เคร่ืองประดับและกอใหเกิดรายได จากผลประกอบการจากอุตสาหกรรมการเลยี้ งสตั ว สภาพปญ หาของการเล้ียงสตั ว ปญ หาของการเล้ียงสัตวใ นประเทศไทยมมี ากทก่ี ําลงั รอการแกไข ซง่ึ เราสามารถแบง สภาพ ปญ หาออกเปนหัวขอ ใหญ ๆ ได 5 ปญหา คือ

17 1. ปญหาเรอื่ งคน ปญ หาของคนในภาคเกษตร คอื ผลิตไดแ ตข ายไมอ อก คนยังขาดความรู เร่ืองการตลาด ขาดการชวยเหลือจากภาครัฐอยางจริงจัง ขาดความชวยเหลือเพื่อต้ังกลุมซ่ึงจะทํา อยางไรใหคนเกิดความเอ้ือเฟอ อาทรตอ เพอื่ นรวมอาชีพ 2. ปญ หาเรอ่ื งเงนิ ทนุ หมายถึง เงินทุน เกษตรกรสวนใหญคิดได ทําไดและทําไดดีแตขาด เงินทุนในการดาํ เนินกิจกรรมการเลยี้ งที่ตอ เนื่อง ทาํ ใหขาดรายไดห มนุ เวยี นในฟารม 3. ปญหาเรอ่ื งปจ จัยการเลย้ี ง เร่ิมจากท่ีดนิ โรงเรยี น อปุ กรณก ารเลยี้ ง ธรรมชาตใิ นทอ งถิ่น เปน ปญ หาท่ผี เู ล้ียงสตั ว และหนวยงานภาครัฐตอ งรว มมือกันแกไ ข 4. ปญ หาเรือ่ งการจัดการฟารมเกษตรกรขาดความรู ความเขาใจเกยี่ วกับกระบวนการเลย้ี งสตั ว ในเรอ่ื งความสมดุลของการลงทนุ กบั ผลตอบแทนทคี่ ุม คาท่ีสุด รวมถึงการใชแรงงาน เงินทุน และ ปจ จยั การเลย้ี งไมเหมาะสมกอ ใหเ กิดปญ หาในดา นการจดั การฟารมในเวลาตอ มา 5. ปญหาเร่ืองกิจกรรมดานการตลาด เกษตรกรในประเทศไทยปจจุบัน ประสบปญหานี้ เปนหลัก หลักการเล้ียงสัตวท่ีดีควรคํานึงถึงปจจัยน้ีเปนปจจัยแรกในการท่ีจะตัดสินใจลงทุนใน การเลีย้ งสัตว ชนดิ และประเภทของสัตวท ี่ควรเลย้ี ง สตั วเ ลยี้ งทสี่ ําคญั ทางเศรษฐกจิ แบง ออกตามชนิดและประเภทได ดงั น้ี 1. สตั วใหญ ไดแก โค หรอื ววั แบง ออกเปน 3 ประเภท คือ โคนม เลี้ยงเพอ่ื ตอ งการนํา้ นมเปน หลัก โคเนื้อเลย้ี ง เพ่อื ตองการเนื้อเปนหลัก โคกึง่ เน้ือก่งึ นมเลี้ยงไวเ พอ่ื ตอ งการทั้งเนื้อและนม กระบอื หรือควาย แบง ออกเปน 2 ประเภทใหญ คือ กระบอื ปลกั เล้ียงเพอื่ ใชงานและใหเ นื้อ กระบอื แมน ํา้ (กระบอื นม) เลี้ยงไวเ พ่ือตองการนาํ้ นม 2. สตั วเ ล็ก ไดแก - สกุ ร แบงออกเปน 2 ประเภท คือ สุกรเน้ือ ไดแก สุกรท่ีนําเขาจากตางประเทศ เมอื่ ปรับปรุงพนั ธุแลว จะใหเ นอ้ื เปน หลัก สุกรนํา้ ไดแ ก สกุ รพืน้ เมอื งในประเทศ สุกรประเภทนีเ้ ลยี้ ง งายใหเ นอ้ื นอ ยมีมันมาก - แพะ แบง ออกไดเ ปน 2 ประเภท คอื แพะนมเลยี้ งไวเ พอื่ ใหน มเปน หลัก แพะเน้ือ ใหเนอ้ื เปน หลกั เลีย้ งงา ยโตเรว็ - แกะ เล้ียงเพ่ือใหข นเปน หลักมากกวาเน้ือ 3. สตั วป ก ไดแก - ไก แบง ออกเปน 3 ประเภท ไดแก ไกเน้อื ไกไข ไกสวยงาม - เปด ไดแก เปด เนือ้ เปด ไข

18 4. สัตวน า้ํ ไดแก - ปลาทะเล - ปลานาํ้ จดื - ปลาสวยงาม - ปลานาํ้ กรอ ย - สตั วครึง่ บกครงึ่ นํา้ การเลอื กสถานท่ีเล้ยี งสตั ว เมือ่ ตองการเลี้ยงสัตว สงิ่ ทต่ี องคํานงึ เปน อันดับแรกคอื สถานทส่ี ําหรบั เลย้ี ง ยอมตองการสถานที่ อันจาํ เพาะและเหมาะสมกบั ตวั ของเขาเองตามหลักธรรมชาติ ชนดิ ของสัตว ภูมิอากาศ รวมถึงความเหมาะสม ของสตั วช นิดน้นั ๆ และยังตองคํานึงถงึ เปาหมายของการเลีย้ งวาจะเล้ยี งสตั วเ พือ่ อะไร เพอ่ื นันทนาการ เพื่อการคาหรืออื่น ๆ เมื่อทราบความตองการเปนเบ้ืองตนแลว จึงควรพิจารณาสถานที่เล้ียงสัตว ซง่ึ จะมีขอพจิ ารณาสถานทเี่ ล้ยี งสตั ว ดังน้ี ขนาดและสัดสว นรา งกายสัตวท จ่ี ะเลี้ยง - พื้นทีต่ ั้งฟารมทเ่ี หมาะสมตามประเภทของสตั วนน้ั ๆ - ประเภทของโรงเรอื น - ขนาดของโรงเรือนเลย้ี งสตั ว และการตอ เติมในอนาคต - มแี หลง นาํ้ พอเพยี ง - การคมนาคมสะดวก - สภาพภมู อิ ากาศเหมาะสมกบั ชนิดและประเภทของสัตว การคัดเลอื กพันธุ ลักษณะพนั ธสุ ตั ว 1. สตั วพนั ทาง คือ สตั วท่ผี สมพนั ธโุ ดยธรรมชาติ ไมมีการคัดเลือกสายพนั ธทุ าํ ใหสตั วเลี้ยง ดอยคุณภาพทางดานผลผลิต สีสัน รูปราง และไมสามารถประมาณการผลผลิตที่คาดวาจะไดรับ แนนอนได 2. สัตวพันธุแท คือ สัตวท่ีไดรับการคัดเลือกแลวเม่ือมีการผสมพันธุสัตว ลูกท่ีไดจะมี ลกั ษณะเหมอื นพอแมท ้ังรูปราง สีสัน นาํ้ หนกั เม่ือโตเต็มที่ ทัง้ ไดร บั การยอมรับจากสมาคมผูเลี้ยงสัตว และสามารถประมาณการการใหผ ลผลิตได การปองกันและดแู ลรักษาโรคสตั ว นักเล้ียงสัตวท่ีดีควรคาํ นึงถึงการปองกันรักษาสุขภาพของสัตวเปนอันดับตน ซึ่งเปนวิธี ทีป่ ระหยดั ท้ังเงนิ และคา รักษาโรค

19 โรคสัตว มี 2 สาเหตใุ หญ คือ 1. โรคท่เี กดิ จากเชื้อโรค เชน แทง ตดิ ตอ วณั โรค ปากและเทาเปอ ย หวัดไก ฯลฯ 2. โรคที่ไมเกดิ จากเชื้อโรค เชน โรคกระเพาะและลําไส บาดแผลหรอื ของมคี มบาด เปนตน การถนอมอาหารและการแปรรูป การถนอมอาหารเปน การเก็บรักษาอาหารทีเ่ หลือเพ่ือใชบริโภคในมื้อตอไป โดยใหคุณคา ของอาหารสญู เสียนอ ยทสี่ ุด การถนอมอาหารวิธงี าย ๆ มดี งั นี้ 1. การทาํ ใหแหง เน้อื สัตวบกและสัตวน้ํา มีการทําแหงเชนเดียวกัน เม่ือมีเน้ือสดหรือปลา สดเหลอื มาก ใหนําเนือ้ หรอื ปลามาทําใหเปน ชน้ิ บาง ๆ ตามความพอใจ นาํ มาคลุกเกลือเพื่อปองกัน การเนาเสยี วางแผบ นตะแกรงหรอื กระจาด แลวนําไปผึ่งแดดจนแหงในระหวางตากควรกลับชิ้นเน้ือ ใหทกุ สวนไดร ับความรอ นโดยทว่ั ถงึ เมื่อแหงแลวนาํ มาเกบ็ โดยการผึ่งกระจาดในทไี่ มอบั ชื้นเพราะ จะทําใหมีกลนิ่ เหมน็ เราเรียกวา เนือ้ เค็มหรอื ปลาเคม็ ระยะเวลาการเกบ็ รกั ษาจะมากหรือนอยขึ้นอยูกับ ความเคม็ และความแหงของเนือ้ ถา แหง มากจะเกบ็ ไวไดน านระหวา งการเกบ็ ควรนําออกผ่งึ แดดบาง เพือ่ ใหอาหารเกบ็ ไวไดนานขนึ้ 2. การหมักเกลือ การถนอมผลิตผลการเกษตร อาจจะใชเกลือเปนตัวชวยในการรกั ษาไมใ ห เนาเสยี ทางดานเนอื้ สัตว จะเนา เสียไดง า ย ควรนาํ เนอ้ื มาห่นั เปนชนิ้ บาง ๆ นําไปหมักกบั เกลือ เกลือ จะเปน ตวั รกั ษาไมใ หอ าหารเนา โดยการดูดนํ้าในเน้อื ออกมาแลวสง ความเค็มเขา ไปแทนที่ การหมัก เกลือถานาํ เนอ้ื ไปตากใหแ หงจะทําใหเ นอ้ื เก็บไดน าน การถนอมอาหารประเภทเน้ือมีวิธีการทําหลายอยาง ตามลักษณะของเนื้อสัตวแตละชนิด ผเู รยี นควรศกึ ษาเพ่ิมเติมจากตําราถนอมอาหาร ศึกษาในหวั ขอ ที่นา สนใจ บางคร้ังอาจจะเปนอาชีพ เสริมสรางรายไดแกค รอบครัวได การจดั การผลผลติ และการจดั จําหนา ย การจัดการผลผลิตทางดา นสตั ว ความไดเ ปรียบหรอื เสยี เปรียบข้ึนอยูกับราคาในตลาดและ ตนทุนในการยดื อายกุ ารขายเพอื่ รอราคาใหส ูงข้ึน เพ่อื ระบายสินคาออกสตู ลาด ตลาดการคา สัตว แบงออกเปน 2 ระบบ ระบบตลาดภายในประเทศไดแก พอคา คนกลางโรงงานแปรรปู ตลาดรวบรวมผลผลติ ขนาดใหญ กลุมคนเหลานี้จะรวบรวมผลผลิตจากผูเล้ียงสัตวเพื่อท่ีจะไดกระจายไปตามแหลงรับซื้อทั่วไป ภายในประเทศ โดยการขายสัตวเปน หรอื แปรรูปไปสผู ูบริโภคปลายทาง ตลาดตางประเทศ เมอ่ื ความตอ งการภายในประเทศลดนอยลง เนื่องจากเกนิ ความพอดเี ราสามารถ สง ออกผลิตภณั ฑจากสตั วออกนอกประเทศได ปจจบุ นั มีการคา และการลงทุนเพื่อการสงออกหลาย รปู แบบ

20 ลกั ษณะการจดั จําหนายสัตวเ ล้ียงหรอื ผลิตภัณฑ - การคา ขายลูกสตั ว เชน ลูกสุกร ลูกปลา เพ่อื นาํ ไปเล้ยี ง เปน ตน - การคา ขายสัตวใ หญ เพื่อนาํ ไปเปนอาหารหรอื วัตถปุ ระสงคอน่ื - การคาขายสัตวพ อพนั ธุ แมพนั ธุ เพอ่ื ใชท าํ พนั ธุ - การคา ขายซากสตั วชาํ แหละ เปน การบริการในทองถ่นิ - การคาขายผลิตภณั ฑจากสตั ว เชน นม ไข หนงั เขา ฯลฯ - การทํากจิ การโรงงานทเ่ี กีย่ วของกับสตั ว เชน โรงงานผลติ ภัณฑอาหารสัตว โรงฟอกหนัง โรงงานแปรรูปเนือ้ เปนตน กจิ กรรม ใหผูเรียนคิดวิธีที่จะใชพลังงานจากธรรมชาติ มาประกอบการเล้ียงสัตวใหมากท่ีสุดโดย ไมทําลายส่งิ แวดลอ มมาคนละ 1 เรื่อง พรอ มอภิปรายในกลมุ 3. งานชา ง งานชาง เปนการวิเคราะหเกย่ี วกบั การทาํ งานตามกระบวนการของงานชาง ซง่ึ ประกอบดว ย การบาํ รุงรักษา การติดตั้งและประกอบ การซอม และการผลิต เพื่อจะนาํ ไปสูการสรางงานอาชีพ ท่เี หมาะสมกบั ศกั ยภาพของตนและสอดคลองกบั ชมุ ชน สงั คม 3.1 การติดต้ังและการประกอบ เครือ่ งมือเครื่องใชห ลาย ๆ ชนิด กอนนําไปใชงานตอ งนาํ ชน้ิ สวนแตละช้ินมาประกอบกัน ใหเปน เคร่ืองมือเคร่ืองใชเคร่ืองน้ัน ๆ แมกระทั่งเคร่ืองใชในบานที่เรียกวา เฟอรนิเจอรแบบถอด ประกอบ การประกอบตองทาํ ตามลําดับขนั้ ดังนี้ 1. อา นแบบหรือผังท่ีติดมากับชุดอุปกรณ โดยทั่วไปเครื่องมือเครื่องใชที่โรงงานผลิตมา จําหนายมักมีรูปแบบ ผัง การติดต้ัง การประกอบ คุณลักษณะของเครื่อง การใชงาน การรักษา ตลอดถงึ ขอควรระวงั ความปลอดภยั ในการใชท่ีอาจจะเกดิ แกผูใช และความปลอดภัยตอเครื่องมือ ใหอายุการใชงานนานขนึ้ และความปลอดภัยในการเก็บรักษา เปนตน เคร่ืองมือเคร่ืองใชบางชิ้น ตองนาํ ชน้ิ สวนมาปรับแตงใหเหมาะสมแลวนําแตละช้ินมาประกอบกัน แบบหรือผังอาจจะเขียน คลายของจริง ยอขนาดหรือขนาดเทาของจริง ถาขนาดเทาของจริงใหนําช้ินสวนเหลาน้ันทาบลง กับแบบ เพื่อตรวจสอบวาอุปกรณชิ้นนั้นเปนช้ินเดียวกับแบบ ถาแบบผังมีขนาดเล็กกวาของจริง ใหเทียบเคียงกันวารูปรางเหมือนกันหรือไม มีสวนโคง เวา หยัก นูน กี่แหง อยางไร การติดต้ัง การประกอบตองใชช้ินไหนเปนหลัก ชิ้นรองประกอบอยางไร เรียงตามลําดับกอนหลัง อาจมี หมายเลขกาํ กบั ตําแหนงที่ตอเชื่อม อาจจะใชตะปูควง น็อต สกรู หรือล่ิมเสียบขัดกันเทานั้น หรือ อาจตองใชกาว ใชต ะกวั่ บดั กรี

21 2. ตรวจสอบจาํ นวนชนิ้ สวนกับแบบใหถูกตอง กอนประกอบช้ินสวนใหตรวจนับกอนวา ชิ้นสวนของเครอ่ื งน้ัน ๆ มีจํานวนก่ีช้ิน ถูกตองตรงตามแบบที่แนบมากับเคร่ืองหรือไม เครื่องมือ เครือ่ งใชบ างชนิดบางประเภทอาจมหี ลายรุน แตล ะรุนคลายคลึงกัน อาจแตกตางเฉพาะขนาดหรือ อุปกรณบางชน้ิ แบบทุกรุนใชอันเดียวกัน แตจะกําหนดในหมายเหตุเฉพาะแตละรุนไว รุนนั้น ๆ ประกอบอุปกรณก่ีช้ิน ชิ้นใดไมมีในรุนนั้น สภาพของชิ้นสวนชํารุดหรือไม หากชํารุดแตกหัก ไมควรนํามาประกอบใช 3. อา นทําความเขา ใจขั้นตอนการประกอบ ขนั้ ตอนการประกอบจะกําหนดไวในแบบเปน ชิ้นสวนหลักและชิ้นสวนช้ินตอ ๆ ไปตามลําดับ 1 2 3 ชิ้นสวนหลักวางอยางไร หงาย ควํ่า เอียง นอน ยนื ช้นิ สว นช้ินท่ี 1 ประกอบทางดา นไหน บน ลา ง ซาย หรือขวา ชิน้ สวนชิน้ ตอ ๆ ไป วางตอ จากชิ้นไหนอยางไร 4. ลงมือประกอบตามลําดับขั้นตอนท่ีกําหนด นําช้ินสวนที่เปนหลักวางในตําแหนงและ ทศิ ทางท่ีเหมาะสม อาจตองใชอุปกรณหรือเคร่ืองมืออื่นจับ ยึด หรือตองมีคนชวยจับ นําชิ้นสวน ลําดับที่ 1 2 3 4 และ 5 ตามลําดับมาประกอบตามลําดับ ตามแบบกําหนด หามนําชิ้นสวนอ่ืนมา ประกอบกันกอนโดยปฏิบัตินอกเหนือไปจากแบบอาจจะทําใหประกอบยาก และทําใหชิ้นสวน เสียหาย 5. ประกอบใหค รบทกุ ช้นิ กอนลงมอื ทดลองใช ประกอบชน้ิ สว นใหครบทกุ ชน้ิ กอ นทดลองใช บางครงั้ ผูป ระกอบอยากลองท้ังท่ีประกอบช้ินสวนไดเพียงบางช้ิน อยากจะทดสอบทีละข้ัน ๆ ใน ระหวางประกอบ เน่ืองจากช้ินสวนตองใชยึดโยงซึ่งกันและกันหากประกอบยังไมสมบูรณหาก ทดลองจะทําใหเ กดิ การแตกหักชาํ รดุ ได ดังนัน้ ตอ งประกอบทุกชิ้นสวนใหค รบถวนตามแบบกอน แลว จงึ ทําการทดสอบ 6. ชิ้นสวนชิ้นใดประกอบยากอยาฝน ใหคอย ๆ พิจารณา การประกอบชิ้นสวนอาจจะ พิจารณารปู แบบไมชดั เจนหรอื แบบผงั ทใ่ี หมาไมชดั เจน ในสว นทซ่ี อนหรอื ทบั กัน หรือบางจุดตอง ใชภาพขยายยงุ ยากอานแบบไมเขา ใจ หรือมองอยางผวิ เผนิ ใชค วามเคยชินตัดสินใจประกอบ อาจจะ ขดั กนั ตองพยายามฝนกดผลกั จนประกอบได อาจจะทาํ ใหชนิ้ สว นนัน้ โคง งอ และหักในท่ีสุด หาก รูสกึ วา การประกอบชิ้นสวนนั้นไมสะดวกยุงยากใหกลับไปพิจารณาแบบผังใหมอีกคร้ัง ช้ินสวน ถูกตอ งตามแบบรุนจริงหรือไม กจิ กรรม ใหประกอบโตะ อาหาร จํานวน 1 ตวั ตามแบบ วัสดุอปุ กรณ 1. พน้ื โตะขนาด 100 x 20 x 10 เซนตเิ มตร สาํ เร็จรปู จาํ นวน 1 ชิน้ 2. ขาโตะ ไมแ ทง ส่เี หลย่ี มยาว 1.2 เมตร จํานวน 4 ทอน 3. น็อตพรอมแหวนรอง จํานวน 4 ชุด

22 เครือ่ งมือ กญุ แจเลือ่ น กุญแจลอ็ ก และคมี ปากแบนขนาดใหญ ขนั้ ตอนการประกอบ 1. เตรียมเครื่องมือและวสั ดใุ หพรอม 2. วางพื้นโตะ บนพืน้ หรือบนโตะทํางาน หงาย พ้นื โตะ (งาน) ขน้ึ 3. นาํ ขาโตะหมายเลข 1 วางบนพน้ื ใหสกรูที่ตดิ กบั ขาโตะเสยี บในชอ งหมายเลขที่ 1 บนพน้ื โตะ 4. ใสนอ็ ตเขา กบั สกรู หมุนน็อตจนแนน 5. ปฏบิ ตั ขิ น้ั ท่ี 3 และ 4 กบั ขาโตะ หมายเลข 2 6. ปฏิบตั ิขนั้ ที่ 3 และ 4 กับขาโตะ หมายเลข 3 7. ปฏบิ ัติขัน้ ท่ี 3 และ 4 กบั ขาโตะ หมายเลข 4 8. จับโตะท่ีประกอบเสร็จแลววางกับพ้ืน ใชมือสองขางผลักดู แข็งแรงหรือไม หากโอน เอนใหปรับหมุนน็อตใหแ นนข้ึน 3.2 การบํารงุ รักษา เครื่องมือเครื่องใช เมื่อใชไปนานมักสึกหรอ สภาพชํารุด คลาดเคลื่อนจากสภาพเดิม ฝุนละอองเกาะสกปรก ตอ งดแู ลรกั ษา ปรบั แตง ทาํ ความสะอาด ดงั นี้ 1. การปรบั แตงเครื่องมอื เครื่องใช เครือ่ งมอื เคร่ืองใชที่ประกอบขนึ้ จากชิ้นสว นหลาย ๆ ช้ิน โดยการใชก ารเช่อื มยดึ น็อต สกรู หรือวิธอี ่ืนใด เมอื่ ใชงานไปนาน จากการส่นั สะเทอื น จากการเคลอื่ นยาย หรืออบุ ัติเหตุ ตําแหนงเชอื่ มตอระหวา งชน้ิ สว นอาจจะเคลอ่ื นจากทเี่ ดมิ ตอ งรบี แกไขปรบั แตง ใหอยู ในสภาพปกติกอนใชงานตอ ไป หากคิดวาไมเปนไร ชํารุดเล็กนอย ยังใชการไดไมเปนไร หากใช ตอ ไปอาจจะเกิดอนั ตรายกับผใู ชและอาจจะเกิดความเสียหายตอเครอื่ งมอื ไดด ว ย 2. การทาํ ความสะอาดประจําวนั /สัปดาห/ เดือน/ ป เครือ่ งมอื เครอื่ งใชท ุกชน้ิ กอนนําไปใชงาน ตอ งตรวจสภาพใหพ รอมกอนและหลังการใชงานแลวกอนเก็บเขาตูหรือที่เก็บใหทําความสะอาด เสยี กอ นเปน การทาํ ความสะอาดประจาํ วนั เครอื่ งมือเครอ่ื งใชบ างชนดิ อาจมเี ศษวัสดุขยะจากการทาํ งาน เขาไปติดสะสมภายในเครื่อง ไมสามารถทําความสะอาดอยางงาย ๆ ได ควรมีวันหยุดพักเคร่ือง ทําความสะอาดประจําสปั ดาห หรือประจําเดือน หรือประจาํ ป แลว แตชนิดของเครือ่ งมือนั้น ๆ 3. ปรบั เปล่ียนอะไหลตามอายุการใชงาน เคร่ืองมือเคร่ืองใชทุกชิ้นใชไปนาน ๆ ชิ้นสวน โดยเฉพาะทม่ี กี ารเคลอื่ นไหวจะสกึ หรองา ย เชน เคร่ืองมอื ประเภทเครือ่ งกลเครอ่ื งไฟฟา เมอ่ื ใชงาน ระยะหนึ่งจะตองปรบั เปลี่ยนชนิ้ สวนใหมต ามทีค่ มู อื ของเคร่ืองนั้น ๆ กําหนด เชน การเปลย่ี นแหวน เปลย่ี นบูต กระเดื่อง คันกระแทก นํา้ มันเคร่อื ง นํ้ามนั หลอลน่ื จาระบี เปน ตน 4. นาํ ไปใหศ ูนยบ ริการตรวจสภาพตามกําหนด เครือ่ งมือเครื่องใชบางชนิด ใชเทคโนโลยี คอ นขางสงู โดยตองใชเคร่ืองมอื เครื่องวดั พเิ ศษเฉพาะ ผใู ชงานไมสามารถซอ มบํารงุ ไดเอง ตองนาํ ไป

23 ใหศ นู ยบรกิ ารชวยตรวจสอบ ปรับแตงใหเ ทา นนั้ ซง่ึ คูมือที่มากบั เครื่องจะระบุไววา ใชงานไปเปน ระยะเวลานานเทา ไร ควรนําไปบริการตรวจสภาพ ผูใชตองปฏิบัติตามคูมือเพื่อยืดอายุการใชงาน ของเครื่องมอื เครอ่ื งใช 5. การขัดของบางลักษณะตองใหชางซอมเทาน้ัน หามซอมเอง เครื่องมือบางชนิด เชน เคร่ืองไฟฟา เคร่อื งกล ผใู ชไ มสามารถซอ มเองได เพราะบริษัทผูผลิตสงวนไวสําหรับผูผลิต ผูแทน จําหนา ยเทานน้ั หากผูใ ชแกไ ขเองอาจจะทําใหช ํารุดเสยี หายมากขึน้ กิจกรรม ใหน าํ รถจกั รยานยนตไปตรวจสภาพตามทกี่ าํ หนดแลวบนั ทึกการซอมบาํ รงุ มาดวย 3.3 การซอ ม เครื่องมือเครอื่ งใช หากรูสึกวา ใชงานไมคลอง ติดขัดไมสะดวกสบาย หรือมีความรูสึกวา ไมปลอดภยั ควรดาํ เนนิ การตรวจซอมกอ นนําไปใช ดงั นี้ 1. ศึกษาใหรจู กั คณุ ลกั ษณะของเครื่องมอื เคร่อื งใช เคร่ืองมือเครอ่ื งใชทุกชนดิ ท่ีวางจําหนาย ในทอ งตลาด ในชุดหรือกลองบรรจจุ ะมีตวั เครอื่ งมอื เคร่อื งใช ยงั มคี มู ือและใบรับประกันติดมาดวย ใหอานรายละเอยี ดคูมอื ซึง่ จะประกอบดวยคณุ ลกั ษณะของเครือ่ งมือน้ัน การใชงาน การบาํ รงุ รกั ษา ขอควรระวัง และอื่น ๆ เฉพาะคุณลักษณะของเครื่อง ประกอบดวย น้ําหนัก ขนาดกวาง ยาว สูง วัสดุที่ใชถาเปนเคร่ืองกลเคร่ืองไฟฟา จะบอกขนาดกําลัง แรงมา ความสามารถในการทํางาน ยาวนานเทาใดควรพักหรือใชไดตลอดเวลา เปนตน หากเกิดการชํารุดดวยอาการหน่ึงอาการใด มกั จะบอกขัน้ ตอนการตรวจสอบและตรวจซอ มเบือ้ งตน ไวใ นคมู อื ใหลองทําตามข้นั ตอนท่ีระบุใน คูมอื นน้ั 2. ตรวจสภาพภายนอก กอ นถอดชน้ิ สวนใด ใหต รวจสอบภายนอกกอนวาสภาพภายนอก เปนอยางไร แตกหักหรือไม ยุบ บุบสลาย อาจทําใหกระทบตอช้ินสวนภายในได แตถาสภาพ ภายนอกปกตแิ สดงวาการขัดของเกิดจากสภาพการใชงาน จึงตองถอดช้ินสวนประกอบภายนอก ออก แลว คนหาช้นิ สว นท่ชี าํ รดุ เสียหายตอ ไป 3. ถอดช้ินสวนประกอบออกตรวจสอบ ช้ินสวนภายนอกที่ประกอบเปนตัวเคร่ือง อาจ ประกอบดว ยชิ้นสวนหลาย ๆ ช้นิ ตอ งนาํ คมู อื ผังการประกอบเคร่ืองมาพจิ ารณาในการถอดช้นิ สวน ดวย ใหถอดยอนถอยจากลําดับสุดทายไปหาลําดับที่ 1 โดยใชไขควงหรือคีม หรือกุญแจเล่ือน แลว แตก รณี บางชนิดอาจใชเ ปน เข้ียวหรือเดือยเกาะเก่ียวกัน อาจใชมือกดสวนหน่ึง ดันสวนหน่ึง แลวปลดออก การถอดบูต สลักบางชน้ิ อาจตอ งใชเครอ่ื งมือประเภทเครื่องดดู 4. หากเหน็ วาช้นิ สว นใดสกึ หรอตองเปลีย่ นใหม ชนิ้ สวนท่ีเกี่ยวขอ งกบั การหมนุ การกระแทก การเคล่อื นท่ี ช้นิ สว นทท่ี าํ ใหเกิดการเคลอ่ื นไหวใชไปนานวนั จะเกดิ การสกึ หรอ เมือ่ ถอดชนิ้ สว นมา ดแู ลวเห็นวาสึกหรอควรเปลย่ี นใหม

24 5. ประกอบใหอยูในสภาพปกติ เม่ือเปลี่ยนอะไหลใหมทุกชิ้นแลวใหตรวจความเรียบรอย ใสอ ะไหลใ หมเ ขา ไปในสภาพเดมิ หรือไม หากปกติแลว ใหประกอบช้นิ สวนอืน่ ใหเ ปน ตวั เคร่ืองเขา ปกตติ ามขน้ั ตอนการประกอบเครอ่ื ง จากประสบการณท่ีถอดหรอื ดูจากคูมอื ประกอบ 6. ทดสอบขั้นตน เมื่อประกอบเครื่องเสร็จแลวใหทดลองเคร่ืองกอนนําไปใชงานจริง ถาเปน เครอื่ งประเภทไฟฟา ใหก ดสวิตชแลวสงั เกตวามีสิ่งผิดปกติหรือไม กลิ่นเหม็นไหม เครื่องรอน ผดิ ปกติ หากผดิ ปกตเิ พยี งนิดหนอยควรปดสวิตชท นั ทีแลว ตรวจสอบใหม ถาประเภทเครอ่ื งยนตให ติดเคร่อื งยนตเ ดินเปลา ระยะหนงึ่ กอน 7. ทดลองใชงานจริงระยะหน่ึง หลังจากทดลองเครื่องจนใชไดจริงแลว ใหใชดวยความ ระมัดระวงั คอยสังเกตอาการเปลย่ี นแปลงท่อี าจเกดิ ข้นึ ในระหวา งการใชง าน หากมีเสยี ง อาการส่ัน รอนจดั ผิดปกติ ใหห ยดุ พักการทํางานไวกอ น แลวทาํ การตรวจสอบตามกระบวนการตรวจสอบแลว จงึ นําไปใชงานตอ ไป 8. นาํ ไปใชงานจริง เม่ือเครือ่ งท่ซี อ มแซมใชง านไดตามปกติแลว จึงนาํ ไปใชง านจรงิ กิจกรรม ใหซอมเครือ่ งใชใ นบานหนึง่ ชิ้น แลว บันทกึ ข้นั ตอนการซอ มไวดว ย 4. งานประดิษฐ งานประดษิ ฐ เปน การวเิ คราะหเก่ียวกับการทํางานดานการประดิษฐสิ่งของเคร่ืองใชท่ีเนน ความคดิ สรางสรรค โดยเนน ความประณตี สวยงาม ตามกระบวนการงานประดิษฐและเทคโนโลยี และเนนการอนุรักษและสืบสานศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย ตามภูมิปญญา ทอ งถ่ินและสากลเพ่อื นําไปสูการสรางงานอาชีพท่เี หมาะสมกับศักยภาพของตนเองและสอดคลอง กบั ชุมชน สงั คม ความหมายของงานประดษิ ฐ ประดิษฐ แปลวา คิดทําข้ึน งานประดิษฐจึงหมายถึงการนําเอาวัสดุตาง ๆ มาทําเปน ผลิตภณั ฑใ หม เพ่อื ประโยชนใชส อยดานตา ง ๆ เชน เปนของเลน ของใช หรือเพือ่ ความสวยงาม ประโยชนของงานประดษิ ฐ มดี งั นี้ 1. เปน การใชเวลาวางใหเกิดประโยชน 2. มคี วามภาคภมู ิใจในผลงานของตน 3. มรี ายไดจ ากผลงาน 4. มีความคิดริเริ่มสรางสรรคผลงานใหม ๆ 5. เปนการฝก ใหรจู ักสังเกตสง่ิ รอบ ๆ ตัว และนาํ มาใชใหเกิดประโยชน

25 ลักษณะของงานประดิษฐ แบงเปน 2 ประเภท คือ 1. งานประดิษฐท่ัวไปเปนงานท่ีบุคคลสรางขึ้นมาจากความคิดของตนเองโดยอาศัย การเรยี นรจู ากส่ิงรอบ ๆ ตัว นํามาดัดแปลงหรือเรียนรูจากตํารา เชน การประดิษฐของใชจากเศษ วสั ดุ การประดิษฐด อกไม 2. งานประดิษฐท่ีเปนเอกลักษณไทยเปนงานที่ไดรับการสืบทอดมาจากบรรพบุรุษใน ครอบครัวหรือในทองถิ่น หรือทําข้ึนเพ่ือใชในงาน หรือเทศกาลเฉพาะอยาง เชน มาลัย บายศรี งานแกะสลัก ประเภทของงานประดษิ ฐ งานประดิษฐตาง ๆ สามารถเลือกทําไดตามความตองการและ ประโยชนใชสอย ซ่ึงอาจแบงประเภทของงานประดิษฐตามโอกาสใชส อย ดงั น้ี 1. ประเภทท่ีใชเปนของเลน เปนของเลนที่ผูใหญในครอบครัวทําใหลูกหลานเลน เพ่ือ ความเพลดิ เพลิน เชน งานปน ดนิ เปน สัตว สง่ิ ของ งานจักสานใบลานเปน โมบาย งานพับกระดาษ 2. ประเภทของใช ทําข้ึนเพ่อื เปนของใชในชีวิตประจําวัน การสานกระบุง ตะกรา การทํา เครอื่ งใชจ ากดินเผา จากผาและเศษวัสดุ 3. ประเภทงานตกแตง ใชตกแตงสถานท่ี บานเรือนใหสวยงาม เชน งานแกะสลักไม การทํากรอบรูป ดอกไมป ระดษิ ฐ 4. ประเภทเคร่ืองใชในงานพิธี ประดษิ ฐข น้ึ เพอ่ื ใชใ นงานเทศกาล หรือประเพณีตาง ๆ เชน การทํากระทงลอย ทาํ พานพุม มาลยั บายศรี วสั ดุและอุปกรณท ใ่ี ชในงานประดษิ ฐ การเลอื กใชวัสดุอุปกรณในการประดิษฐช้ินงาน ตอ งเลือกใหเหมาะสมจงึ จะไดง านออกมา มีคุณภาพสวยงาม รวมท้ังตองดูแลรักษาอุปกรณเคร่ืองใชเหลานี้ใหอยูในสภาพท่ีใชงานได ตลอดเวลา 1. วสั ดแุ ละอปุ กรณใ นงานประดษิ ฐ แบงออกเปน ประเภทตา ง ๆ ดังนี้ ประเภทของเลน - วัสดทุ ่ใี ช เชน กระดาษ ใบลาน ผา เชอื ก พลาสตกิ กระปอ ง - อุปกรณท่ใี ช เชน กรรไกร เขม็ ดา ย กาว มีด ตะปู คอน แปรงทาสี ประเภทของใช - วสั ดุทใี่ ช เชน กระดาษ ไม โลหะ ดิน ผา - อปุ กรณท ี่ใช เชน เลื่อย สี จักรเยบ็ ผา กรรไกร ประเภทของตกแตง - วัสดทุ ใ่ี ช เชน เปลือกหอย ผา กระจก กระดาษ ดินเผา - อุปกรณที่ใช เชน เข็มเยบ็ ผา เขม็ รอยมาลยั คีม คอน เขม็ หมดุ

26 2. การเลอื กใชแ ละการบํารุงรักษาอุปกรณ มหี ลกั การดังนี้ 1. ควรเลอื กใชใหถ ูกประเภทของวสั ดุและอุปกรณ 2. ควรศึกษาวิธกี ารใชกอ นลงมอื ใช 3. เมือ่ ใชแลว เก็บไวใ หเปนระเบยี บเรยี บรอ ย 4. ซอ มแซมเครือ่ งมอื ทชี่ าํ รดุ ใหพรอมใชเ สมอ การประดษิ ฐชิ้นงาน ข้ันตอนในการปน 1. กําหนดโครงสราง รูปรางของชิ้นงาน ตามลกั ษณะสดั สวนของช้ินงาน การยอ สวน ขยายสวน 2. ศึกษาลักษณะธรรมชาติของช้ินงานท่ีตองการปน เชน ตัวสัตวตาง ๆ ศึกษารูปทรง ภายนอก ภายในรายละเอยี ดตาง ๆ เชน ลาํ ตัว หัว หู หาง ฯลฯ ในการเลยี นแบบใหเหมือนจริง หรือเปน รปู รา งท่แี ตกตางไปจากความเปนจริง รปู รางตลกขบขัน วัสดุอุปกรณท่ีใชใ นการปน 1. แปง หรอื ดินสําหรับปน 2. กาวลาเทกซ กาวไฟฟา (กาวปน ) 3. ลวดขนาดตา ง ๆ 4. กรรไกร ปากคมี เขม็ เยบ็ ผา ไมจ มิ้ ฟน 5. ดาย เอ็น เชอื ก 6. ถุงพลาสตกิ หรือแผน พลาสติกสาํ หรบั รองพบั 7. โลช่นั หรอื ครมี ทาผวิ 8. ภาชนะสําหรบั จดั วาง 9. สสี ําหรับผสมแปง หรอื ดนิ อาจใชสผี สมอาหาร สโี ปสเตอร วิธกี ารผสมแปง 1. แปง กาว สารกันรา โลชัน่ ใสก ะละมัง คนสวนผสมใหเ ขากัน 2. โลชัน่ ทามอื นวดแปงจนเปน กอนนิ่ม นวดบนพ้ืนโตะ จนแปง เนียนนุมไมต ิดมือ 3. เก็บแปงใสถุงพลาสติก แบงผสมสีตามตองการ ในปจจุบันมีแปงและดินสําเร็จขาย แตราคาคอนขางแพง กิจกรรม ใหผเู รียน ตอบคําถามตอไปนี้ 1. ความแตกตางของชน้ิ งานปนในสมยั โบราณกับปจ จบุ นั มีความแตกตา งกนั อยา งไรบาง 2. อุปกรณท ่ใี ชใ นงานประดษิ ฐม อี ะไรบา ง มีวธิ ีการใชอยางไร 3. ขอ ปฏบิ ัตหิ ลังจากใชอ ปุ กรณท ุกคร้งั ควรทาํ อยางไร

27 4. การประดษิ ฐชิ้นงานดว ยตนเอง มขี อ ดอี ยางไร 5. งานธุรกจิ งานธรุ กจิ เปนการวเิ คราะหงานหรอื กจิ กรรมที่เปนการนําเอาทรพั ยากรตาง ๆ มาใชรว มกัน หรือเปลีย่ นสภาพเพ่อื ทจ่ี ะกอใหเกิดคุณคาท่ีสูงกวาเดิม โดยที่ผูซึ่งเปนเจาของหรือผูจัดการหวังวา ส่ิงที่ตนทาํ น้ันจะย่ังยืนและเจริญกาวหนาตอไปในอนาคต โดยในงานหรือกิจกรรมทางธุรกิจ จะกลาวถงึ งานการตลาด งานการผลติ หรือบรกิ าร งานการเงินและบญั ชี และงานทรัพยากรมนษุ ย ความรธู ุรกจิ ในชีวติ ประจาํ วัน ปจจุบันชีวิตคนเราสวนใหญเก่ียวพันกับเรื่องธุรกิจเกือบท้ังสิ้น เพื่อความอยูรอด ความ สะดวกสบายจะตองอาศัยปจจัยตาง ๆ ในการดําเนินชีวิต อันไดแก ปจจัย 4 ซึ่งก็คือ อาหาร เคร่ืองนุงหม ท่ีอยูอาศัย และยารักษาโรค ความตองการเหลานั้นเปนสาเหตุทําใหเกิดกิจกรรม ท่ีเก่ยี วขอ งกบั การผลติ การจาํ หนา ย และการซือ้ ขายแลกเปลย่ี น ความหมายของธุรกจิ ธุรกิจ คือ กิจการที่กอใหเกิดสินคาและบริการ ชองทางการประกอบธุรกิจไมใชเพียงแต มุงหวังผลกําไร แตม ุงอํานวยสินคา และบริการเพอ่ื สนองความตองการของมนษุ ย จุดมงุ หมายของธุรกิจ คอื 1. เพอ่ื ใหบริการแกผ บู รโิ ภคอุปโภค 2. นําผลกาํ ไรมาสผู ลู งทุน 3. เพ่ือความอยูรอดและเจริญเตบิ โต ความสัมพันธร ะหวา งธรุ กิจกับบคุ คล เราอาจแบงความสมั พันธร ะหวา งธุรกิจกับบคุ คลออกเปน 2 ลกั ษณะ คือ 1. ความสมั พนั ธข องธุรกิจกบั บุคคลในฐานะผบู ริโภค คอื การบรโิ ภคส่งิ ของ เคร่ืองใช เชน เส้ือผา อาหาร นอกเหนอื จากปจ จัย 4 เน่อื งจากคนเรามีความตอ งการไมมีสิน้ สดุ 2. ความสัมพันธของธุรกิจกับบุคคลในฐานะผูผลิต เมื่อเปนผูบริโภคจะตองผลิตใหได มลู คาเทากบั มูลคา การบริโภค มิฉะนนั้ จะยากจน เชน การเปนผผู ลติ ในครอบครัว ชวยพอแมทาํ งาน ธุรกิจท่ีเก่ยี วของในชีวติ ประจําวนั ประเภทของธุรกจิ ที่เกี่ยวขอ งในชีวติ ประจาํ วัน มีดังนี้ 1. ธรุ กจิ ผลติ สินคา เปนธุรกิจท่ีผลิตสินคาสนองความตองการของผูบริโภค ไดแก ธุรกิจ การเกษตร ธุรกิจเหมืองแร ธุรกิจอุตสาหกรรมในครัวเรือน อุตสาหกรรมโรงงาน และธุรกิจ กอสรา ง

28 2. ธรุ กิจจําหนา ยสนิ คา เปน ธุรกจิ ที่กระจายสนิ คา จากผูผลติ ไปยงั ผบู รโิ ภค เชน การจําหนาย สินคาท่ีใชในการดํารงชีวิต สินคาที่อํานวยความสะดวกสบาย ซึ่งธุรกิจประเภทนี้เปนธุรกิจ ขายปลีกและขายสง 3. ธุรกิจการบริการ เปนธุรกิจใหบรกิ ารแกลกู คา ไดแ ก ธนาคาร โรงแรม โรงเรียน โรงภาพยนตร การคมนาคมและการขนสง กิจกรรม ใหผูเรียนศึกษาคนควาเร่ืองประเภทของธุรกิจท่ีเกี่ยวของกับชีวิตประจําวัน บันทึกเปน รายงานสงและนํามาอภปิ รายในการพบกลุม งานสาํ นักงาน การจัดเกบ็ เอกสารทางธุรกจิ ความหมายของเอกสารทางธุรกิจ หมายถึง เอกสารตาง ๆ ท่ีทําข้ึนเปนลายลักษณอักษร อาจจะเขยี นข้นึ เองในลกั ษณะของจดหมาย พิมพเปน แบบฟอรม เชน ใบเสรจ็ รับเงิน ใบกํากบั สนิ คา เปนตน เพือ่ ใชเปนหลกั ฐานในการดําเนนิ งานตาง ๆ ทางธรุ กิจ หรือใชในการอา งอิงกรณีท่ีมีปญหา เกดิ ขนึ้ ความสําคัญและประโยชนของเอกสารทางธุรกิจ คือ ใชเปนขอมูลสนับสนุนดานการ บริหารงานใหม ปี ระสทิ ธภิ าพ เพอื่ ประโยชนใ นการคาระหวางประเทศ เพ่ือใหเกิดความเปนธรรม ใชคุมครองสทิ ธิแกผลู งทุน ใชป ระกันในการขอเครดิต เพื่อใชเปนหลักฐานในการตรวจสอบของ กรมสรรพากรและการเรียกรอ งคาเสียหาย ประเภทของเอกสารทางธรุ กจิ จาํ แนกได ดังนี้ 1. เอกสารการเครดิตและการเงนิ ไดแ ก เชค็ ตัว๋ แลกเงิน ต๋ัวสัญญาใชเงิน ใบหุน พันธบัตร เปนตน 2. เอกสารการซอื้ ขายและขายสินคา หรอื เอกสารการคา เชน ใบเสนอราคา ใบเสรจ็ รับเงนิ 3. เอกสารการขนสง เชน ใบรบั สินคา ขึน้ เรอื ใบตราสง สินคา สญั ญาเชา เหมาซอ้ื 4. เอกสารประกันภัย ไดแก ใบคําขอทาํ ประกัน กรมธรรมประกนั ภยั เปน ตน 5. เอกสารการนําเขา และสงออก เชน ใบขนขาเขา ใบตราสง ใบรบั ของจากทา เรอื การจดั เก็บเอกสารทางธุรกิจ เอกสารทางธุรกิจมีความสําคัญ จะตองมีการเก็บเอกสารใหเปนระบบ เพื่อใหคนหาได สะดวกหยบิ ใชไดงายและใชเปนหลกั ฐานอางอิงกรณที ่มี ีปญ หาเกิดขนึ้ วิธกี ารจดั เกบ็ เอกสาร ท่นี ิยม ใชกันคือ การเก็บตามลาํ ดับตัวอักษร ช่ือบริษัท หางราน การเก็บเอกสารตามตัวเลขโดยใชตัวเลข แทนชื่อบุคคล หางราน บรษิ ทั การเกบ็ เอกสารตามชื่อเรือ่ งและการเกบ็ เอกสารตามภูมศิ าสตร ใชช่ือ สถานที่ ประเทศ จงั หวัด อาํ เภอ เปนหนวยจดั เก็บ

29 การใชเ คร่ืองใชส าํ นักงานและการบํารุงรักษา เครื่องใชสํานักงาน หมายถึง เครื่องมือเครื่องใชสํานักงานท่ีจัดทําข้ึนเพื่ออํานวยความ สะดวกสบายในการปฏิบัติงานสํานักงานใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ เชน เครื่องพิมพดีด เครื่องคํานวณเลข โทรศัพท โทรสาร เครื่องถายเอกสาร และเครื่องคอมพิวเตอร เปนตน การเลอื กใชเครื่องใชสาํ นักงานชนิดใด ขนาดเทา ใด ขนึ้ อยูกับขนาดและความจาํ เปน ของแตละธรุ กจิ ความสาํ คัญและประโยชนของเครื่องใชสํานักงาน คือ ทําใหงานมีความถูกตอง แมนยํา ลดความผิดพลาด ลดตนทุนในการทํางาน ชวยใหงานเสร็จดวยความรวดเร็ว เรียบรอย สวยงาม และทุนแรงผูปฏิบัติ ลดความเมื่อยลา การบํารุงรกั ษาเคร่อื งใชสาํ นักงาน มีการบํารุงรกั ษา อาจทําได 3 วิธี คอื 1. เรียกใชบ ริการเปนคร้ังคราว 2. ทําสัญญารบั บรกิ ารจากผูจําหนายโดยตรง 3. ศกึ ษาวิธีการบํารงุ รกั ษาจากหนงั สือคูมือการใช การนาํ เทคโนโลยีมาใชใ นงานธรุ กิจ ปจจุบันหนวยงานธุรกิจจํานวนมากไดนําเทคโนโลยีมาใชงานธุรกิจ เพ่ือชวยในการ ปฏิบตั ิงาน ในสาํ นกั งานใหม ีประสทิ ธภิ าพมากขึ้นและสะดวกขน้ึ ดงั นี้ 1. งานพิมพเอกสาร โดยใชคอมพวิ เตอรพ ิมพเอกสารตา ง ๆ แทนเครอื่ งพิมพด ีด 2. งานฐานขอมลู ใชคอมพวิ เตอรเพือ่ รวบรวม ประมวลผล บันทกึ และจดั เกบ็ ขอมูลตาง ๆ 3. งานติดตอสอ่ื สาร โดยใชคอมพวิ เตอรเ พื่อรวบรวม ประมวลผล บันทึก และจัดเกบ็ ขอ มลู ตาง ๆ 4. งานดานการเงินและการบัญชี เชน การนําคอมพิวเตอรเขามาใชในการทําบัญชีเงินเดือน เปนตน งานการเงนิ และบญั ชี เปา หมายท่ีสาํ คัญของตนเองและครอบครัวกค็ อื การทาํ ใหค วามเปน อยูของครอบครัวดีขึ้น ไมประสบปญ หาเรอ่ื งการใชจา ยเงิน การใชจ า ยเงนิ ที่ดกี ค็ วรที่จะจัดทําแผนการใชจ า ยเงนิ และจัดทํา งบประมาณของตนเองและครอบครัวอยางเปนระบบ บุคคลในครอบครัวก็ตองชวยกันบันทึกบัญชี เงินสดของตนเองและครอบครัวอยางเปนระบบ เพ่ือท่ีจะไดนําของแตละคนมารวบรวม ทําการ เปรยี บเทียบงบประมาณกับการจา ยจรงิ ของครอบครวั เปาหมายทส่ี ําคญั อกี ประการหน่ึงก็คือ การที่ ตนเองและครอบครวั มีเงินออมและสามารถนําเงินออมนัน้ ไปลงทนุ ทําธุรกจิ

30 การทาํ งบประมาณของตนเองและครอบครวั งบประมาณ หมายถงึ การวางแผนประมาณการรายรับ-รายจาย เพื่อเปนแนวทางในการใช จา ยอยางประหยัด งบประมาณแบง ออกไดเ ปน 2 สว น คอื 1. รายรับ แบงออกเปน - รายรับประจําวัน เปนรายไดท ีแ่ นน อน เปนรายสปั ดาห รายเดอื น - รายรับจร เปน รายไดท ่ีเกิดขนึ้ ไมแ นน อน เปน บางครัง้ บางคราว 2. รายจาย แยกประเภทได ดงั นี้ - รายจายเพือ่ ความตองการพน้ื ฐาน ไดแ ก คา อาหาร ทอ่ี ยู เสือ้ ผา และคายา - รายจายเพื่อดําเนินชวี ิตประจําวัน ไดแก คา นํา้ คา ไฟฟา คาโทรศพั ท ฯลฯ - รายจายเพอ่ื ประโยชนระยะยาว เชน เงินออมเพือ่ การศึกษา เงินประกนั ชวี ิต - รายจายอน่ื ๆ เชน คาของขวญั ในโอกาสตา ง ๆ เงนิ ทาํ บุญ เงินบริจาค เงนิ ชว ยงาน ข้ันตอนการจดั ทํางบประมาณ 1. ประมาณการรายรบั ประจําเดือน 2. ประมาณการรายจา ยประจาํ เดือน ตามความจําเปน กอ นหลัง 3. ประมาณการรายรบั - รายจา ยตอ งเทากนั ตัวอยา งประมาณการรายรบั -รายจา ยของครอบครวั 6,400 4,500 งบประมาณเดือนมนี าคม 2553 10,900 ประมาณการรายรับ 1,500 เงินเดือนสามี 4,000 เงนิ เดอื นภรรยา 500 รวม 500 6,500 ประมาณการรายจา ย รายจายเพื่อความตองการขั้นพ้นื ฐาน คา เชา บาน คา อาหาร คา เสอ้ื ผา คารักษาพยาบาล

รายจายเพื่อการดําเนินชวี ติ ประจําวนั 31 คารถ คากาซหุงตม 600 คาไฟฟา 250 คาน้าํ ประปา 250 คา โทรศัพท 150 150 1,400 รายจา ยเพ่ือประโยชนร ะยะยาว คา ประกนั ชีวิต 500 เงนิ ฝากธนาคารเพือ่ การศกึ ษา 1,000 เงินออม 1,000 2,500 500 500 รายจา ยอน่ื ๆ รวม 10,900 ประโยชนข องการจัดทํางบประมาณ มีดังนี้ 1. ทําใหม แี ผนการใชจายเงินอยางเปน ระบบ 2. ชว ยลดปญหาการใชจ า ยเงินมากกวารายได 3. สามารถจดั สรรเงินออมไวใ ชจ ายในอนาคต การออมทรัพยแ ละการลงทุนกับธนาคารและสถาบันการเงิน การออมทรัพย หมายถึง การนาํ เงินรายไดส วนทจี่ ดั สรรไวเ พอ่ื ประโยชนในอนาคต หรือใน ยามจาํ เปน การลงทนุ หมายถงึ การนาํ เงินออมทีส่ ะสมไวไปใชเ พ่ือใหเกดิ ประโยชนหรอื วตั ถปุ ระสงค อยางใดอยางหนึ่งโดยเฉพาะ สถาบันการเงิน หมายถึง องคการทางการเงินท่ีจัดข้ึนมาเพ่ือดําเนินงานทางดานการเงิน ทําหนาท่เี ปนสอื่ กลางทางการเงิน ไดแก ธนาคาร บรษิ ัทเงนิ ทนุ บรษิ ัทหลักทรัพย เปนตน ประเภทของการลงทนุ เราสามารถที่จะนาํ เงินออมที่มอี ยูไ ปลงทุนได 2 ประเภทใหญ ๆ คือ พันธบัตร และหุน ซ่ึง ทง้ั สองชนดิ เรยี กวา หลักทรพั ย 1. พันธบัตร คือ ตั๋วสัญญาใชเงินท่ีรัฐบาลหรือบริษัทเปนผูออกโดยสัญญาวาจะใชเงิน ภายในระยะเวลาท่กี าํ หนดพรอ มดอกเบยี้ 2. หนุ ของบริษทั หนุ หมายถงึ ใบรบั รองวาเปน ผูมีสวนในกิจการหรอื เปนเจาของบริษทั

32 กิจกรรม 1. ใหผเู รยี นจดั ทําบัญชีเงนิ สดของตนเอง เปนรายบุคคล 2. ระยะเวลาในการปฏิบตั ิงานประมาณ 1 สัปดาห 3. นําเสนอผลการปฏิบตั ิงานโดยการสมุ ตัวอยาง เรอื่ งท่ี 3 กลุมอาชพี ใหม จากการเปล่ียนแปลงในบริบทโลกทั้งในสวนการรวมกลุมทางการเงิน การเปล่ียนแปลง เทคโนโลยีอยางรวดเรว็ การเปลย่ี นแปลงของธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอม การเปลีย่ นแปลงพฤตกิ รรม ของผูบริโภค การรวมกลุมทางเศรษฐกิจ และประการสําคัญคือ การเปลี่ยนแปลงโครงสราง ประชากรทางสังคม ดงั นัน้ อาชพี ในปจ จบุ นั จะตอ งมกี ารพัฒนาวิธีการและศักยภาพในการแขงขันได ในระดบั โลก ซ่งึ จะตองคาํ นงึ ถงึ บริบทภมู ิภาคหลักของโลก หรือ “รูศกั ยภาพเขา” หมายถึง ทวีปเอเชีย ทวปี อเมริกา ทวปี ยโุ รป ทวปี ออสเตรเลีย และทวีปแอฟริกา และจะตอง “รูศักยภาพเรา” หมายถึง รูศ ักยภาพหลักของพื้นท่ีประเทศไทย คือศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแตละพื้นที่ ศักยภาพ ของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตของแตละพื้นที่ และศักยภาพของทรัพยากรมนุษยใน แตละพ้ืนท่ี ดังน้ัน เพื่อใหการประกอบอาชีพสอดคลองกับศักยภาพหลักของพื้นที่และสามารถ แขงขันในเวทีโลก จึงไดกาํ หนดกลุมอาชีพใหม 5 กลุมอาชีพ คือ กลุมอาชีพใหมดานการเกษตร กลุมอาชีพใหมดานพาณิชยกรรม กลุมอาชีพใหมดานอุตสาหกรรม กลุมอาชีพใหมดานความคิด สรางสรรค และกลุมอาชพี ใหมดานบรหิ ารจัดการและบรกิ าร 1. กลุม อาชีพใหมดานการเกษตร คือการพัฒนาอาชีพในดานการเกษตรเกี่ยวกับ การปลูกพืช เลี้ยงสัตว การประมง โดยนําองคความรูใหม เทคโนโลยี/นวัตกรรม มาพัฒนาให สอดคลองกับศักยภาพหลักของพ้ืนท่ี คือศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแตละพื้นที่ ตาม ลักษณะภูมิอากาศ ศักยภาพของภูมิประเทศ และทําเลท่ีต้ังของแตละพื้นที่ ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถขี องแตล ะพ้ืนที่และศกั ยภาพของทรพั ยากรมนุษยในแตละพื้นที่ อาชีพ ใหมดานการเกษตร เชน เกษตรอินทรีย เกษตรผสมผสาน เกษตรทฤษฎีใหม วนเกษตร ธุรกิจ การเกษตร เปน ตน 2. กลุมอาชีพใหมดานพาณิชยกรรม คือการพัฒนาหรือขยายขอบขายอาชีพดาน พาณชิ ยกรรม เชน ผูใ หบ ริการจาํ หนา ยสนิ คาทง้ั แบบคา ปลีกและคา สงใหแกผูบริโภคทั้งมีหนาราน เปนสถานที่จัดจําหนาย เชน หางราน หา งสรรพสินคา ซุปเปอรส โตร รานสะดวกซ้อื และการขายที่ ไมมหี นารา น เชน การขายผานสื่ออิเล็กทรอนิกส 3. กลุมอาชีพใหมดานอุตสาหกรรม คือการพัฒนาอาชีพที่อาศัยองคความรู เทคโนโลย/ี นวัตกรรม อาชพี เก่ยี วกบั งานชางซ่ึงไดแก ชางไฟฟา ชางไม ชา งยนต ชา งประปา ชางปูน

33 และชา งเชื่อม ใหส อดคลองกับความตองการของตลาดในประเทศ และตางประเทศ และศักยภาพ หลักของพ้ืนท่ี เชน ผูผลิตชิ้นสวนอิเลคทรอนิกสเครื่องใชไฟฟา หรืออุปกรณอิเล็กทรอนิกส โดยท่วั ไป เชน IC PCB ผูประกอบรถยนตและยานยนตประเภทตา ง ๆ ผผู ลติ ตวั แทนจาํ หนายหรอื ผูประกอบชิ้นสว นหรอื อะไหลรถยนต ผใู หบ รกิ ารซอ มบํารุงรถยนต ผจู ดั จําหนา ยและศูนยจําหนาย รถยนตท งั้ มอื หนงึ่ มือสอง ผผู ลติ และจําหนา ยเครอื่ งจกั รและเคร่ืองมอื ทุกชนิด เชน เคร่ืองจักรกลหนัก เคร่ืองจักรกลเบา ผลิตอุปกรณหรือสวนประกอบพ้ืนฐานของเคร่ืองใชไฟฟาตาง ๆ เชน สายไฟ หลอดไฟ ฉนวนไฟฟา มอเตอรตาง ๆ การผลติ อลูมเิ นียม ผลติ และตัวแทนจําหนายผลิตภัณฑเหล็ก สแตนเลส ผูผ ลิตจําหนายวสั ดกุ อสราง วัสดตุ กแตง สขุ ภณั ฑ การกอสรา ง อาคาร หรือทอ่ี ยูอาศัย 4. กลมุ อาชพี ใหมดานความคดิ สรา งสรรค ทามกลางกระแสการแขงขันของโลก ธุรกจิ ที่ไรพรมแดน และการพัฒนาอยา งกาวกระโดดของเทคโนโลยีการสื่อสารและการคมนาคม การแลกเปล่ียนสินคาจากท่ีหน่ึงไปยังอีกสถานที่ที่อยูหางไกลน้ันเปนเรื่องงายในปจจุบัน เมื่อ ขอ จาํ กดั ของการขามพรมแดนมใิ ชอ ปุ สรรคทางการคา ตอ ไปจงึ ทําใหผ บู รโิ ภคหรอื ผซู อ้ื มีสิทธิเลือก สินคาใหมไดอ ยา งเสรีทั้งในดานคุณภาพและราคา ซึ่งการเรียนรแู ละพัฒนาสินคาและบริการตาง ๆ ที่มีอยูในตลาดอยูแลวในยุคโลกไรพรมแดนกระทําไดงาย ประเทศท่ีมีตนทุนการผลิตต่ํา เชน ประเทศจนี อินเดยี เวียดนาม และประเทศในกลุมยุโรปตะวันออก จะมีความไดเปรียบในการแขง ขัน ดา นราคา ดว ยเหตุน้ีประเทศผูนําทางเศรษฐกิจหลายประเทศจึงหันมาสงเสริมการดําเนินนโยบาย เศรษฐกิจสรา งสรรคเ พอื่ พฒั นาสินคา และบรกิ ารใหม ๆ และหลกี เล่ียงการผลิตสนิ คา ท่ีตองตอสดู าน ราคา โดยหลกั การของเศรษฐกจิ สรา งสรรคค อื แนวคิดหรอื แนวปฏิบัติที่สราง/เพิ่มมูลคาของสินคา และบรกิ ารไดโดยไมตอ งใชทรัพยากรมากนัก แตใชความคิด สติปญญา และความสรางสรรคให มากข้นึ ทิศทางของแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาตฉิ บับท่ี 11 (พ.ศ. 2555 – 2559) ไดกําหนดยุทธศาสตรการปรับโครงสรางเศรษฐกิจสูการเจริญเติบโตอยางคุณภาพและยั่งยืน ให ความสําคัญกับการปรับโครงสรางเศรษฐกิจบนฐานความรู ความคิดสรางสรรคและภูมิปญญา ภายใตปจจัยสนับสนุนที่เอื้ออํานวยและระบบการแขงขันที่เปนธรรมเพ่ือสรางภูมิคุมกันใหกับ ประเทศ มุงปรับโครงสรางและการลงทุนใหสอดคลองกับความตองการของตลาดท้ังภายในและ ตางประเทศ สรางมูลคา เพม่ิ ใหก ับสาขาบริการท่มี ีศกั ยภาพบนพ้ืนฐานของนวัตกรรมและความคิด สรางสรรค พัฒนาธุรกิจสรางสรรคและเมืองสรางสรรค เพ่ิมผลิตภาพของภาคเกษตรและสราง มลู คา เพ่มิ ดว ยเทคโนโลยีและกระบวนการผลิตที่เปนมิตรกับสิง่ แวดลอม พฒั นาภาคอุตสาหกรรมสู อตุ สาหกรรมฐานความรูเชิงสรา งสรรคแ ละเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม พัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานและ ระบบโลจิสตกิ ส สรางความมั่นคงดานพลงั งานควบคูไ ปกบั การปฏริ ปู กฎหมายและกฎระเบียบตาง ๆ ทางเศรษฐกจิ และการบริหารจดั การเศรษฐกจิ สวนรวมอยางมีประสิทธิภาพเพื่อใหเปนฐานเศรษฐกิจ ของประเทศที่เขม แข็งและขยายตัวอยางมีคณุ ภาพ

34 กลุมอาชีพใหมดานความคิดสรางสรรค จึงเปนอาชีพที่อยูบนพื้นฐานของการใช องคความรู (Knowledge) การศึกษา (Education) การสรางสรรคงาน (Creativity) และการใช ทรพั ยส ินทางปญ ญา (Intellectual Property) ทเี่ ชอ่ื มโยงกับพื้นฐานทางวัฒนธรรม (Culture) การส่ังสม ความรูของสังคม (Wisdom) และเทคโนโลยี/นวัตกรรมสมัยใหม (Technology and Innovation) (อาคม เติมพิทยาไพสฐิ ,2553) ดังน้นั กลมุ อาชีพใหมดา นความคิดสรางสรรค จงึ เปนการตอยอดหรอื การพฒั นาอาชีพในกลุมอาชีพเดิม คือกลุมอาชีพเกษตรกรรม กลุมอาชีพอุตสาหกรรม กลุมอาชีพ พาณชิ ยกรรม กลมุ อาชีพคหกรรม กลมุ อาชพี หตั ถกรรม และกลมุ อาชพี ศลิ ปกรรม กลุมอาชีพใหมดานความคิดสรางสรรค เชน แฟช่ันเสื้อผา เคร่ืองประดับ เครอ่ื งสําอาง ทรงผม สปาสมนุ ไพร การออกแบบสื่อ/ภาพยนตร/ โทรทศั น เครอื่ งใชไฟฟา เฟอรนิเจอร วัสดุกอสรางแบบประหยัดพลังงาน เซรามิก ผาทอ จักสาน แกะสลัก รถยนตพลังงานทางเลือก ขากลอัตโนมัติเพ่อื ผพู ิการ การทอ งเท่ยี วเชิงวัฒนธรรม ตลาดนาํ้ อโยธยา เปนตน 5. กลุม อาชพี ใหมด า นบริหารจัดการและบรกิ าร เชน ธรุ กิจบริการทองเที่ยว ธุรกิจ บรกิ ารสุขภาพ ธุรกจิ บริการโลจิสติกส ธุรกิจภาพยนตร ธุรกจิ การจัดประชุมและแสดงนิทรรศการ บริการทปี่ รึกษาดานอสงั หาริมทรัพย ทีป่ รกึ ษาทางธรุ กิจ งานอาชีพใหมทั้ง 5 กลุม ในอนาคตจะมีการเติบโตทางธุรกิจมากข้ึน จึงมีความ ตองการเจา หนา ท่ี บคุ คล พนักงาน เพ่ือควบคุมและปฏิบัติงานท่ีมีความรู ความสามารถ และทักษะ ฝมอื เปน จํานวนมาก เร่อื งที่ 4 การประกอบอาชีพในภมู ิภาค 5 ทวีป ภูมิภาคของโลกประกอบดวย 5 ทวีป ไดแก เอเชีย อเมริกา ยุโรป ออสเตรเลีย แอฟริกา ซงึ่ ในแตล ะภมู ภิ าคจะมลี กั ษะการประกอบอาชีพท่ีแตกตางกัน เพราะมีความแตกตางกัน ทางสภาพบริบทของพื้นที่ ไดแก ทรัพยากรธรรมชาติและพ้ืนท่ี ลักษณะภูมิอากาศ ภูมิประเทศ ศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี วถิ ีชีวิตและการดํารงชีวิตของประชาชน ดังน้ันในการประกอบอาชีพ ผูประกอบการจําเปนตองเขาใจในความแตกตางของสภาพบริบทของพ้ืนท่ีดังกลาว เพราะใน อนาคต การติดตอทางการคาจะสามารถเชื่อมโยงติดตอซื้อขายไดอยางไมมีขอบเขตจํากัด ความแตกตางของลักษณะงานอาชีพในแตละภูมภิ าค มรี ายละเอยี ดดังน้ี ภูมิภาคเอเชีย สวนใหญของประเทศในภูมิภาคเอเชีย ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เปนหลัก ไดแก การปลูกพืช การเลี้ยงสัตว การประมง ปาไม รวมถึงงานอาชีพทางดานเหมืองแร และ อตุ สาหกรรมดว ยโดยในแตละอาชพี ที่ประกอบการในภมู ภิ าคเอเชีย มลี ักษณะการประกอบอาชีพ ดังน้ี การปลูกพืช เปนอาชีพเกษตรกรรมที่ประชาชนสวนใหญในแตละประเทศของ ภูมิภาคเอเชียดําเนินการประกอบเปนอาชีพ แตมีความแตกตางกันไปตามลักษณะภูมิอากาศ

35 ภูมปิ ระเทศ และการดํารงชีวิตของประชากร โดยประเทศในเขตพ้ืนท่ีราบท่ีมีปริมาณฝนเพียงพอ และประชากรอาศยั อยอู ยางหนาแนน จะมีการดาํ เนินการประกอบอาชพี การปลกู พืชเพอื่ เลยี้ งตนเอง แตในเขตพ้นื ท่ีท่มี ภี ูมิอากาศแบบปาดิบชื้น มีประชากรอยูบางเบา จะประกอบอาชีพเกษตรกรรม ปลกู พชื แบบเลอ่ื นลอย ท้ังนี้ ในพืน้ ท่ที เ่ี ปนทุงหญา มรี ะบบชลประทาน สวนใหญจะประกอบอาชีพ ปลกู พืชพรอมการเลี้ยงสัตว โดยพ้ืนทใี่ ดของประเทศที่อยูในเขตอากาศหนาว เขตทะเลทราย และ เขตภเู ขา จะเปนพื้นทที่ ี่ไมสามารถประกอบอาชีพเกษตรกรรมปลกู พืชได สําหรับพืชเศรษฐกิจท่ีสําคัญนิยมปลูกในประเทศของภูมิภาคเอเชีย เชน ขาวเจา ขาวโพด มะพราว ปาลม นา้ํ มัน มะกอก ชา ฝา ย ปอ ปาน ยางพารา เปน ตน การเลีย้ งสตั ว อาชพี เกษตรกรรมการเล้ียงสัตว เปนอีกอาชีพหน่ึงที่ประชาชนใน ประเทศตา ง ๆ ของภูมิภาคเอเชียนยิ มประกอบอาชีพ แตม คี วามแตกตา งกันไปตามสภาพภมู ปิ ระเทศ และภูมิอากาศ โดยในประเทศท่ีมีอากาศแหงแลงแถบเอเชียตะวันตกเฉียงใต และตอนกลางของ ภมู ภิ าค ซึ่งมลี กั ษณะพนื้ ท่ีเปนทุงหญา กึง่ ทะเลทราย ประชากรในเขตดงั กลา ว จงึ นิยมเลย้ี งสตั วแบบ เรรอ น ไดแ ก อูฐ แพะ แกะ โค มา และจามรี โดยการเลี้ยงสตั วใ นลกั ษณะดงั กลาว เปนการประกอบ อาชพี เพ่ือตองการนมและเน้อื นาํ มาใชเปนอาหาร สวนในเขตอากาศรอนชื้นและอบอุน ประชากร จะนยิ มเลยี้ งสตั วเพ่ือการบรโิ ภคและการสงเปนสินคา ออก ไดแ ก สุกร ไก เปด ท้ังน้ี ในเขตอากาศ ดังกลาว จะนิยมเลย้ี งโค กระบือ และมา เชน เดียวกัน แตเ ปนการเลีย้ งไวเพ่ือใชง าน การประมง การประกอบอาชีพประมงของภูมิภาคเอเชีย มีการดําเนินการประกอบ อาชีพประมงใน 2 ลกั ษณะ ไดแก ประมงน้าํ จืด และประมงทางทะเล การประกอบอาชีพประมงนํ้าจืด สวนใหญจะนิยมทําอาชีพประมงควบคูกับการปลูกพืช โดยเฉพาะพืชผัก สําหรับการประกอบ อาชีพประมงทางทะเล มีการประกอบอาชีพในเขตนานนํ้าแถบชายฝงตะวันออกของภูมิภาคเอเชีย ต้ังแตอาวไทยไปจนถึงชองแคบเบรงิ ทีก่ ระแสน้าํ อนุ กุโรชโิ วไหลมาบรรจบกับกระแสนํา้ เย็นโอยาชโิ ว เพราะเปนแหลงที่มีอาหารสมบูรณ ทําใหมีสัตวน้ําอยูเปนจํานวนมาก ประเทศญ่ีปุนเปนประเทศท่ีมี การประกอบอาชีพประมงทางทะเลมากที่สุดในโลก นอกจากการประกอบอาชีพประมงจับสัตวนํ้า ทะเลแลว ตามแนวชายทะเลยังมีการประกอบอาชีพการเลี้ยงหอยประเภทตาง ๆ รวมถึงสาหรายทะเล ซงึ่ มีการประกอบอาชพี เชน น้กี ระจายโดยท่ัวไปในประเทศท่มี พี ้ืนท่ีชายทะเล ปา ไม อาชพี ปา ไม มีการดาํ เนนิ งานอาชีพใน 2 ลักษณะตามเขตภูมิอากาศ คือ ปาไม ในเขตรอน จะเปนไมประเภทไมเนื้อแข็ง ในเขตประเทศ ไทย เมียนมาร ลาว กัมพูชา เวียดนาม อนิ เดีย และในประเทศกลุม หมเู กาะ สวนปา ไมใ นเขตหนาว จะเปนปา ตน สน โดยมีการนําไมสนมา ใชท าํ เปน กระดาษและลังไม เหมืองแร ภูมิภาคเอเชีย เปนภูมิภาคที่อุดมไปดวยแรธาตุนานาชนิด เนื่องจากมี สภาพภูมิประเทศเปนเทือกเขาท่ีมีอายุแตกตางกัน แรธาตุที่สําคัญที่มีการขุดข้ึนมาใชประโยชน ไดแ ก เหล็ก ถานหิน ดีบุก นํ้ามัน แมงกานิส เพชร พลอย เปน ตน

36 อตุ สาหกรรม ในภมู ิภาคเอเชีย การประกอบอาชีพดา นอุตสาหกรรม สวนใหญจะ เปน อตุ สาหกรรมแบบหัตถกรรมหรืออุตสาหกรรมในครัวเรือน ในลักษณะงานฝมือ ของที่ระลึก เชน ผาทอ เครอื่ งโลหะ เคร่อื งแกะสลกั เคร่ืองจักสาน เปนตน สําหรับอุตสาหกรรมใหม ประเทศ ญ่ีปนุ เกาหลี ไตหวนั และสงิ คโปร ถกู จดั ใหเปนประเทศในกลุมอุตสาหกรรมใหม ลักษณะวิธีการคาในภูมิภาคเอเชีย การคาขายแตเดิมประเทศในภูมิภาคเอเชีย จะใชว ธิ ีตา งคนตา งขาย แตอ นาคตตงั้ แตป พ.ศ. 2558 กลุมประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต ในนามของอาเซยี น กําหนดทะลายกาํ แพงทางภาษี และรวมคาขายกบั ประเทศในภูมิภาคอ่ืน เพื่อให สามารถกระจายสนิ คา และสรางพลังการตอรองราคา ภูมภิ าคอเมริกา เน่ืองจากภมู ิภาคอเมรกิ า มีความแตกตางกนั ในดานภมู ิประเทศ ภูมิอากาศ และวิถีการดํารงชีวิตคอนขางสูง ในเขตอเมริกาใต และอเมริกาเหนือ การประกอบอาชีพของ ท้ัง 2 เขต จึงมคี วามแตกตา งกนั ไปดว ย ดงั นี้ การปลกู พชื นิยมปลูกพชื มดี งั น้ี ประเภท อเมรกิ าใต ประเภท อเมริกาเหนอื กาแฟ ขอ มูล ขอมลู ขาวโพด โกโก ปลกู มากในประเทศบราซิล มี ขา วสาลี ไมม กี ารปลกู มากถงึ รอยละ 50 ของโลก และ ขา วโพด ยังมกี ารปลูกในประเทศ ไมม ีการปลกู โคลัมเบีย และเอกวาดอร ขาวสาลี ปลกู เพ่ือนาํ มาทําเปน เปนพชื เศรษฐกจิ ของประเทศ ชอ็ กโกแลต เครื่องดมื่ และ สหรฐั อเมริกา ปลูกมากในแถบ ขนมหวาน นิยมปลูกใน ภาคกลางของประเทศ ประเทศ บราซลิ เอกวาดอร เปนพชื ทปี่ ลูกมากในประเทศ ปลกู มากในประเทศ บราซลิ รวมถึง ประเทศ สหรัฐอเมรกิ า และแคนาดา อารเ จนตินา เวเนซเู อลา เปรู โดยประเทศสหรัฐอเมริกา และโคลัมเบยี จะปลกู ขา วสาลีฤดูหนาว นิยมปลกู ในประเทศบราซลิ สว นประเทศแคนาดา อารเ จนตนิ า ชลิ ี

37 ประเภท อเมริกาใต ประเภท อเมรกิ าเหนอื ขอ มลู ขอมูล ออ ย กลวย ปลกู มากในประเทศบราซลิ ฝาย จะปลูกขา วสาลีฤดูใบไมผลิ ฝาย ปลูกมากในประเทศเอกวาดอร ไมมกี ารปลูก ปลูกมากในประเทศบราซิล ไมม กี ารปลกู อารเจนตินา ปลกู มากในบริเวณลมุ แมนา้ํ มสิ ซิสซิปป ภาคตะวนั ตกของ ไมมีการปลกู ถั่วเหลอื ง รัฐแอริโซนา และแคลฟิ อรเ นีย ปลูกมากในเขตทรี่ าบภาคกลาง ไมมกี ารปลกู ยาสูบ ของประเทศสหรัฐอเมรกิ า เปน พืชเศรษฐกจิ ท่ีสราง ชอ่ื เสียงใหแ กป ระเทศ สหรัฐอเมริกา ปลกู มากในเขต ภาคตะวนั ออกของประเทศ สหรฐั อเมรกิ า ไมมกี ารปลูก ขา วเจา ปลกู มากในเขตภาคใตข อง ประเทศสหรฐั อเมริกา ไมมกี ารปลูก ผกั และผลไม ในภาคตะวนั ออกของประเทศ ตา ง ๆ สหรัฐอเมรกิ า มกี ารปลกู เชอรรี่ สตรอเบอรี แอปเปล ภาคใต ปลกู สม สับปะรด ชายฝง ตะวนั ตกเฉียงใต ปลกู องนุ มะกอก สม มะนาว การเลีย้ งสัตว ในเขตอเมรกิ าใต และอเมรกิ าเหนือ มกี ารเลย้ี งสัตว ดังน้ี โคเนื้อ ในเขตอเมริกาใต นิยมเล้ียงในประเทศบราซิล อารเจนตินา และอุรุกวัย สวนในเขตอเมริกาเหนือ นิยมเล้ียงในแถบตะวันตกของประเทศ และจะเล้ียงเปนฟารมปศุสัตว ขนาดใหญ โคนม เขตอเมรกิ าใตไ มมีการเลี้ยงโคนม ในสวนของอเมริกาเหนือ นิยมเล้ียงใน เขตทร่ี าบภาคกลางและภาคตะวนั ออกของประเทศสหรัฐอเมริกา โดยพ้ืนท่ีดังกลาว จะมีการปลูก

38 ขาวโพด และถั่วเหลือง ซ่ึงมีการนําขาวโพด และถั่วเหลือง มาใชเปนอาหารสัตว เพื่อใหโคนมมี สุขภาพแขง็ แรง แกะ เขตอเมริกาใต นิยมเล้ียงในประเทศอุรุกวัย โดยมีการเลี้ยงจํานวนมากเปน อันดับ 2 ของโลก ในเขตอเมรกิ าเหนอื นยิ มเลยี้ งในภาคตะวนั ตก และตะวันตกเฉียงใตข องประเทศ สหรัฐอเมริกา สุกร เขตอเมรกิ าใต นิยมเลี้ยงในประเทศเปรู และบราซิล สวนเขตอเมริกาเหนือ นยิ มเลี้ยงในเขตทเ่ี ล้ียงโคนม โดยใชห างนมนาํ มาเล้ยี งสุกร ปาไม เขตอเมริกาใตเปน แหลงไมเ น้ือแข็งท่ีมีอยอู ยา งอุดมสมบูรณแ ละกวางขวาง แตนํามาใชประโยชนไดนอย เพราะการคมนาคมไมสะดวก สําหรับเขตอเมริกาเหนือ สวนใหญ ประกอบอาชพี ปาไม ท่สี วนใหญเปนไมเ นื้อออน เหมืองแร เขตอเมรกิ าใตและอเมรกิ าเหนือ มีแรธ าตุทีส่ าํ คญั อน่ื ไดแก อเมริกาใต อเมรกิ าเหนอื ขอมลู ประเภท ขอ มูล ประเภท ถา นหิน มมี ากแถบเทือกเขาดานตะวันตก ไมม ที รัพยากรและการผลิต ของประเทศสหรฐั อเมริกา เหล็ก มีมากในประเทศบราซลิ มกี าร เหล็ก มีมากทบี่ รเิ วณเทอื กเขาเมซาบี ผลิตมากเปนอนั ดับ 2 ของโลก รฐั มินนิโซตา และเปนแหลง รวมท้ัง เวเนซเู อลา โบลเิ วีย ชิลี ทองคาํ เหลก็ ทีส่ าํ คัญทีส่ ดุ ในเขตอเมริกา ทองแดง เหนอื ทองคํา มีมากในประเทศบราซลิ แหลงผลติ ทีส่ าํ คญั อยทู เี่ ทือกเขา รอกกี้ ทองแดง มีมากเปนอนั ดบั ท่ี 1 ของโลก แหลงผลติ ทสี่ ําคัญ อยทู ่ีเทอื กเขา ในประเทศชิลี รวมทั้งใน รอกกี้ ประเทศบราซิล และเปรู บอกไซด เปนแรธาตทุ ี่นํามาใชเ พ่อื การ ไมมที รพั ยากรและการผลติ ผลิตอลมู ิเนียม มีมากท่รี ัฐ อารคนั ซอ ดบี กุ ประเทศโบลเี วีย มีการผลิตดบี กุ สงั กะสี มากเปน อนั ดบั 2 ของโลก ไมม ที รัพยากรและการผลติ ผลติ มากในประเทศเปรู บราซิล ไมมีทรัพยากรและการผลิต

39 ประเภท อเมรกิ าใต ประเภท อเมรกิ าเหนอื นํา้ มนั ขอมลู น้ํามัน ขอมูล และอารเจนตินา มแี หลงผลิตทางตอนเหนอื ของ ประเทศเวเนซูเอลา เปน ประเทศ รัฐแอลาสกา และภาคกลาง ท่ีมีการผลิตมากทส่ี ุด และยงั มี ตอนลา งของประเทศแคนาดา ในประเทศบราซิล โบลเี วยี เอกวาดอร อุตสาหกรรม ในเขตอเมริกาใต จะเปนอุตสาหกรรมเบา เชน การผลิตน้ําตาล อาหารกระปอง ประเทศที่มีอุตสาหกรรมเจริญกา วหนา เปนอตุ สาหกรรมขนาดใหญ ไดแ ก ประเทศ บราซิล และอารเ จนตนิ า เปน การผลติ เหล็กกลา นํ้ามันและปโตรเคมี สวนอเมริกาเหนือ เปนสวน ภูมิภาคท่เี จริญกาวหนา มากทางอุตสาหกรรม โดยเฉพาะการผลิตในอุตสาหกรรมหลกั ภูมิภาคยุโรป การดําเนินงานอาชีพของประเทศในภูมิภาคยุโรป มีลักษณะการประกอบ อาชีพ ดงั น้ี การปลูกพืช พนื้ ทีก่ ารปลูกพชื ของภูมภิ าคยุโรป สว นใหญป ลกู ในยโุ รปตะวันออก และภาคใตของประเทศองั กฤษ ภาคเหนอื และภาคตะวันตกของประเทศฝร่ังเศส รวมถึงตอนเหนือ ของประเทศเยอรมัน พชื ท่สี าํ คัญและมผี ลตอเศรษฐกิจไดแ ก ขาวสาลี ปลูกมาในประเทศยูเครน ฝรั่งเศส อิตาลี สเปน โรมาเนีย บัลกาเรีย เยอรมัน ฮังการี ขา วโอต ขา วบารเลย ถัว่ มนั ฝรั่ง ปลูกไดโดยท่วั ไปของประเทศตาง ๆ ใน ภมู ิภาคยโุ รป องุน สม มะกอก มะนาว แอปเปล ปลกู มากในประเทศที่มีลักษณะอากาศ แบบเมดิเตอรเรเนยี น ไดแก ประเทศอติ าลี ฝร่งั เศส สเปน กรซี การเลี้ยงสตั ว สตั วเศรษฐกิจที่นิยมเลี้ยง ไดแก กวางเรนเดียร โคเน้ือ โคนม แพะ แกะ มา และสุกร โดยการเล้ยี งสตั วเศรษฐกิจดงั กลา ว ขึ้นอยกู ับความเหมาะสมของลักษณะภูมิประเทศ และภมู อิ ากาศ การประมง แหลงทําการประมงท่สี ําคัญในภมู ิภาคยุโรป ไดแก ทะเลเหนือ โดยเฉพาะบริเวณกระแสนํ้าอุนแอตแลนติกเหนือบรรจบกับ กระแสน้ําเย็นกรนี แลนดตะวันออก ทําใหมีอาหารสมบูรณ ปลาชุกชุม ประเทศที่ประกอบอาชีพ ประมงในเขตนี้ ไดแก ประเทศนอรเ วย ไอซแ ลนด และสหราชอาณาจักร

40 ทะเลดาํ ทะเลสาบแคสเปย น และแมนาํ้ โวลกา มกี ารจับปลาสเตอรเจียน นาํ มาทาํ เปนไขปลาคารเวยี ร ปา ไม อาชีพปา ไม มีการประกอบอาชีพอยางจริงจังในประเทศฟนแลนด สวีเดน รัสเซีย นอรเ วย สว นใหญเปนปา ไมในเขตหนาว มีปาตนสนจํานวนมาก โดยมีการนํามาใชทําเปน เย่ือกระดาษ เหมอื งแร ภูมิภาคยโุ รป เปน แหลงแรท ่ีสําคัญจํานวนมาก ไดแ ก นา้ํ มันและกาซธรรมชาติ อยูในบรเิ วณทะเลเหนือ และรอบทะเลสาบแคสเปยน บอกไซด นาํ มาถลงุ เปน อลมู ิเนียม มีมากในประเทศฝรั่งเศส ยูโกสลาเวีย ฮงั การี และเทือกเขาคูราล ในประเทศรัสเซีย โพแทช นํามาใชในอุตสาหกรรมปุยและสบู มีมากในประเทศฝรั่งเศส เยอรมัน สเปน และรสั เซยี อุตสาหกรรม ในภมู ิภาคยโุ รป ถอื ไดว า เปนภมู ิภาคอุตสาหกรรม ประชากรสวนใหญ จะประกอบอาชีพอยใู นภาคอตุ สาหกรรม แหลง อตุ สาหกรรมในภูมภิ าคยโุ รปจะอยูแถบยุโรปตะวันตก เชน ประเทศฝร่ังเศส สหราชอาณาจักร เยอรมัน เนเธอรแลนด รวมถึง ประเทศรัสเซีย ยูเครน เบลารสุ ในแถบยุโรปตะวนั ออก ภูมิภาคออสเตรเลีย การประกอบอาชีพของภูมิภาคออสเตรเลีย มีลักษณะการประกอบ อาชพี ดงั น้ี การปลกู พชื เกษตรกรรมการปลูกพืช ถือวาเปนอาชีพหลักของภูมภิ าคออสเตรเลีย โดยในการดาํ เนนิ การอาชพี เกษตรกรรมปลกู พืช เกษตรกรมกี ารนําเคร่ืองจักรกลเขามาชวยในการ ทําการเกษตร เน่ืองจากพื้นท่ีของออสเตรเลียมีความแหงแลง และใชในการขุดนํ้าบาดาล พืชที่ สาํ คญั และมีผลตอเศรษฐกจิ ไดแก ขาวสาลี เปนพืชเศรษฐกิจที่สําคัญท่ีสุดของภูมิภาคออสเตรเลีย นอกจากนั้น ยังมีการปลูกขาวเจา กลวย ออย สับปะรด องุน และสม กระจายในพ้ืนท่ีภูมิภาค ออสเตรเลยี ตามความเหมาะสมของสภาพภูมิประเทศ และภมู อิ ากาศ การเล้ียงสัตว ในภูมิภาคออสเตรเลีย นิยมเล้ียงสัตว ไดแก แกะ เปนการเล้ียงไว เพ่ือการใชขน โคเน้ือ มีการเล้ียงในบริเวณทุงหญาสะวันนา และโคนม มีการเล้ียงในบริเวณ เขตอากาศอบอนุ การประมง ภูมิภาคออสเตรเลีย โดยเฉพาะฝงตะวันออก เปนบริเวณท่ีมีปลา จาํ นวนมาก ไดแก ปลาทูนา ปลาฉลาม ปลาแซลมอน ปลากระบอก รวมท้ัง มีการเล้ียงหอยมุกที่ เกาะเทอรส เตย แตงานอาชีพดานประมง มีปญหาไมสามารถจับปลาที่มีชุกชุมไดมาก เพราะขาด แรงงาน ปาไม อาชีพปาไม มีการประกอบอาชีพปาไม ประเภทปายูคาลิปตัส เพราะมี จาํ นวนมากในแถบตะวนั ออกของภมู ิภาคออสเตรเลีย

41 เหมอื งแร ภมู ิภาคออสเตรเลยี เปน แหลง แรทสี่ าํ คญั จํานวนมาก ไดแ ก เหลก็ มมี ากทร่ี ฐั เวสเทิรน ออสเตรเลีย ถานหิน มมี ากทีซ่ ดิ นีย นิวคาสเซลิ ทองคํา มีมากทรี่ ฐั เวสเทิรน ออสเตรเลยี ดบี กุ มมี ากทร่ี ัฐควนิ สแลนด อตุ สาหกรรม ในภมู ภิ าคออสเตรเลยี มีการดาํ เนินงานอาชีพอุตสาหกรรมการเกษตร เปน สวนใหญ ไดแก การผลิตสิ่งทอ น้ําตาล นม เนย อาหารกระปอง ดานอุตสาหกรรมอื่น มีการ ผลติ เครอ่ื งใชไฟฟา การตอเรือ สวนใหญภาคอุตสาหกรรมจะประกอบการในแถบตะวันออกเฉียงใต ของภูมิภาคออสเตรเลีย ภมู ภิ าคแอฟรกิ า การประกอบอาชีพของภมู ิภาคแอฟริกามลี ักษณะการประกอบอาชีพ ดังน้ี การปลูกพืช ภูมภิ าคแอฟริกาสว นใหญ เปน ทะเลทราย ดินขาดความอุดมสมบูรณ ประชากรจะปลูกพืชไดเฉพาะบริเวณทร่ี าบดินตะกอนของปากแมนํ้าสายตาง ๆ ทําใหผลผลิตท่ีได ไมเพยี งพอตอการบรโิ ภคของประชาชนในภมู ภิ าค ทง้ั น้ี แหลงปลูกพืช เลี้ยงสัตว และอุตสาหกรรม ท่สี าํ คญั ของภมู ิภาคแอฟรกิ า ไดแ ก แหลงปลูกพืชเมืองรอนในเขตรอนชื้น บริเวณลุมน้ําคองโก ชายฝงแอฟริกา ตะวันออก และตะวันตก มีการปลูกโกโกมากที่สุด นอกจากนั้น มีการปลูกปาลมนํ้ามัน กาแฟ ถั่วลิสง ออย ยางพารา เผือก และมัน ลุมแมน า้ํ ไนล เปนพ้ืนทอ่ี ากาศรอ นแหง แลง สวนใหญปลูก ฝาย ชา อินทผาลัม ขาวฟา ง เขตเมดเิ ตอรเ รเนียน บริเวณดา นเหนือสุดและดา นใตสุดของภมู ภิ าค มีการปลูก สม องนุ มะกอก และขา วสาลี เขตอบอุนชนื้ บริเวณดานตะวนั ออกเฉียงเใตข องภูมภิ าค มกี ารปลูกผลไม ขาวสาลี ขา วโพด การเล้ียงสตั ว ในภูมภิ าคแอฟรกิ า มกี ารเลย้ี งสตั วแ ละการลา สตั วป า ดังน้ี โคเขายาว เล้ียงไวเ พ่ือใชแรงงาน ใชเ นอื้ เปนอาหาร และเปนการแสดงฐานะ ทางสังคม สว นใหญจะเลยี้ งในเขตภาคตะวนั ออกและภาคใตของภูมภิ าค โคเนื้อ และโคนมพนั ธตุ างปะเทศ นยิ มเลี้ยงในเขตท่ีมภี ูมอิ ากาศอบอนุ ชืน้ แพะ แกะ เปนการเลย้ี งแบบเรร อน ในเขตทะเลทราย อฐู เล้ียงไวเ พื่อใชเปนพาหนะและอาหาร นยิ มเลีย้ งในเขตทะเลทราย การลาสัตวปาโดยชนพ้ืนเมือง สัตวปาที่เปนท่ีนิยมในการลาเพื่อนํามา จาํ หนาย ไดแก งาชาง และนอแรด

42 เหมืองแร ภูมิภาคแอฟริกา เปนภูมิภาคที่มีแหลงแรเปนจํานวนมาก โดยเฉพาะ เพชร มีปริมาณมากกวาทกุ ภมู ิภาค โดยแรธ าตุที่สาํ คญั อืน่ ไดแ ก ถา นหนิ มีมากทีส่ าธารณรฐั แอฟรกิ าใต น้ํามันปโตรเลียม มีมากท่ีทะเลทรายสะฮารา ประเทศแอฟริกาเหนือ ลเิ บีย แอลจีเรีย อยี ปิ ต ไนจเี รีย กาซธรรมชาติ มีมากในท่ีลุมของแอฟริกาเนือ และแอฟริกาตะวันตก โดย ประเทศแอลจเี รยี มปี ริมาณกาซธรรมชาติ มากท่ีสดุ แหงหนึ่งของโลก ทองคาํ มีมากทส่ี าธารณรฐั แอฟรกิ าใต ทองแดง มมี ากท่ีประเทศซาอรี  อุตสาหกรรม ในภูมิภาคแอฟริกา มีการดําเนินงานอาชีพดานอุตสาหกรรม โดย เฉพาะทสี่ าธารณรัฐแอฟริกาใต เรอื่ งที่ 5 การพฒั นากระบวนการจัดการงานอาชพี ในชมุ ชน สังคม ประเทศ และภมู ภิ าค 5 ทวปี ไดแ ก ทวปี เอเชยี ทวปี ออสเตรเลยี ทวปี อเมริกา ทวปี ยโุ รป และทวปี แอฟรกิ า 1. การจดั การการผลิต กระบวนการของการจัดการการผลติ มีความสําคัญ จําเปน ตองมีข้ันตอนท่ีกําหนดไวกอนหลังอยางชัดเจน เพื่อให ผูดําเนินการสามารถปฏิบัติตามไดอยางถูกตอง กระบวนการผลิต จําเปนตองมีความเขาใจและ สามารถจัดระบบการบริหารจัดการ ไดอ ยางมปี ระสทิ ธภิ าพ เพราะเปนการกาํ หนดแนวทางการส่ือสาร การประกนั คณุ ภาพ การประเมิน การควบคมุ การติดตามตรวจสอบ การดําเนินงาน การแกปญหา เปน เครื่องมอื ในการสรางนวตั กรรม รวมถึงการพยากรณส ่งิ ที่จะเกดิ ข้ึน

กระบวนการของการจดั การ เปนการนําทรพั ยากรมาเปน ผลผลติ ดงั นี้ 43 ปจ จยั นาํ เขา กระบวนการ ปจจัยนาํ ออก Inputs Process Outputs ทรัพยากรการจดั การ หนาทก่ี ารจดั การ ผลลัพธ 1. คน 1. การวางแผน 1. สินคา 2. เงนิ 2. การจัดองคกร 2. บรกิ าร 3. วสั ดุอุปกรณ 3. การจัดคนเขาทํางาน 4. วิธกี าร 4. การอํานวยการ 5. การควบคมุ จากแผนภาพขางตน ปจจัยนําเขา ไดแก คน เงิน วัสดุอุปกรณ และวิธีการ ถูกนําเขาสู กระบวนการของการแปรรูปทรัพยากร โดยหนาที่การจัดการ 5 ประการ คือ การวางแผน การจัด องคกร การจัดคนเขาทํางาน การอํานวยการ และการควบคุม เม่ือผานกระบวนการแปรรูปแลว ผลลัพธที่ไดจะเปนปจจยั นาํ ออก ไดแ ก สนิ คา ตาง ๆ หรอื อาจอยูใ นรปู ของการบรกิ าร กระบวนการของการจัดการการผลิต เปนการวิเคราะห ลักษณะ ขอบขายท่ีเกี่ยวของกับ การจัดการการผลิต ไดแก การวางแผน การจัดทําโครงการ การใชวัสดุอุปกรณ การใชแรงงาน การใชสถานที่ และการใชท นุ แนวคิดสาํ คญั การวางแผนงานเปนกิจกรรมเบ้อื งตนของการปฏิบัติงานใหผูปฏิบัติงานทราบถึงแนวทาง วาตอ งทาํ อะไร ท่ีไหน เม่ือใด อยางไร โดยมีกระบวนการของการวางแผนเพ่ือใหไดแผนงานที่ดี สามารถปฏิบัติใหสําเร็จไดตามวัตถุประสงคที่กําหนด การวางแผนงานท่ีดีจะเปนเครื่องมือของ ฝา ยปฏิบัติการทจี่ ะชว ยใหการดาํ เนินการมคี วามชดั เจน ราบร่ืน และประหยดั ทรพั ยากร การดําเนินกิจกรรมใดก็ตาม สิ่งที่ตองมีอันดับแรกน้ันก็คือ วัตถุประสงคหรือเปาหมาย การประกอบธรุ กจิ กเ็ ชน กนั จะตอ งกาํ หนดวตั ถุประสงคห รอื เปาหมายใหช ัดเจน การวางแผนจะเปน การกําหนดแนวทางของการดําเนินกิจกรรมวาจะทําอะไร เมื่อใด อยางไร โดยใชทรัพยากรตาง ๆ เพอ่ื ใหเกดิ ความสาํ เรจ็ ตามวตั ถุประสงคท ต่ี อ งการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook