Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ปกโครงงานวิทยาศาสตร์ด้านสิ่งแวดล้อม ทุ่ง

ปกโครงงานวิทยาศาสตร์ด้านสิ่งแวดล้อม ทุ่ง

Published by bool602-, 2022-11-03 05:51:26

Description: ปกโครงงานวิทยาศาสตร์ด้านสิ่งแวดล้อม ทุ่ง

Search

Read the Text Version

1 บทที่ ๑ บทนา ๑.๑ ทม่ี าและความสาคัญของโครงงาน การเพิ่มข้ึนอย่างรวดเร็วของประชากร ก่อให้เกิดปัญหาส่ิงแวดล้อมตามมาหลายด้าน ปัญหา ขยะมูลฝอย ก็เป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมท่ีสาคัญอย่างหนึ่ง ท่ียังต้องการการแก้ไข และเป็นปัญหาท่ีมีผลกระทบ อยา่ งมากท้ังต่อสภาพภูมิทัศน์ของบ้านเมืองและต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน ปัญหาสิ่งแวดล้อมท่ีเกิดข้ึน ในปัจจุบัน เป็นผลมาจากปริมาณขยะท่ีเพิ่มมากขึ้นจากการอุปโภค บริโภคในชีวิตประจาวัน เป็นความนิยม ในการใช้ขวดพลาสติกในการบรรจุอาหารและเครื่องด่ืมมีเป็นจานวนมาก เน่ืองจากสะดวกในการใช้งาน หาง่ายและมีราคาถูก ผลิตภัณฑ์เหล่าน้ีจะทาให้เกิดขยะมูลฝอยพลาสติก ซ่ึงเป็นสาเหตุประการหน่ึง ที่ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมได้ ชุมชน และสถานศึกษาของเราน้ันก็เกิดปัญหานี้เช่นกันโดยเฉพาะปัญหา ขยะประเภทขวดน้าพลาสติกจานวนมากทาให้ ชุมชน สถานศึกษา เกิดปัญหาขยะขึ้น ทาให้สถานที่บริเวณนั้น ไม่นา่ อยมู่ ีแตข่ ยะทาให้เกดิ ผลเสียตา่ งตามมา คณะผู้จดั ทา ไดเ้ ล็งเห็นความสาคัญของการแก้ปัญหาดังกล่าว จึงได้คิดวิธีแก้ไขปัญหาโดยการนาขวด น้าพลาสตกิ มาสร้างเปน็ ถังขยะ เพ่อื ลดปญั หาขยะประเภทขวดน้าพลาสติกและขยะมูลฝอยประเภทต่างๆ และ ยังชว่ ยลดปญั หาภาวะโลกร้อน และยงั เป็นการนาเอาของทเี่ หลอื ใช้มาทาใหม้ ีคา่ ให้เกดิ ประโยชน์ ๑.๒ วตั ถุประสงคข์ องการศึกษา ๑. เพ่ือใหน้ ักศกึ ษา มีความรู้ ความเข้าใจ เกย่ี วกบั การแกป้ ัญหาขยะ มีความคิดสร้างสรรค์ และ สามารถประดิษฐ์ชนิ้ งานจากขยะประเภทขวดพลาสตกิ ได้ ๒. เพื่อลดปริมาณขยะประเภทขวดพลาสติกในสถานศกึ ษา ๓. เพอื่ ลดโลกร้อน ๑.๓ สมมตฐิ านการศกึ ษา ๑. ขวดพลาสตกิ ทไี่ ม่ใช้แล้ว สามารถนามาประดิษฐด์ ัดแปลง ให้เป็นของใช้ที่มีประโยชน์ได้ ๒. สามารถนาขยะมาเพ่ิมมูลคา่ ได้ ๑.๔ ตัวแปร ๑. ตวั แปรตน้ : ถังขยะ ๒. ตวั แปรตาม : การใชง้ าน

2 ๑.๕ ขอบข่ายการศกึ ษา ๑. ขอบเขตดา้ นเน้ือหา : การใชป้ ระโยชน์จากขยะมูลฝอยในสถานศึกษา ๒. ขอบเขตด้านเวลา : วันที่ ๓๐ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๕ ถึง วนั ท่ี ๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ ๓. ขอบเขตดา้ นพื้นที่ : กศน.อาเภอทุ่งเขาหลวง อาเภอทุ่งเขาหลวง จงั หวดั รอ้ ยเอด็ ๑.๖ ประโยชนท์ ีค่ าดว่าจะไดร้ ับ ๑. ไดล้ ดปัญหาขยะประเภทขวดน้าพลาสติกในสถานศึกษา ๒. นักศึกษาไดฝ้ กึ การมคี วามคิดสร้างสรรค์ ฝกึ สมาธิ และการทางานเปน็ ทีม ๓. ไดช้ น้ิ งานถังขยะเพ่ือนามาใช้ประโยชน์ในสถานศกึ ษา ๑.๗ นยิ ามศพั ท์ ๑. พลาสติก หมายถงึ สารประกอบอนิ ทรยี ท์ ่ีสังเคราะหข์ ึน้ เพอื่ ใช้แทนวสั ดธุ รรมชาตซิ งึ่ ประกอบด้วย สารคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซเิ จน นอกจากนี้อาจมธี าตอุ ืน่ ๆเชน่ สว่ นประกอบยอ่ ย ซง่ึ ได้แก่ ไนโตรเจน , ฟลอู อรีน,คลอรนี และกามะถัน ๒. ขวดนา้ พลาสติก หมายถงึ ขวดน้าพลาสติกอาจจะมีสใี สหรือขนุ่ ก็ไดใ้ ช้บรรจุผลติ ภัณฑ์สาหรบั อุปโภคหรอื บรโิ ภค ๓. การใชป้ ระโยชนจ์ ากขยะมูลฝอย หมายถงึ การนาขยะมูลฝอยชนิดต่างๆไปใช้ประโยชน์ใน รปู แบบ ต่างๆ

3 บทท่ี ๒ เอกสาร/ทฤษฎ/ี หลักการที่เกย่ี วขอ้ ง ในการจดั ทา โครงงานน้ันได้นาทฤษฎขี องการทางาน และมีอปุ กรณ์ในการทางานมาโดยสามารถ หาได้ตามทั่วไป และเปน็ การนาขวดพลาสตกิ ทีเ่ หลือใช้มาทาการสร้างสรรคง์ านท่ีมีประโยชน์ โครงงานวิทยาศาสตรด์ า้ นส่งิ แวดลอ้ ม ประเภท นวตั กรรมจากขยะ จากขวดพลาสติก ศึกษาเอกสารที่เก่ยี วข้อง ดงั นี้ ๑. การประดษิ ฐ์ ๒. พลาสตกิ ๓. ขวดพลาสติก ๔. การใชป้ ระโยชน์จากขยะมลู ฝอย ๑. การประดิษฐ์ หมายถึง งานที่เกิดจากการใช้ความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์สร้างหรือประดิษฐ์ขึ้นตามวัตถุประสงค์ ทห่ี ลากหลาย หรอื เพ่ือความสวยงาม หรือประดับตกแตง่ หรือเพอ่ื ประโยชน์ใชส้ อย ความเปน็ มาของงานประดิษฐ์ สิง่ ประดิษฐ์เกิดข้ึนเพราะมนุษย์เปน็ ผูส้ ร้างผูพ้ ัฒนา ปรับปรงุ และ เปลย่ี นแปลงแบบผลงานดว้ ยความคดิ สรา้ งสรรค์ท่ีมีอยู่ในแตล่ ะบุคคล มีวตั ถุประสงค์เพ่ือตอบสนองความ ต้องการดา้ นประโยชนใ์ ชส้ อย งานประดิษฐม์ ีความสัมพันธแ์ ละเก่ยี วข้องกบั ชีวิตประจาวันของคนไทยต้งั แต่ สมัยโบราณ เกยี่ วข้องกับขนบธรรมเนยี ม และประเพณีทางศาสนา หลักการสร้างสรรคง์ านประดษิ ฐ์ใหป้ ระสบ ผลสาเร็จน้นั ผเู้ รยี นตอ้ งมคี วามพึงพอใจในการทางาน โดยยึดหลกั การดงั น้ี ๑. หมน่ั ศกึ ษาหาความรู้ในงานที่ตนเองสนใจ โดยศกึ ษาจากผู้เชี่ยวชาญในชมุ ชน ศึกษาจากตารา จากเว็บไซตต์ ่างๆ และสื่อทางอนิ เตอรเ์ น็ต ๒. ศกึ ษาหลักการ วธิ กี าร หรือขน้ั ตอนการปฏิบัติงาน ในการประดิษฐช์ ิ้นงาน โดยการวเิ คราะห์ ด้วย ตนเอง หรอื ศกึ ษาจากผรู้ ู้ ผ้เู ชี่ยวชาญ หรอื จากสอ่ื ตา่ ง ๆ เชน่ วารสาร หนงั สอื เวบ็ ไซต์ และยูทูบ เป็นต้น ๓. ทดลองการปฏิบัตกิ ารประดษิ ฐ์ ผเู้ รียนต้องศึกษาคน้ ควา้ และทดลองปฏิบัติตามแนวคิดท่ไี ด้ สรา้ งสรรค์ไว้ และมีการปรบั ปรุงแกไ้ ข ข้อบกพร่องจนสาเร็จเป็นชิน้ งานประดษิ ฐ์ท่ีพึงพอใจ ๒. พลาสติก พลาสติก เป็นสารประกอบอินทรีย์ท่ีสังเคราะห์ขึ้นใช้แทนวัสดุธรรมชาติ บางชนิดเมื่อเย็นลงก็จะ แข็งตัว เม่ือถูกความร้อนก็อ่อนตัว บางชนิดแข็งตัวถาวร มีหลายชนิด เช่น ไนลอน ยางเทียม ใช้ทาสิ่ง ต่าง ๆ เช่น เส้ือผ้า ฟลิ ม์ ภาชนะ ส่วนประกอบเรือ หรอื รถยนต์

4 ๒.๑ วตั ถุดบิ จากธรรมชาตทิ ี่สาคัญที่ใชส้ าหรับการผลติ พลาสติก วัตถุดิบจากธรรมชาติที่สาคัญท่ีใช้สาหรับการผลิตพลาสติกคือ ผลิตภัณฑ์ท่ีได้จากปิโตรเลียม กา๊ ซธรรมชาติ ถ่านหินแรธ่ าตตุ า่ ง ๆ เป็นส่วนใหญ่ นอกจากน้ีอาจผลิตจากน้ามันพืช และส่วนต่าง ๆ ของพืช ได้เช่นกัน ๑) ปิโตรเลยี ม เป็นแหล่งวัตถดุ ิบท่ีสาคญั ทสี่ ุดสาหรบั อุตสาหกรรมพลาสติกแทบทุกชนิด ประเทศไทย มแี หล่งผลติ ปโิ ตรเลยี มหลายแหง่ แต่ไม่มกี ารนามาทาประโยชนใ์ นดา้ นผลิตภัณฑ์พลาสติก มีเพียงการนามาใช้ เป็นเช้ือเพลิงเท่าน้ัน ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นน้ามันปิโตรเลียม และสามารถนามาใช้ในอุตสาหกรรมการ ผลิตพลาสติกท่ีสาคัญ ได้แก่ สารในกลุ่มโอเลฟิน (Olefins) เช่น มีเทน อีเทน โพรเพน บิวเทนและเพนเทน และสารในกลุ่มอะโรแมติก (Aromatics) เช่น เบนซีน และอนุพนธ์ของเบนซีน สารท้ัง ๒ กลุ่มสามารถนามา ผลติ มอนอเมอรไ์ ด้มากมายหลายชนดิ ๒) ก๊าซธรรมชาติ กา๊ ซธรรมชาติท่ีพบในประเทศไทยมีส่วนประกอบเป็นสารไฮโดรคาร์บอน ที่สาคัญ คือ มีเทน อีเทน โพรเพน และบิวเทนเป็นส่วนใหญ่ สารไฮโดรคาร์บอนเหล่านี้ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตเอ ทิลนี มอนอเมอรแ์ ละโพรไพลีนมอนอเมอร์ ซง่ึ เป็นสารเร่ิมตน้ สาหรับการผลิตพลาสตกิ หลายชนดิ ๓) ถา่ นหนิ และลกิ ไนต์ ประเทศไทยมแี หล่งลกิ ไนตส์ าคัญ ๒ แห่งคือ ทแ่ี มเ่ มาะ จังหวัดลาปาง และ ทจี่ ังหวัดกระบ่ี ประโยชน์ของลิกไนตน์ อกจากใช้เป็นเชื้อเพลิงสาหรับการผลิตกระแสไฟฟ้าแล้ว ยังใช้ผลิตเบน ซนี และอนพุ ันธข์ องเบนซนี เชน่ สไตรนี มอนอเมอร์ ได้ดว้ ย ๔) พืชและนา้ มันพืช วัตถุดบิ ท่ใี ช้ในการผลิตพลาสติกบางชนิด ได้แก่ ส่วนต่าง ๆ ของพืชและน้ามัน พืช เชน่ เซลลูโลส เชลแลก็ และกรดไขมันต่าง ๆ ๕) แร่ธาตุต่าง ๆ สินแร่บางชนิด เช่น ถ่านโค้ก และหินปูน เป็นวัตถุดิบที่ใช้ผลิตแคลเซียมคาร์ไบด์ ซ่ึงใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตอะเซทิลีน นอกจากน้ี คลอรีนท่ีผลิตได้จากน้าทะเล ตลอดจนแร่ใยหินได้นามาใช้ สาหรบั ผลิตพลาสตกิ เสริมแรง วัตถุดิบที่ใช้เป็นสารเริ่มต้นสาหรับการผลิตพลาสติกท่ีได้จากแหล่งต่าง ๆ นั้นจะมีลักษณะเป็นสาร ไฮโดรคารบ์ อนโมเลกลุ เด่ยี ว เรียกว่า มอนอเมอร์ ทสี่ าคัญ ไดแ้ ก่ เอทลิ นี ไวนิลคลอไรด์ ไวนิลฟลูออไรด์ โพรไพ ลีน บวิ ทาไดอีน เบนซนี ไซลีน ฟีนอล ยูเรีย และฟอรม์ าลตีไฮด์ ๒.๒ ชนดิ และประโยชน์ใช้สอยของพลาสตกิ รีไซเคลิ ชนิดของพลาสติกรไี ซเคิลมีทง้ั หมด ๗ ประเภท ดงั นี้ ๑) พลาสติกหมายเลข ๑ มีชื่อว่า พอลิเอทธลิ นี เทเรฟธาเลท (Polyethylne Terephthalate) หรือที่ รจู้ ักกันดวี ่า เพ็ท (PET หรือ PETE) เป็นพลาสติกใส แข็ง ทนแรงกระแทกดี ไม่เปราะแตกง่าย และกันแก๊สซึม ผ่านดี ใช้ทาขวดบรรจุน้าด่ืม ขวดน้ามันพืช เป็นต้น สามารถนามารีไซเคิลเป็นเส้นใย สาหรับทาเส้ือกันหนาว พรม และใยสงั เคราะห์สาหรบั ยดั หมอน เปน็ ตน้

5 ๒) พลาสตกิ หมายเลข ๒ มีชอ่ื ว่า พอลิเอธลิ นี ความหนาแน่นสูง (High Density Polyethylene) หรือทเ่ี รยี กแบบยอ่ ว่า เอชดีพีอี (HDPE)เปน็ พลาสติกท่ีเหนียวและแตกยาก ค่อนข้างแข็งแต่ยืดได้มาก ทนทาน ต่อสารเคมีและสามารถข้ึนรูปทรงต่าง ๆ ได้ง่าย ใช้ทาขวดนม ขวดน้าและบรรจุภัณฑ์สาหรับน้ายาทาความ สะอาด ยาสระผม เปน็ ต้น สามารถนามารไี ซเคิลเปน็ ขวดน้ามนั เครื่อง ท่อ ลงั พลาสติก ไม้เทยี ม เปน็ ต้น ๓) พลาสติกหมายเลข ๓ มีช่ือว่า พอลิไวนิลคลอไรด์ (Polyvinylchloride) หรือท่ีรู้จักกันดีว่า พีวีซี (PVC) ใชท้ าท่อนา้ ประปา สายยางใสแผ่นฟิล์มสาหรับห่ออาหาร แผ่นพลาสติกสาหรับทาประตู หน้าต่าง และ หนังเทียม เป็นต้น สามารถนามารีไซเคิลเป็นท่อน้าประปาหรือรางน้าสาหรับการเกษตร กรวยจราจร เฟอร์นเิ จอร์ มา้ น่ังพลาสติก ตลับเทป เคเบิล แผน่ ไม้เทียม เปน็ ต้น ๔) พลาสตกิ หมายเลข ๔ มชี ่อื วา่ พอลิเอทิลีนความหนาแนน่ ตา่ (Low Density Polyethylene) สามารถเรียกแบบย่อว่า แอลดีพีอี(LDPE) เป็นพลาสติกท่ีมีความนิ่ม เหนียว ยืดตัวได้มาก ใส ทนทาน แต่ไม่ ค่อยทนต่อความรอ้ น ใช้ทาฟิลม์ หอ่ อาหารและห่อของ ถุงใส่ขนมปัง ถุงเย็นสาหรับบรรจุอาหาร สามารถนามา รไี ซเคลิ เปน็ ถุงดาสาหรบั ใส่ขยะ ถงุ หูห้ิว ถังขยะ กระเบือ้ งปพู ืน้ เฟอรน์ ิเจอร์ แท่งไม้เทยี ม เปน็ ต้น ๕) พลาสติกหมายเลข ๕ มีชอ่ื ว่า พอลโิ พรพลิ ีน (Polypropylene) เรยี กโดยย่อว่า พีพี (PP) เป็นพลาสติกท่ีมีความ ใส ทนทานต่อความร้อน คงรูป เหนียว และทนแรงกระแทกได้ดี นอกจากน้ียังทนต่อ สารเคมีและน้ามัน ใช้ทาภาชนะบรรจุอาหาร เช่น กล่อง ชาม จาน ถัง ตะกร้ากระบอกใส่น้าแช่เย็น ขวดซอส แก้วโยเกิรต์ ขวดบรรจุยา สามารถนามารไี ซเคลิ เป็นกล่องแบตเตอร่ีในรถยนต์ ช้ินส่วนรถยนต์ เช่น กันชนและ กรวยสาหรบั นา้ มนั ไฟท้าย ไมก้ วาดพลาสติก แปรง เปน็ ตน้ ๖) พลาสติกเลข ๖ มีชือ่ ว่า พอลิสไตรีน (Polystyrene) หรือท่เี รียกโดยยอ่ วา่ พเี อส (PS) เป็นพลาสติกที่มีความใส แต่เปราะและแตกง่ายใช้ทาภาชนะบรรจุของใช้ต่างๆ หรือโฟมใส่อาหาร เป็นต้น สามารถนามารไี ซเคิลเปน็ ไม้แขวนเสื้อ กล่องวดิ โี อ ไม้บรรทัด กระเปาะเทอร์โมมิเตอร์ แผงสวิตช์ไฟ ฉนวน ความร้อน ถาดใสไ่ ข่ เคร่อื งมือเครอ่ื งใช้ตา่ ง ๆ ได้ ๗) พลาสติกเลข ๗ น้ันมิได้มีการระบุชื่อจาเพาะ แต่ไม่ใช่พลาสติกชนิดใดชนิดหน่ึงใน ๖ ที่ได้กล่าว ไปในขา้ งต้น แตเ่ ปน็ พลาสติกทน่ี ามาหลอมใหม่ได้ ๒.๓ พลาสตกิ ท่ีมีวตั ถปุ ระสงคพ์ เิ ศษ Polymethyl methacrylate (PMMA) ใช้ทาคอนแทคเลนส์ แผน่ กระจกอาคาร (glazing) (ในช่ือทาง การค้าเชน่ Perspex, Oroglas, Plexiglass) สว่ นประกอบของไฟฟลูออเรสเซนส์ สว่ นปดิ ไฟทา้ ยรถยนต์ Polytetrafluoroethylene (PTFE) (ภายใต้ช่ือการค้า Teflon) ใช้เป็นวัสดุเคลือบที่ทนความร้อน และแรงเสยี ดทานต่า เช่น เคลือบกระทะ สไลเดอร์ เทปพนั ทอ่ ประปา Polyethyretherketone (PEEK) (Polyketone) เป็นพลาสติกที่แพงที่สุดชนิดหนึ่ง เป็น thermoplastic ทค่ี งทน ทนความรอ้ นและสารเคมี ใชท้ าวสั ดุทางการแพทยต์ ่าง ๆ

6 ทั้งนี้ในการเลือกใช้ภาชนะพลาสติกสาหรับการบรรจุ หรือเก็บอาหาร ควรหลีกเล่ียงพลาสติกที่มี สัญลักษณ์ #3-PVC #6-PS หรือ #7-Polycarbonate และสามารถใช้พลาสติกที่มีสัญลักษณ์ เหลา่ นี้ ไดแ้ ก่ #1-PET#2-HDPE #4-LDPE และ #5-PP ๓. ขวดนา้ พลาสติก ๓.๑ ประเภทของขวดน้าพลาสตกิ สุนทร ตรีนันทวัน (๒๕๕๔ :เว็บไซต์)กล่าวไว้ว่าชนิดของขวดพลาสติกที่ใช้ท้าเก้าอ้ีขวดคือ พอลิเอทิลีน, Low-density Polyethylene พอลิเอทิลีนผลิตจากแก๊สเอทิลีนท่ีผ่านกระบวนการเติมสารที่ทา ให้สามารถ จับตัวกันเป็นพอลิเมอร์ได้ภายใต้แรงดันขนาดต่างๆ ท้าให้ได้พอลิเมอร์ท่ีมีขนาดต้ังแต่น้าหนัก โมเลกลุ ตา่ (ลกั ษณะเป็นน้ามนั หรือไขข้น) ไปจนถึงขนาดโมเลกุลสงู (ลกั ษณะเปน็ ของแข็งที่ยืดหยุน่ ได้) คุณสมบัตทิ างกายภาพ - LDPE เป็นโพลีเอทิลีนความหนาแน่นต่า (0.910 – 0.940 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร) ที่ผลิตโดยใช้ แรงดันสูง จากกระบวนการ Free Radical Polymerization มีความเหนียวและยืดหยุ่นได้ดี ทนต่อการกรอบ แตก มีความน่ิม ความใสแต่ใสไม่เท่าพลาสติกชนิด PP (Polypropylene, สัญลักษณ์เลข ๕) โครงสร้างทางเคมี เป็นกิ่งสาขา (branching) มากกว่าโครงสร้างทางเคมีของ HDPE (High-density polyethylene, สัญลักษณ์ เลข ๒) จึงมีแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของพอลิเมอร์ต่ากว่า และมีความแข็งแรง ทนทานน้อยกว่า HDPE LDPE ทนความร้อนได้ไม่มากนัก แต่ทนสารเคมีได้ดี โดยทนความร้อน (ทนอุณหภูมิ สูงถึง 80°C และทนอุณหภูมิสูงถึง ๙๕°C ในช่วงส้ันๆ) แต่ไม่สามารถทนอุณหภูมิสูงในหม้ออัดไอน้า (Autoclave) เท่าพลาสติกชนิด PP และทน ต่อสารเคมีน้อยกว่า HDPE เริ่มหลอมตัวที่ ๑๒๐°C ทนความเย็น ไดถ้ ึง – 50°C ทนตอ่ สภาพอากาศไดด้ ี พอสมควร แตอ่ ากาศสามารถซมึ ผา่ นได้ - LDPE มีสีขาวขุ่น โปร่งแสง มีความล่ืนมันในตัว มีความเหนียวและยืดหยุ่นไม่มีกล่ินไม่มีรส มีความ หนาแน่นต่ากว่าน้าจึงลอยน้าได้ สามารถผสมให้มีสีต่าง ๆ ได้ ขวดท่ีนิยมใช้บรรจุน้าดื่มในปัจจุบัน ขวดทใ่ี ช้บรรจนุ า้ ด่ืมท่เี ราเหน็ กนั ทั่วไปในปัจจบุ นั นัน้ มี อยู่ ๔ ชนิด คือ ๑. ขวดแกว้ ใส ๒. ขวดพลาสตกิ ใสและแขง็ (Polystyrene - PS) มีลกั ษณะใสและค่อนข้างแข็ง ๓. ขวดพลาสติกเพท (Polyethylene terephthalate - PET ) มีลักษณะใส ๔. ขวดพลาสติกขาวขนุ่ (Hight – density Polyethylene – HDPE ) มลี กั ษณะกลมหรือ เปน็ เหลี่ยม มีลกั ษณะขาวขุ่น ขวดนา้ ดมื่ ๓ ชนดิ แรกใช้บรรจุนา้ ดืม่ ได้ดีกว่าขวดพลาสติกขาวขนุ่ เคยมกี ารทดลองน้าน้าดืม่ บรรจุขวดสี ขาวข่นุ ไปต้ังกลางแดดนาน ๆ จะมีกลิ่นของพลาสตกิ ปนออกมากบั น้าดม่ื ถงึ แม้จะไมเ่ ป็นอนั ตราย ตอ่ ผบู้ ริโภค แต่กท็ า้ ใหค้ ณุ ภาพของนา้ ลดลง และขวดใสยงั มีความใสท้าใหเ้ รามองเหน็ ลักษณะของนา้ ดมื่ ภายใน ได้ชัดเจน

7 ขวดพลาสติกตา่ ง ๆ ดังที่กลา่ วมานั้น ปกตแิ ลว้ มีวตั ถปุ ระสงค์ในการใช้งานเพียงคร้งั เดยี ว แต่ อย่างไรก็ตามก็สามารถน้ามาใช้ได้อีก แต่ต้องล้างให้สะอาดทุกคร้ัง และท้ิงไว้ให้แห้งสนิทก่อนท่ีจะน้ามาใช้ บรรจุน้าใหม่ทุกคร้งั เพือ่ ป้องกันเช้ือจลุ ินทรียห์ รอื เชือ้ โรคทีต่ กลงไปในขวด และถ้าหากว่าใช้ไปนาน ๆ หลาย ๆ ครัง้ ต้องหมนั่ สังเกตการเปล่ียนแปลงของขวดหรือพลาสติก เช่น สีเร่ิมเปล่ียนไปจากใสเป็นขุ่นมัวมากข้ึน ขวด มีรอยขดู ขดี เนื้อพลาสติกเปราะ แตก ก็ไมค่ วรจะนา้ กลบั มาใช้อีกเพราะว่าพลาสติกที่ใช้ท้าขวด นั้นเริ่มเปลี่ยน เสยี สภาพแล้ว ๓.๒ ภัยจากพลาสตกิ ผลกระทบ อรรถพล ประสงค์หิรัญ (2555 :เว็บไซต์) กล่าวไว้วา่ ขวดพลาสตกิ เมือ่ ใชแ้ ล้ว คงไมต่ ้องสงสยั ขวด พลาสติกเหล่าน้ีเม่ือใช้มักจะถูกทอดทิ้ง ตามบริเวณต่างๆ อาทิ เช่น ถังขยะ ใต้ต้นไม้ หรือแม้แต่ใน บริเวณ ชายหาดหรือแม่น้าล้าคลอง หรือสะดวกท่ีไหนก็ท้ิงที่น่ัน ตามแต่ความมักง่ายของแต่ละคน จนท้าให้ เกิดเปน็ ผลกระทบต่อมนษุ ย์ สงิ่ แวดล้อม และระบบนเิ วศต่างๆ ผลกระทบทเี่ กดิ ขึ้นมดี ังนี้ ๑. ท้าให้เกิดขยะเป็นจ้านวนมาก ๒. ขบวนการผลิตและขบวนการท้าลายขวดพลาสตกิ กอ่ ให้เกิดก๊าซพิษ ทสี่ ง่ ผลตอ่ มนษุ ย์และ ส่งผลต่อ สงิ่ แวดลอ้ ม โดยเฉพาะเปน็ สาเหตหุ นง่ึ ท่ีท้าให้ เกิดภาวะโลกร้อน!! ๓. พลาสตกิ ไมส่ ามารถย่อยสลายไปได้เองตามธรรมชาตแิ ละใช้ระยะเวลาในการย่อยสลาย นาน ๔. การทงิ้ ขวดพลาสติกไม่ถูกทอ่ี าจส่งผลเสยี ต่อส่ิงมีชีวิตในระบบนิเวศนน้ั ๆ เชน่ นก ปลา สตั ว์ป่าตา่ งๆ ๕. ในการท้ิงขวดพลาสติกไมถ่ ูกทจ่ี ะทา้ ใหภ้ าพลักษณใ์ นบริเวณนัน้ ไม่สวยงาม ๔. การใช้ประโยชน์จากขยะมลู ฝอย การแปรสภาพและการใชป้ ระโยชนจ์ ากขยะมลู ฝอย การนาวัสดเุ หลือใชจ้ ากขยะมลู ฝอยกลับมาใช้ใหเ้ ป็นประโยชน์ จะช่วยลดปริมาณขยะมูลฝอยท่ีจะต้อง กาจัด ในขณะเดียวกันก็เปน็ การสงวนทรัพยากรธรรมชาตไิ ว้ได้อีกสว่ นหนึ่ง ดว้ ยการใช้ประโยชน์จากสิ่งเหลือใช้ อาจใชว้ ิธีหมุนเวียนวัสดุ หรือแปรสภาพขยะมูลฝอยใหเ้ ป็นพลังงาน ๑. การแปรสภาพขยะมลู ฝอยเปน็ พลงั งาน เราอาจแปรสภาพขยะมูลฝอยเปน็ พลงั งานได้ ดงั นี้คือ พลงั งานความรอ้ น ไดจ้ ากการนาเอาขยะมูลฝอยส่วนที่เผาไหมไ้ ด้ มาเป็นเชือ้ เพลิงสาหรับทาไอน้าร้อน แลว้ ส่งไปให้ความอบอุ่นตามอาคารบา้ นเรือน เช่นที่ทาอยู่ในประเทศญีป่ ุ่น เป็นตน้

8 พลงั งานไฟฟา้ ไดจ้ ากการนาขยะมูลฝอยไปเป็นเชื้อเพลิง สาหรบั ผลิตไอน้า ไปหมุนเคร่ืองกาเนิดไฟฟ้า เพอ่ื ผลิตกระแสไฟฟ้า บริการแก่ประชาชน ตัวอยา่ งเช่น การแปรสภาพของการใช้ประโยชน์จากขยะมูลฝอยใน บางรัฐของประเทศสหรฐั อเมริกา ซงึ่ มขี ยะมูลฝอยจานวนมาก และเปน็ ชนิดทเ่ี ผาไหม้ไดเ้ ป็นสว่ นมาก ๒. การคัดแยกวัสดุเพือ่ นากลบั มาใช้ วัสดุหลายอย่างในขยะมูลฝอยที่อาจนากลับมาใช้ประโยชน์ได้อีก เช่น กระดาษ แก้ว ขวด พลาสติก เหล็กและโลหะอ่ืนๆ การคัดเลือกวัสดุต่างๆ ที่รวมอยู่ในขยะมูลฝอย เพ่ือนากลับไปใช้ให้เป็นประโยชน์ได้อีก นับได้ว่า มีการปฏิบัติกันมาช้านาน จะเห็นได้ว่า ตามกองขยะมูลฝอยทุกแห่ง มีบุคคลกลุ่มหน่ึงไปคอยคุ้ยเข่ีย เกบ็ วสั ดจุ ากกองขยะมลู ฝอยตลอดเวลา เพอื่ หารายได้ การเก็บวัสดุจากกองขยะมูลฝอยน้ัน อาจจะเกดิ ผลเสยี คือ ๑. ปญั หาเก่ียวกับสุขภาพ และความปลอดภัยของผู้แยกวัสดุจากกองขยะมูลฝอย ท่ีอาจเป็นอันตราย เนื่องมาจากความสกปรกของขยะมลู ฝอย ซึ่งมีได้ท้ังเช้ือโรค และสารพิษ รวมท้ังของมีคม วัตถุระเบิด และสาร กมั มนั ตรังสี เปน็ ตน้ ๒. ปัญหาจากการที่นาเอาวัสดุท่ีเก็บมาได้เอามากองรวมๆ กัน เพื่อรอจาหน่ายนั้น ทาให้เกิดกองขยะ ข้ึนมาอีกส่วนหนึ่ง ซ่ึงสกปรกรกรุงรัง เป็นที่อาศัยของสัตว์และแมลงนาโรค เป็นภาพท่ีน่ารังเกียจ ขาดความ เปน็ ระเบียบเรยี บร้อยของพื้นท่ี และบรเิ วณใกล้เคยี ง ๓. การนาขยะมูลฝอยไปถมที่ดิน เพ่ือปรับปรุงสภาพ ขยะมูลฝอยเกือบทุกชนิดสามารถนาไปใช้ สาหรับถมที่ดินท่ีเป็นหลุมเป็นบ่อ เช่น บ่อดินลูกรังที่น้าท่วม เหมืองร้าง ฯลฯ ทาให้ที่ดังกล่าวกลายเป็นพ้ืนที่ ราบเรียบ ใช้ประโยชน์ได้มากมายหลายประการ เช่น ทาสนามกีฬา สนามกอล์ฟ สวนสาธารณะ สถานที่ พักผอ่ นหย่อนใจ แม้กระท่งั สรา้ งเป็นอาคารท่ีทางาน หรือที่อยู่อาศัย ในต่างประเทศมีการใช้พื้นท่ีดินที่เกิดจาก การถมดว้ ยขยะมูลฝอย แบบการฝงั กลบ และสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้

9 บทท่ี ๓ อปุ กรณ์และวธิ ีการศึกษา ๓.๑ วสั ดุอปุ กรณ์ ๑. ขวดน้าพลาสตกิ ขนาด ๖๐๐ มิลลิลิตร จานวน ๑๑๒ ใบ ๒. ทอ่ PVC ความยาว ๖๖ เซนติเมตร จานวน ๔ ท่อน ความยาว ๔๘ เซนตเิ มตร จานวน ๗ ทอ่ น ความยาว ๔๑ เซนติเมตร จานวน ๑ ทอ่ น และความยาว ๑๕ เซนตเิ มตร จานวน ๔ ท่อน ๓. ขอ้ ต่อ จานวน ๖ อนั ๔. เลอื่ ยสาหรบั ตัดทอ่ PVC

๕. กาว 10 ๗. สายยาง ๖. ลวด ๘. ฟิวเจอรบ์ อรด์ และอปุ กรณ์ทาฝา ๓.๒ วิธกี ารศกึ ษา ๑. รวมกลุ่มและกาหนดหัวข้อในการทาโครงงาน ๒. ค้นควา้ เอกสารจากตารา และเวบ็ ไซตต์ ่างๆ ๓. ออกแบบถงั ขยะจากขวดพลาสติก ๔. จัดเตรียมวัสดอุ ุปกรณ์ในการดาเนนิ งาน ๕. ทาการทดลอง ๖. ปรับปรงุ แก้ไขช้ินงาน ๗. เขยี นรายงานพรอ้ มสรปุ ผล และอภิปรายผล

11 ๓.๓ ขั้นตอนการทา ๑. ตัดทอ่ PVC ความยาว ๖๖ เซนติเมตร จานวน ๔ ท่อน เพอ่ื เป็นเสาข้าง ๔ ตน้ ๒. ตัดท่อ PVC ความยาว ๔๘ เซนตเิ มตร จานวน ๗ ทอ่ น เพ่ือเป็นฐานบน-ลา่ ง ๓. ตัดท่อ PVC ความยาว ๔๑ เซนตเิ มตร จานวน ๑ ทอ่ น เพอ่ื เป็นคานกลางด้านล่าง ๔. ตดั ทอ่ PVC ความยาว ๑๕ เซนตเิ มตร จานวน ๔ ท่อน เพ่ือเปน็ เสา ขอ้ ท่ี ๑ ขอ้ ที่ ๒ ข้อท่ี ๓ ขอ้ ท่ี ๔

12 ๕. ทาการประกอบสว่ นฐานรองถงั ขยะ ๖. ทาการประกอบโครงเสาและส่วนบนของถงั ขยะจะได้สว่ นของถงั ขยะทั้งช้นิ ๗. ทาฝาถังแบบเหยยี บเปดิ โดยการนาท่อ PVC ท่อเลก็ มาประกอบทาฝาถัง ใช้ข้องอและสามทางใน การเชื่อมต่อ

13 ๘. การทาท่ยี ึดปากถงุ ใส่ขยะแบบยืดหยนุ่ เปดิ -ปิดเองได้ เพ่ือช่วยในการอานวยความสะดวกในการทิง้ ขยะและช่วยลดปญั หาการส่งกลนิ่ เห็นของขยะ ทาไดโ้ ดยการเจาะรูขอบด้านบนของถังขยะเพื่อทาสายรดู ปิด ปากถุง ใชเ้ ชือกในการดงึ ยางเพ่อื ปดิ -เปิดปากถงุ ๙. การทาฝาข้างถังขยะจากขวดนา้ พลาสตกิ โดยการเจาะรูท่ีขวดนา้ ใชล้ วดร้อยขวดเรียงใหเ้ ท่ากัน เปน็ ดา้ นๆ แลว้ นามาประกอบเข้ากบั ตัวถังขยะ ๑๐. การทาฝาบนปิด-เปิดถงั ขยะ เพื่อลดปัญหาการสง่ กล่ินเห็นของขยะและป้องกนั การตอมของ แมลง โดยการใช้ฟวิ เจอรบ์ อร์ด ตดิ กับโครงบนของถังขยะ และตกแตง่ ให้สวยงาม จะได้ชิน้ งานเปน็ ถังขยะที่ พร้อมใชง้ าน

14 บทท่ี ๔ ผลการศกึ ษา ๔.๑ ผลการดาเนินงาน การประดิษฐ์ถังขยะจากขวดพลาสติก หรือ “ถังขยะเจ้าปัญญา”สามารถทาได้ง่าย เน่ืองจากขวด พลาสติก มรี ปู ทรงแปลกใหมส่ ะดุดตา สามารถนามาประดิษฐ์ได้เลย โดยไมต่ อ้ งแต่งเติม หรือดัดแปลง เป็นเศษ วัสดุเหลือใช้ท่ีหาได้ง่ายท่ัวไป และวิธีทาไม่ยากจนเกินไป มีความคงทนแข็งแรง สวยงาม ดึงดูดความสนใจ น่ามอง ลดปริมาณขวดน้าพลาสติก สามารถนาไปใช้ที่บ้าน และสถานศึกษาได้ตามความต้องการ เป็นการ นาขยะพลาสติกกลับมาใช้ใหม่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เป็นการลดภาวะโลกร้อน ลดปริมาณการเผาขยะทาให้ ลดแก็สพิษในอากาศและเปน็ การเพ่ิมมลู คา่ ใหก้ บั วัสดเุ หลอื ใช้อีกดว้ ย ๔.๒ ผลการทดลอง จากการศึกษา การทา“ถงั ขยะเจา้ ปญั ญา” และ “ถงั ขยะทั่วไป” ได้ผลการศึกษา ดงั น้ี ถังที่ ๑ ถงั ขยะท่ีทาจากขวดพลาสตกิ แบบท่ัวไปท่ีไม่มีฝาปิด ถังที่ ๒ ถังขยะท่ีทาจากขวดพลาสติกแบบมีฝาปิด- เปดิ และมีการปดิ -เปดิ ปากถงุ โดยอัตโนมตั ิ ตาราง การเปรียบเทยี บการใช้งาน ผลการทดลอง รายละเอยี ด ถังท่ี ๑ ถงั ขยะที่ทาจาก ถังท่ี ๒ ถงั ขยะท่ีทาจากขวด ขวดพลาสตกิ แบบทัว่ ไปที่ไม่มีฝาปิด พลาสตกิ แบบมีฝาปิด - เปดิ และมีการ ปิด-เปิดปากถุงโดยอตั โนมัติ - สามารถใชใ้ นการท้ิงขยะได้ - สามารถใชใ้ นการท้ิงขยะได้ - ไม่มฝี าปิด ทาให้มแี มลงวันมาตอมขยะ - มกี ารทาที่ยึดปากถงุ ใส่ขยะแบบยืดหยุ่น ส่งผลใหเ้ กดิ การเนา่ และส่งกล่ินเหม็น เปิด-ปดิ เองได้ เพ่ือช่วยในการอานวยความ ของขยะ เปน็ การเพิ่มมลพิษทางอากาศ สะดวกในการท้ิงขยะและชว่ ยลดปัญหาการ การใชง้ าน สง่ กล่ินเห็นของขยะได้ - มกี ารทาฝาบนปิด-เปดิ ถังขยะ เพื่อ ปอ้ งกนั การตอมของแมลงและช่วยลด ปญั หาการสง่ กล่นิ เหน็ ของขยะ ชว่ ยใหเ้ ปน็ มติ รกบั ส่งิ แวดลอ้ มได้ จากตาราง ผลการทดลองพบว่าการออกแบบการทาถังขยะจากขวดน้าพลาสติก หรือ การทา “ถงั ขยะเจ้าปญั ญา” มีการใช้งานไดจ้ รงิ มีความคงทน ชว่ ยลดปญั ญาขยะ และสามารถลดภาวะโลกรอ้ นได้ เป็นอย่างดี

15 บทที่ ๕ สรปุ ผล และอภิปรายผล ๕.๑ สรุปผลการดาเนนิ งานโครงงาน จากการประดิษฐ์ถังขยะจากขวดน้าพลาสติก หรือ การทา “ถังขยะเจ้าปัญญา” สรุปผลได้ว่า เป็นการสร้างสรรค์ผลงานตามจินตนาการจากวัสดุเหลือใช้ ท่ีมีความสวยงาม มีความคงทน สามารถใช้ในการ ทิ้งขยะได้จริง มีการทาที่ยึดปากถุงใส่ขยะแบบยืดหยุ่นเปิด-ปิดเองได้ เพื่อช่วยในการอานวยความสะดวก ในการทิ้งขยะและช่วยลดปัญหาการส่งกลิ่นเห็นของขยะได้ นอกจากน้ียังมีการทาฝาบนปิด-เปิดถังขยะ เพื่อป้องกันการตอมของแมลงและช่วยลดปัญหาการส่งกลิ่นเห็นของขยะ ช่วยให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ลดภาวะขยะพลาสติก ลดภาวะโลกร้อนไดเ้ ปน็ อยา่ งดี และสามารถสรา้ งอาชีพเสริม เพิม่ รายได้ใหต้ นเองได้ ๕.๒ การอภิปราย จากผลการทดลอง พบว่า การประดษิ ฐ์ถังขยะจากขวดนา้ พลาสตกิ หรอื การทา “ถังขยะเจ้าปัญญา” มคี วามสวยงาม นา่ ใชง้ าน มีความคงทนแข็งแรง เน่ืองจากขวดน้าพลาสตกิ ใสมีคณุ สมบัติเหนียวไม่แตกง่ายทน ตอ่ แรงกระแทก ทนต่อแดด ลม ฝน ช่วยลดภาวะขยะพลาสตกิ ลดภาวะโลกรอ้ นไดด้ ี ๕.๓ ข้อเสนอแนะ ๑. ควรใชว้ ัสดธุ รรมชาตมิ าทดแทนขวดพลาสติกในการบรรจอุ าหาร และเครื่องดม่ื เพือ่ เป็นการ ลดขยะจากขวดพลาสติก เป็นการลดปญั หามลพิษ ๒. ควรนาขวดพลาสติกไปใช้ประโยชน์ในดา้ นอ่ืน ๆ อีกดว้ ย ๓. ควรพัฒนาปรับปรุงรูปแบบถังขยะจากขวดพลาสติกเป็นรปู ทรงตา่ งๆ เพือ่ ความสวยงาม และเปน็ การเพมิ่ มูลคา่ ของสนิ คา้ ได้ ๕.๔ ปญั หาในการดาเนินงาน ๑. ขวดพลาสติกแต่ละอันมีขนาดไมเ่ ทา่ กนั ทาให้การประกอบขวดพลาสติกในแตล่ ะดา้ นไมเ่ ท่ากัน ๒. การประกอบขวดพลาสติกใหเ้ ป็นรูปทรงตา่ งๆต้องให้ความพยามมาก เพราะขวดพลาสติกมคี วาม ล่นื ไหล และตอ้ งใชว้ สั ดใุ นการยึดทม่ี คี วามแขง็ แรงคงทน ๕.๕ การแกไ้ ขปัญหา ๑. คัดเลอื กขวดพลาสติก และทาการวดั ขนาดของขวดพลาสตกิ ตัดให้มีขนาดเทา่ กนั เพื่อความ สวยงาม ๒. ใชอ้ ปุ กรณใ์ ห้เหมาะสมกบั ขวดพลาสติก เพ่ือให้เกดิ ความคงทนต่อสภาพอากาศ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook