ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) เป็นอุปกรณ์ทีใ่ ช้สาหรับเกบ็ ข้อมลู ต่าง ๆ ของเครื่องคอมพวิ เตอร์ มีลักษณะเปน็ รปู สีเ่ หลย่ี มท่ีมีเปลือกนอก เปน็ โลหะแขง็ และมีแผงวงจรสาหรบั การควบคุมการทางานประกบอยูท่ ด่ี ้านลา่ ง พรอ้ มกับชอ่ งเสียบสายสญั ญาณและ สายไฟเลี้ยงส่วนประกอบภายในจะถูกปิดผนึกไวอ้ ยา่ งมิดชิด โดยจะเปน็ แผ่นดิสก์และหวั อ่านที่บอบบางมากและไม่คอ่ ยจะทนต่อการกระทบ กระเทอื นได้ ดงั นนั้ จงึ ควรทจ่ี ะระมดั ระวังเปน็ อยา่ งยง่ิ เวลาจดัถือไม่ควรให้กระแทกหรอื กระเทอื น และระมัดระวงั ไม่ใหม้ ือโดน อปุ กรณ์อ่ืน ๆ ทอ่ี ย่บู นแผงวงจร โดยปกติ ฮารด์ ดิสก์ มกั จะบรรจุอย่ใู นช่องทีเ่ ตรยี มไว้เฉพาะภายในเครือ่ ง โดยจะมกี ารตอ่ สาย สญั ญาณเข้ากับตวั ควบคุมฮารด์ ดิสก์ และสายไฟเล้ยี งที่มาจากแหลง่ จ่ายไฟด้วยเสมอชนิดของ ฮาร์ดดสิ ก์ แบง่ ตามอินเตอร์เฟสท่ตี ่อใชง้ านปัจจบุ นั นี้ ฮารด์ ดิสก์ที่มใี ช้งานทัว่ ไป คือ IDE (Integrated Drive Electronic) เปน็ ชนดิ ที่มีความเรว็ สงู เป็นมาตรฐานอุตสาหกรรม (de facto standard) สาหรับเชื่อมต่ออุปกรณ์ฮารด์ ดสิ ก์ ทใี่ ช้กนั มากในเครอื่ งระดับไมโครคอมพิวเตอร์ สามารถเชื่อมตอ่ อุปกรณไ์ ด้สูงสดุ 2 ตวั ส่งผ่านขอ้ มูลได้ดว้ ยความเร็วสงู สุดท่ี 3 เมกกะบิต/วนิ าที และรองรับฮาร์ดดสิ ก์ความจุสงู สดุ ท่ี 528 MB. ซึ่งดว้ ยข้อจากัดตา่ งๆ เหล่านี้ ทาให้เป็นอุปสรรคตอ่ การใช้งานอุปกรณ์รุ่นใหม่ ๆ จึงได้มีการพัฒนาเป็น EIDE EIDE (Enhanced Integrated Drive Electronics) สามารถเช่ือมตอ่ อปุ กรณไ์ ด้ถึง 4 ตัว รองรับฮารด์ ดิสกไ์ ดส้ ูงสุดถงึ 8.4 ก๊ิกกะไบต์ ส่งผ่านขอ้ มูลได้สงู สดุ ที่ 9-16 เมกกะบติ /วนิ าที ESDI (Enhance Small Device Interface) เป็นชนดิ ที่มีความเร็วสงู และความจุสงู SCSI (Small Computer System Interface) นอกจากเปน็ ฮารด์ ดสิ ก์คอนโทรลเลอร์แล้ว ยงั เป็นคอนโทรลเลอร์ที่ควบคุมอุปกรณ์อ่ืน ๆ ได้อกี เปน็ มาตรฐานการเช่อื มตอ่ แบบขนานของ ANSI ใชเ้ ชอ่ื มต่ออุปกรณ์ความเร็วสงู ใด ๆ เช่น ฮารด์ ดิสก์ สแกนเนอร์ เป็นตน้ สามารถเชอื่ มต่ออุปกรณ์ได้สูงสดุ 8-16 ตวั สังเกตโดยการไลส่ ายริบบอน จากตัวฮารด์ ดิสก์ไปยังแผงวงจร และแผงวงจรนั้นจะเปน็คอนโทรลเลอรข์ องมัน Serial ATA (Advanced Technology Attachment) เปิดตัวครัง้ แรกในวันที่ 26มถิ ุนายน 2545 งาน PC Expo ใน New York ประเทศสหรฐั อเมริกา หลงั จากที่มกี ารนาเสนอParallel ATA มากวา่ 20 ปี รวมถงึ เทคโนโลยีอ่นื ๆท่ีทาใหก้ ารอ่านขอ้ มูลไดเ้ ร็วข้ึน วนั นบ้ี รษิ ทัIntel Seagate และบรษิ ัทอื่นๆ คอยชว่ ยกนั พัฒนาใหเ้ กิดเทคโนโลยี Serial ATA ขึ้นมาแทนที่Serial ATA มคี วามเรว็ ในเข้าถงึ ขอ้ มูลถึง 150 Mbytes ต่อ วินาที และให้ผลตอบสนองในการ
ทางานได้เร็วมากในสว่ นของ extreme application เชน่ Game Home Video และ HomeNetwork Hub มจี านวน pin น้อยกว่า Parallel ATA Serial ATA II ของทาง Seagate คาดวา่ จะออกวางตลาดภายในปี 2546 และจะทางานได้กับ Serial ATA 1.0 ท้ังทางด้าน products และmaintain software บอรด์ ฮารด์ ดสิ ก์คอนโทรลเลอรก์ ับการต่อสายริบบอนใช้งาน จะเหน็ ไดว้ ่าขวั้ ต่อบนฮารด์ ดสิ กค์ อนโทรลเลอร์จะมขี วั้ แบบ 34 ขา อยู่ 2 แถว แตถ่ กู ต่อใชง้ านไวเ้ พยี งแถวเดียว สว่ นขว้ั ตอ่ แบบ 20 ขา มสี องแถวเช่นกนั แต่ถูกตอ่ กบั สายริบบอนทงั้ คู่ ข้วั ตอ่ ทั้งหมดหาได้ไม่ยาก มีลักษณะเปน็ ขาและมีฐานรองอยขู่ ้างลา่ ง ศพั ท์ทางเทคนิคเรยี กวา่ Pincushion แต่มฮี าร์ดดสิ ก์บางแบบท่ีไม่ได้อนิ เตอร์เฟซ แบบ 3 ขวั้ ต่อ แตใ่ ช้การเชื่อมเพยี งขวั้ เดียว แต่มีขาอยู่ 40 ขาแทน Tape Controller ถ้าต้องการติดต้งั เทปไดรฟ์ เพื่อสารองระบบ จะต้องมคี อนโทรลเลอร์บางอย่างดว้ ย เทปไดร์ฟบางแบบสามารถใชฟ้ ล็อปปี้ดสิ ก์คอนโทรลเลอรไ์ ด้ แตม่ ันไม่ได้ถกู สร้างข้ึนมาเพื่อสนับสนนุ การใช้งานกับเทป จึงทาให้การสารองขอ้ มูลทาได้ช้ามาก เทปไดร์ฟมีท้ังแบบติดต้ังภายนอกและภายใน ในการสารองขอ้ มูลควรใช้แบบตดิ ต้ังภายนอก เหมาะสาหรบัการสารองข้อมลู หลาย ๆ เครื่อง และบางคร้งั ยังสามารถใช้รว่ มกนั หลายคนได้1. IDE (Integrated Drive Electronics) เป็น hardware interface ชนดิ หนึ่งซ่ึงนยิ มใชใ้ นการเช่ือมตอ่ hard disks, CD-ROMs และtape drive เขา้ กับเครอ่ื ง PC เนอื่ งจากความสามารถในการเชอื่ มต่อเพ่ิมขึ้นจาก 40MB จนถึง40GB จึงนบั วา่ เป็นอีกทางเลอื กหน่ึงท่ปี ระหยดั เลยทเี ดียว ระบบควบคุมถูกสร้างข้ึนภายในdrive ของมันเอง และใชว้ งจรงา่ ยๆของ PC ในการเช่อื มตอ่ ในอดีต IDE drive เชอ่ื มต่อกบั PCโดยใช้ IDE host adapter card แต่ปัจจบุ ันได้มกี ารสรา้ ง Enhanced IDE (EIDE) 2 ชอ่ งขึ้นบนmotherboard และแต่ละช่องยังสามารถตอ่ กับอุปกรณ์ 2 ชน้ิ โดยผ่าน 40-pin ribbon cable ซง่ึสว่ นนี้น้ันจะอย่รู วมกับชิปเซ็ทในส่วนของ South Bridge
IDE interface หรอื ที่รู้จกั กันในนาม ATA (AT attachment) specification แต่ละแบบยงั มีลักษณะเฉพาะตวั ของมันเอง เช่น ATAPI (ATA Packet Interface) เปน็ IDE ทใ่ี ชก้ ับ CD-ROMs และ tape drives ATA-2 (Fast ATA) มอี ตั ราการสง่ ผ่านข้อมลู ท่ีเร็วขึ้น ใช้ใน Enhanced IDE ATA-3 มคี วามสามารถในการรายงานปัญหาบางประการได้ ATA-4 ดไู ดจ้ ากจะมีคาวา่ \"Ultra\" หรือมีการใสอ่ ัตราการส่งผ่านขอ้ มูลลงไปในชื่อ เชน่ Ultra ATA, Ultra DMA, UDMA, ATA-33, DMA-33, Ultra ATA-33 และ Ultra DMA- 33จากตารางแสดงค่าอัตราการส่งผ่านขอ้ มูลของ ATA mode แต่ละแบบ IDE Drive Type PIO Mode Transfer rate DMA Mode Transfer rate MBytes/sec MBytes/secATA 0ATA 1 3.3 0 4.2ATA 2 5.2ATA-2, 3 3 8.3 1 13.3ATA-2, 3 4 11.1 2 16.6ATA-4 (ATA-3) 16.6 2 33.3ATA-5 0 16.6ATA-5 1 25.0ATA-5 (ATA-3) 2 33.3ATA-5 3 44.4ATA-5 (ATA-66) 4 66.6ATA-6 (ATA-100) 100.0 1.1 EIDE (Enhanced IDE) คือ IDE interface ที่มที ั้ง ATA-2 และ ATAPI supportโดย ATA-2 (Fast ATA) ทาใหอ้ ตั ราการส่งผ่านขอ้ มูลเร็วขน้ึ และสามารถต่อไดห้ ลายช่อง โดย
แตล่ ะการเชื่อมตอ่ จะต่อไดก้ ับอุปกรณ์ 2 ชน้ิ สว่ น ATAPI ทาใหใ้ ชก้ บั อปุ กรณ์ non-hard diskเชน่ CD-ROMs และ tape drives ได้ นอกจากนัน้ ยังสามารถตั้งค่าใน BIOS เพอ่ื จะใชก้ บัhard disks ทีห่ น่วยความจามากกวา่ 504MB ได้อีกด้วย ต้งั แต่กลางปี 1994 เคร่ือง PC ไดเ้ ริ่มใช้ EIDE interfaces และ motherboard สว่ นใหญ่มี primary และ secondary channel เพื่อต่อกับอุปกรณไ์ ด้ทั้งหมด 4 ชิ้น โดยใช้เป็น Master และ Slaveการติดตัง้ สาหรับการติดต้งั Harddisk แบบ IDE ทัว่ ไป 1. ตอ่ สายไฟเลย้ี ง และสายแพ 40 Pin สาหรับ UDMA 33 หรือ 80 Pin สาหรบั UDMA66/100 ดงั ภาพ ทิศทางในการต่อสายไฟเล้ยี งจะตอ่ ได้ทางเดียวไม่มีกลับด้าน แตส่ ายแพนั้น เราจะสังเกตได้ว่าจะต้องต่อให้ Pin1 หรือ ทมี่ ีขอบสแี ดงอยูท่ างดา้ นของไฟเลี้ยง หรอื อาจจะ จาวา่แดงชนแดง กไ็ ด้ 2. ตัง้ Jumper ซ่ึงมกั จะเขยี นไว้บน Harddisk นน้ั เพื่อเลือกใหเ้ ป็น Master หรอื Slave 3. Boot เครอ่ื งและเข้าไปยงั Bios เพื่อ Detect Harddisk ท่ีไดต้ ิดตง้ั เขา้ ไป 4. Harddisk ที่ซ้ือมาใหม่จะยังไมไ่ ด้ทาการแบ่ง Partition จะตอ้ งใช้โปรแกรม Fdiskหรอื Disk Manager แบง่ Partition ในกรณี ที่ ไมส่ ามารถแบ่ง Partition ได้ เนื่องจาก เคยมกี ารตดิ ตั้ง Partition ใน Format อืน่ ๆท่ี Dos อาจจะไม่รู้จกั บางครงั้ จาเปน็ ต้องมีการ FormatSector 0 เพ่ือลบข้อมูลทัง้ หมด แลว้ จงึ แบง่ Partition ใหม่ 5. Format Drive ตา่ งๆซึ่งในกระบวนการนี้จะเปน็ เสมอื นการ Scan disk ไปดว้ ยถา้หากพบว่ามี Bad Sector โปรแกรม กจ็ ะแจ้งให้ทราบเพียงเทา่ น้ี Harddisk ก็ พร้อมใชง้ านได้แลว้2. SCSI (Small Computer System Interface) ผอู้ อกแบบพซี แี สวงหาวธิ ีการเชือ่ มต่ออุปกรณ์จานวนมาก โดยใชส้ ายให้น้อยท่สี ุดอยู่เสมอ รวมถึงเรอ่ื งของการถา่ ยโอนข้อมลู ระหวา่ งระบบกับอปุ กรณ์ตอ่ พว่ งต่างๆ ทเี่ ร็วขึน้ ในตน้ ปีค.ศ. 1980 ได้เริ่มปรากฏเค้าร่างท่ีชดั เจนของความจาเป็นที่ตอ้ งมีอินเตอร์เฟสทม่ี คี วามคลอ่ งตัวและชาญฉลาดท่สี ามารถเอาชนะในเรอ่ื งการใชอ้ ินเตอร์เฟสเฉพาะตวั ทีม่ อี ยู่มากมายในตอนน้นัในปี ค.ศ. 1986 จึงไดเ้ ปดิ ตวั Small Computer System Interface (SCSI ออกเสียงวา่ “สก๊ัสซี่”)SCSI พิสูจน์ตัวเองวา่ เป็นปฏิรูปสาหรบั ผใู้ ช้พีซีอย่างจริงจงั เนือ่ งจากการใช้อะแดป็ เตอร์เพยี งตวั เดียวสามารถใช้งานอุปกรณต์ า่ งๆ หลายตวั ได้พรอ้ มกัน อปุ กรณ์ท้ังหมดในสายหรอื daisy-chained ใชส้ ายสัญญาณเสน้ เดียวกนั ขณะทพ่ี ีซีระดับ “low-end” ตอ้ งใช้ adapter หนึง่ ตัว
สาหรบั ฮารด์ ดสิ ก์ อกี ตัวสาหรบั CD-ROM และอกี ตวั สาหรับเทปไดร์ฟ ฯลฯ แตใ่ นระบบท่ีใช้อะแดป็ เตอร์ SCSI เพียงตัวเดยี ว (เช่นการ์ด Adaptec) สามารถจัดการกับอุปกรณ์ทง้ั หมดเหลา่ น้ี และทาใหไ้ ด้ data throughput ท่สี งู กวา่ อนิ เตอร์เฟสชนดิ อนื่ ๆ ในขณะน้ัน ภาพท่ี 1 ภาพแสดงการเชือ่ มตอ่ แบบ Daisy-chained (www.pantip.com) ภาคอุตสาหกรรมพีซี ณ ปัจจุบนั ได้แปรเปล่ียนไป อนิ เตอรเ์ ฟสเฉพาะอุปกรณไ์ ดถ้ ูกเลกิใช้ แทนท่ดี ว้ ยอนิ เตอรเ์ ฟสมาตรฐาน (เชน่ UDMA/100 และ UDMA/133 สาหรับไดรฟ์ ภายในและ USB 1.1, 1.2 และ FireWire สาหรับอุปกรณ์ภายนอก) และสกมี ของอินเตอร์เฟสมาตรฐานเหลา่ นไ้ี ด้รองรับอปุ กรณห์ ลากหลายชนิด ขณะท่ีมรี าคาตา่ กว่า และสาหรบั multitasking,servers และระบบคอมพิวเตอรร์ ะดบั high-end อื่นๆ2.1 ทาความเข้าใจกับแนวคดิ SCSI ในทางอุดมคติ อุปกรณ์ตอ่ พ่วง (Peripheral devices) ควรจะเป็นอสิ ระจากการทางานของไมโครโปรเซสเซอร์ คอมพวิ เตอร์เพยี งแตส่ ง่ คาสั่งและข้อมลู ไปยังอุปกรณต์ ่อพว่ ง และรอให้อปุ กรณ์ต่อพ่วงตอบสนอง เครอ่ื งพมิ พ์จะทางานตามน้ี พอร์ตขนานและอนุกรมเป็นอนิ เตอร์เฟสdevice-lever ทแ่ี ท้จริง คอมพิวเตอร์ไม่ไดย้ ุง่ เก่ยี วกบั อปุ กรณท์ ต่ี ่อไวก้ ับพอร์ตเลย กลา่ วอกี อย่างกค็ ือสามารถใชเ้ ครอ่ื งพมิ พ์เม่อื 12 ปีก่อนตอ่ เข้ากบั เคร่ือง AMD Athlon-based ได้ และเครอื่ งพิมพก์ ็ยังทางานไดด้ ีเนอื่ งจากมเี ฉพาะข้อมูลและคาสัง่ เทา่ น้ันท่ีสง่ มายงั อนิ เตอรเ์ ฟสน้ี นี่เป็นตวั อยา่ งง่ายๆ ของแนวคดิ ทอี่ ยู่เบ้อื งหลงั SCSI คอมพวิ เตอรแ์ ละอุปกรณ์ตอ่ พ่วงสามารถถกู ออกแบบ พัฒนา และรวมกัน (integrated) โดยไมต่ ้องกังวลถึงเรื่องคอมแพทิเบลิ ของฮาร์ดแวร์เลย2.2 ความเป็นอิสระของอุปกรณ์ ในจดุ ยนื ของทางปฏิบัติ SCSI เป็นท้ังบัส (กล่มุ ของสายและตัวเปิดและตวั ปดิ ปลายทางกายภาพ ซ่งึ แต่ละสายจะมชี ่ือและวตั ถุประสงค์ของมัน) และชุดคาสัง่ (Command set –ชดุ คาสั่งทีค่ อยจดั การเร่ืองการสอื่ สารระหว่างคอมพิวเตอรแ์ ละอุปกรณ์ต่อพ่วงผ่านบัสทางกายภาพ) บัส SCSI ถกู ใช้ในระบบที่ตอ้ งการเอาชนะใหอ้ ุปกรณ์เป็นอสิ ระ ตวั อย่างเชน่ฮาร์ดดิสกไ์ มว่ ่าเป็นแบบใดสาหรบั อินเตอร์เฟส SCSI กจ็ ะเหมือนกันไปหมด (ยกเวน้ ในเรื่องของความจุรวมทั้งหมด) ไดรฟ์ optical ท้งั หมดก็เหมอื นกัน เครอ่ื งพิมพท์ ั้งหมดกเ็ หมือนกัน ฯลฯสามารถนาอปุ กรณ์ SCSI ชนดิ หนง่ึ ๆ มาเปลี่ยนแทนอุปกรณท์ ี่มอี ยเู่ ดมิ ได้โดยไม่ต้องปรบั แตง่ระบบอกี และอุปกรณ์ SCSI ใหม่สามารถเพมิ่ เข้าต่อบัสนัน้ ๆ ได้ เพยี งแต่อัพเกรดไดรเวอร์เลก็ น้อยเทา่ นน้ั เนื่องจากความชาญฉลาดของ SCSI จะอยทู่ ต่ี ัวอุปกรณ์ต่อพว่ ง ไมไ่ ด้เป็นทีต่ ัวคอมพวิ เตอร์จงึ สามารถใชเ้ พยี งชดุ คาส่งั ขนาดเลก็ ท่ีเป็นมาตรฐานเดียวในการจัดการกับการถ่ายโอนขอ้ มลู กลับไปมาจากอปุ กรณต์ อ่ พ่วง
2.3 หลักการทางานของ Parallel SCSI ระบบ SCSI นอกจากจะใช้เพ่อื ควบคมุ ฮาร์ดดิสก์ เรายงั ใช้เพ่อื การควบคมุ อปุ กรณ์ตอ่เสรมิ อ่ืน ๆ ไดด้ ้วยเช่น โมเดม็ , ซดี ีรอม, สแกนเนอร์ และเครอ่ื งพิมพ์ โดยท่ีระบบ SCSI ในหน่งึการด์ สามารถสนับสนุนการต่ออุปกรณไ์ ดถ้ ึง 8 ตัว โดยคอมพวิ เตอรท์ ีใ่ ชจ้ ะถือเป็นอุปกรณ์ด้วยดงั นนั้ จงึ เหลอื ใหเ้ ราตอ่ อปุ กรณไ์ ดเ้ พิ่มอีก 7 ตัว ภายใต้ MS-DOS ระบบ SCSI จะให้เราใช้ฮาร์ดดสิ กไ์ ดเ้ พียง 2 ตวั (ตามการอ้างแอดเดรสของ Bios) ถ้าต้องการต่ออปุ กรณอ์ ื่น ๆ เราต้องทาการ Device Driver จากบรษิ ัทอนื่ มาทาการตดิ ตัง้ เสียกอ่ น SCSI สามารถต่อกับอุปกรณ์ได้ 7-15 ชน้ิ โดยใช้ expansion board เพียงตัวเดียวต่อเขา้ กบั เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ เรียก expansion board น้ันวา่ \"SCSI host adapter\" หรอื \"SCSIcontroller\" อุปกรณท์ ่ีตอ่ ด้วย SCSI สามารถเช่ือมต่อกันได้ เนอื่ งจากมนั จะมี second port เพ่อืจะตอ่ กับอุปกรณต์ วั ต่อไปได้ นอกจากน้ัน SCSI board หนึ่งยงั มี 2 controller นน่ั คือมันสามารถตอ่ กบั อปุ กรณอ์ นื่ ไดถ้ ึง 30 ชนิ้2.4 มาตรฐานหรอื ชนดิ ของ SCSI การพัฒนาอนิ เตอร์เฟส SCSI และการเผยแพร่ SCSI เรม่ิ ต้นข้ึนในปี ค.ศ. 1979 เมื่อShugart Associates (ผ้ใู ชพ้ ีซรี ุ่นเกา่ เป็นหน่ึงในรายแรกๆ ท่ผี ลิตฮารด์ ดสิ ก)์ ไดอ้ อกมาตรฐานShugart Associates System Interface (SASI) คณะกรรมาการ X3T9.2 ถกู แตง่ ตง้ั ข้ึนจากANSI ในปี ค.ศ. 1982 เพ่ือพฒั นามาตรฐาน SASI ซึ่งตอ่ มาเปล่ียนช่อื เป็น SCSI ไดร์ฟและอินเตอร์เฟส อยา่ งไรกต็ าม หากพิจารณามาตรฐานท่ีรับรองโดย ANSI (American NationalStandards Institute) แล้ว สามารถจาแนกตามมาตรฐานได้ดงั น้ี 2.4.1 SCSI-1 เปน็ มาตรฐานท่ีออกมาในปี ค.ศ. 1986 โดยมีขอ้ กาหนดตงั้ แตเ่ ร่ืองของสายสัญญาณท่ีใช้, ความยาวสาย, รูปแบบของสัญญาณ, คาสง่ั และโหมดการรับส่งข้อมูล มาตรฐานนี้รองรบัอุปกรณ์ไดส้ งู สดุ 8 ตวั (รวมการ์ดที่ทาหนา้ ที่เป็น SCSI host adapter ดว้ ย) อปุ กรณท์ เี่ ป็นไปตามมาตรฐาน SCSI-1 จะใช้สายสัญญาณขนาด 8 บติ (เรียกกนั วา่ narrow) สามารถใช้ไดก้ บัอุปกรณ์ 8 ตัว ทางานทีค่ วามถี่ 5 MHz และสามารถส่งผา่ นข้อมลู ได้สงู สดุ ทอ่ี ัตรา 5 MB/s ซง่ึเรียกว่ามาตรฐานของการรับสง่ ขอ้ มูลแบบ “Regular” SCSI หรอื SCSI-1 2.4.2 SCSI-2 ปี ค.ศ. 1994 ANSI ได้รบั รองมาตรฐาน SCSI-2 (X3.131-1994) SCSI-2 ถกู ออกแบบมาเพือ่ ให้คอมแพทเิ บิลย้อนกลบั ไปต่อ SCSI-1 ดว้ ย จุดมุ่งหมายสาคญั ที่สุดของ SCSI-2 คอืการสร้างมาตรฐานใหก้ บั สุดคาสงั่ ของอินเทอรเ์ ฟส SCSI ท่ีมีชื่อว่า Common Command Set(CCS) นอกจากน้ันก็มกี ารปรับปรุงเรื่องประสทิ ธภิ าพความน่าเชือ่ ถือ และคณุ ลักษณะของอนิ เตอรเ์ ฟสขึ้นมาจาก SCSI-1 อยา่ งมาก สาระสาคัญท่ีอยู่ในข้อกาหนดของ SCSI-2 มีดงั นี้
FAST SCSI หมายถงึ การสง่ ผ่านขอ้ มูลท่ีความถ่ี 10 MHz ซ่ึงทาให้สามารถรบั สง่ ข้อมลู ไดส้ งู สุดท่อี ัตรา 10 MB/s เม่ือรับส่งทลี ะ 8 บิต หรือที่อัตรา 20 MB/s หากใชร้ ่วมกับ คณุ สมบตั ิ Wide SCSI (และจะเรียกว่า Fast Wide SCSI) Wide SCSI เพิ่มการรับส่งขอ้ มลู เป็นทลี ะ 16 (หรอื 32) บติ จากเดิมคอื 8 บิตใน มาตรฐาน SCSI-1 รองรับอุปกรณไ์ ด้สงู สุด 16 ตัว (รวมการด์ ท่ีทาหนา้ ท่ีเป็น SCSI host adapter ด้วย) 2.4.3 SCSI-3 มาตรฐานนไ้ี ดแ้ ยกการพฒั นาในส่วนของฮารด์ แวรแ์ ละส่วนของชดุ คาส่งั CCS ออกจากกันเพอื่ ให้อินเตอร์เฟส SCSI มฮี ารด์ แวรไ์ ด้หลายแบบ ไมว่ ่าจะเปน็ การเชื่อมตอ่ แบบขนาน คือส่งข้อมลู ทลี ะหลายบิต (เหมอื นกับ SCSI-1 และ SCSI-2), แบบอนกุ รมที่สง่ ทีละบติ หรอื การสง่ ผา่ นสาย fiber optic ที่ความเร็วสูงก็ตาม โดยสาหรับแบบขนานน้ันแยกออกเป็น 4 มาตรฐานย่อย ดังน้ี SCSI Parallel Interface (SPI) คุณสมบตั ทิ สี่ าคญั คอื Fast-20 หมายถงึ การรับส่งขอ้ มูลทค่ี วามถ่ี 20 MHz ซึง่ ทาให้อินเตอร์เฟส SCSI ภายใต้มาตรฐาน SPI มอี ตั ราการรับสง่ ข้อมูลสงู สดุ 40 MB/s เมื่อใช้กบัขนาด 16 บติ ชอื่ ทางการค้าของมาตรฐาน SPI คือ Ultra SCSI (บัสขนาด 8 บติ ) และ WideUltra SCSI (บัสขนาด 16 บติ ) SCSI Parallel Interface-2 (SPI-2) มีคุณสมบัติ Fast-40 Data Transfer โดยเพิ่มความถ่ขี องสญั ญาณนาฬกิ าจาก 20 MHzในมาตรฐาน SPI มาเป็น 40 MHz ซงึ่ ทาใหส้ ามารถรบั ส่งขอ้ มลู ได้สงู สดุ ทอ่ี ตั รา 80 MB/s เมอ่ื ใช้กับบสั ขนาด 16 บิต มาตรฐาน SPI-2 น้ีมีช่ือเรียกทางการคา้ ว่า Ultra2 SCSI (บสั ขนาด 8 บติ )และ Wide Ultra2 SCSI (บัสขนาด 16 บิต) SCSI Parallel Interface-3 (SPI-3) มาตรฐาน SPI-3 ยงั คงปรับปรงุ ความเรว็ ของอินเตอร์เฟสขึน้ อีก ด้วยคณุ สมบตั ิ Fast-80Data Transfer โดยกาหนดให้ทางานท่คี วามถี่ 40 MHz เทา่ กับมาตรฐาน SPI-2 แต่อาศัยเทคนคิ double transition clocking คอื มกี ารสง่ ผ่านข้อมูลทั้งขาขึ้นและขาลงของสัญญาณนาฬกิ า จงึ เป็นผลให้สามารถรบั ส่งข้อมลู ไดส้ งู สุดท่ีอตั รา 160 MB/s เมอ่ื ใชก้ บั บสั ขนาด 16 บติ ในทางการค้าแล้วมาตรฐาน SPI-3 ถูกพฒั นาออกมาในหลายช่ือเรยี กประกอบด้วยUltra3 SCSI, Ultra160 SCSI (หรอื Ultra160/m SCSI) และ Ultra160+ SCSI ซ่ึงแมว้ ่าจะมีราบละเอยี ดทแี่ ตกตา่ งกนั ไป แตท่ ัง้ หมดนต้ี ่างกใ็ ช้บัสข้อมลู ขนาด 16 บติ , ทางานทค่ี วามถ่ี 40MHz และมีอัตราการรับส่งข้อมูลสงู สดุ 160 MB/s เหมอื นกัน SCSI Parallel Interface-4 (SPI-4)
มาตรฐาน SPI-4 ไดป้ รับปรุงความเรว็ ของอินเตอรเ์ ฟสไปทางานทีค่ วามถ่ี 80 MHz ซึ่งใชเ้ ทคนคิ double transition clocking กบั บัสขนาด 16 บติ มอี ัตราการรบั ส่งข้อมูลสูงสดุ 320MB/s ชอื่ เรยี กทางการค้า SCSI หรอื SCSI Trade Association ไดก้ าหนดไวก้ ็คือ Ultra320SCSI ตารางแสดงรายละเอียดการรบั สง่ ข้อมลู ตามชือ่ เรียกตา่ งๆของอนิ เตอร์เฟส (พรอ้ มเลศิ หล่อวิจิตร, 2545) ชอ่ื เรียก ขนาดของ ความถี่ อตั ราการรับส่ง มาตรฐาน ข้อมูลสงู สดุ บสั ข้อมลู ( MHz) SCSI-1 (MB/s) (บิต) 5 SCSI-2 SCSI-2SCSI หรอื “Regular” 85 10 SCSI-2 10 SCSI-3/SPISCSI 20 SCSI-3/SPI 20 SCSI-3/SPI-2Fast SCSI 8 10 40 SCSI-3/SPI-2 40 SCSI-3/SPI-3Wide SCSI 16 5 80 160* SCSI-3/SPI-4Fast Wide SCSI 16 10 320*Ultra SCSI 8 20Wide Ultra SCSI 16 20Ultra2 SCSI 8 40Wide Ultra2 SCSI 16 40Ultra3 SCSI, Ultra160 16 40(Ultra160/m) SCSI และUltra160+ SCSIUltra320 SCSI 16 80หมายเหตุ *= ใช้เทคนคิ double transition clocking2.5 การเชือ่ มตอ่ และการตดิ ต้งั การติดตง้ั อุปกรณ์ SCSI น้ัน จะมีรูปแบบทด่ี ูแตกตา่ งไปจากอปุ กรณ์ตัวอ่นื ๆ เล็กน้อยเพราะการตดิ ตงั้ อปุ กรณจ์ ะเปน็ แบบค่ขู นานทม่ี ีลกั ษณะต่อพว่ งกนั ไปเรือ่ ย ๆ โดย SCSI จะใช้หมายเลขเปน็ ตัวบ่งบอกวา่ เปน็ อุปกรณต์ ัวไหนในเวลาของการรับส่งขอ้ มูลและต้องมีการกาหนด“Terminate” เพอื่ ระบุจดุ ส้ินสุดของการต่อพ่วงในเคเบิลเส้นนน้ั สาหรับการกาหนดหมายเลข ID ให้กับอปุ กรณ์ SCSI มีอยดู่ ้วยกันสองวธิ ี คอื การใช้Jumper หรอื DIP Switch ในการระบุหมายเลข ID นจี้ ะเริม่ ตั้งแต่ 0-7 หรือ 0-15 ตามแต่ชนิดของพอร์ต SCSI ซง่ึ ID ของอุปกรณ์แตล่ ะตัวตอ้ งไม่ตรงกันจงึ จะสามารถใช้งานได้
1. Jumper นนั้ จะมีลกั ษณะเป็นพลาสตกิ รูปสีเ่ หลย่ี มขนาดเลก็ ภายในจะมแี ผ่นโลหะนาไฟฟ้า เวลาจะใช้งานก็จะนาตวั Jumper มาเสียบลงท่ีคขู่ าใดคู่หนง่ึ ซ่ึงขาดงั กล่าวจะติดอยกู่ ับเมนบอร์ด การกาหนดเลขประจาตัวอุปกรณ์ในแตล่ ะช้ินด้วยการเซตค่า Jumper ทอ่ี ุปกรณ์เหล่านั้นให้ไมซ่ ้ากนั (SCSI address) ซึง่ จะมคี ่าต้ังแต่ 0-7 คอืหมายเลข 0 ใชก้ บั ฮารด์ ดสิ กท์ ใ่ี ช้สาหรับบูตเครือ่ งหมายเลข 1 ใชก้ ับฮาร์ดดสิ กต์ ัวทส่ี องหมายเลข 2-6 สาหรบั อปุ กรณ์อ่นื ๆเช่น ฮาร์ดดิสก์เพ่ิมเตมิ หรือ CD-ROM เป็นตน้ ฮารด์ แวร์ทุกตวั ใช้กับ SCSI ต้องถูกออกแบบมาโดยเฉพาะเท่านั้น เช่น Host Adapter ที่เป็น SCSI ฮารด์ ดิสกแ์ บบ SCSI, CD-ROM แบบ SCSI หรอื เคร่อื งสแกนเนอร์แบบ SCSI เปน็ ตน้หมายเลข 7 จะสงวนไว้สาหรับตวั SCSI Card ภาพแสดงการระบุหมายเลข ID แบบ Jumper (www.sunshack.org)ตวั คณู ความถ่แี ละความเร็วของระบบบสัก่อนทเ่ี ราจะทาการกาหนดค่า Jumper เราจะตอ้ งทาความรู้จกั กบั ตวั แปร 2 ตวั กอ่ น คอื 1. ตวั คูณความถี่ (Frequency Ratio) อาจเรยี กสั้นๆว่า ตวั คณู หมายถึงอตั ราสว่ นของความเรว็ ภายในซพี ียูตอ่ ความเร็วภายนอกซีพยี ู ตวั อยา่ งตัวเลขของตวั คูณ เชน่ 3.5x, 4.0x,4.5x, 5.0x เปน็ ต้น ความหมายของตวั เลข 3.5x คอื ซพี ยี มู ีความเร็วเป็น 3.5 เทา่ ของความเร็วบัส 2. ความเรว็ ของระบบบสั (Bus Frequency) หรือเรียกว่า ความเร็วบัส หมายถึง ความเรว็ภายนอกซีพียู ตัวอย่างตวั เลขของความเร็วบสั ทีใ่ ช้กัน เช่น 66, 75, 100, 133 เมกะเฮิรตซ์ ความเร็วซพี ียู = ตวั คณู ความถ่ี X ความเรว็ บสั 2. DIP Switch นีจ้ ะมลี ักษณะเป็นพลาสติกรูปสเ่ี หล่ียมภายในจะมสี วติ ช์ขนาดเล็กวางเรยี งกัน การกาหนดคา่ ขนึ้ อยูก่ บั ชนิดของ SCSI แตล่ ะชนิด
ภาพแสดงการระบุหมายเลข ID แบบ DIP Switch (www.sunshack.org) สว่ นการกาหนด “Terminate” น้ัน ในยคุ ก่อนหน้านี้ ก็จะเป็นท่ตี อ้ งใชจ้ ัมเปอร์หรือดพิสวิทช์เหมอื นกัน แตใ่ นปจั จุบัน SCSI สามารถตรวจสอบหาอปุ กรณท์ ่ีอยู่ปลายสุดของสายเคเบิลไดโ้ ดยไม่จาเปน็ ต้องเซตอัพ “Terminate” ให้กับอปุ กรณ์ตัวสดุ ทา้ ยของปลายสายอีก2.6 Single-Ended และ Differential การเดินสายสัญญาณท่ีใชใ้ นบัส SCSI เป็นสง่ิ กาหนดถึงสมรรถนะของบสั เทคนิคการเดนิ สายเส้นสองเส้นโดยทัว่ ไปถูกใชส้ าหรับ SCSI เป็นแบบ single-ended และ differentialสกีมการเดนิ สายทัง้ สองตา่ งมขี อ้ ดขี ้อเสยี ตา่ งๆ กนั 1. เทคนิคการเดินสายแบบ single-ended (SE) คอื ใชส้ ายเดยี วนาสัญญาณหน่งึ ๆจาก initiator ไปยัง target แตล่ ะสัญญาณจะใชเ้ พยี งเส้นเดยี ว ความต้านทานท่ใี ชป้ ดิ ปลายท่ีแตล่ ะดา้ นของสายชว่ ยให้รักษาระดับสญั ญาณอยู่ในค่าที่ยอมรับได้ กราวด์รว่ ม (commonground) หรือสายกลบั (return) เปน็ สว่ นอ้างอิงของสญั ญาณ single-ended ท้ังหมด แต่วงจรsingle-ended ไม่สามารถทนทานต่อสญั ญาณรบกวนทม่ี ากได้ ดงั น้ันการเดินสายแบบsingle-ended จะจากัดไว้ไม่ใหเ้ กิน 6 เมตรที่ความเร็วการถา่ ยโอนท่ี 5 MHz หรอื น้อยกว่าทีค่ วามเรว็ การถ่ายโอนขอ้ มูลท่สี ูงขน้ึ ความยาวสายอาจจะสนั้ เหลอื เพยี ง 1.5 เมตร ทง้ั ๆ ที่มีข้อด้อยเช่นน้ี แตก่ ารใชง้ าน single-ended กท็ าได้งา่ ย และไดร้ บั ความนิยม 2. การเดินสายแบบ differential (DIF) ใช้สายสองเส้นสาหรบั แตล่ ะสญั ญาณ (แทนที่จะใชส้ ายกราวด์รว่ มกนั ) สัญญาณ differential มีความทนทานต่อสัญญาณรบกวนได้ดีเน่อื งจากไม่ไดใ้ ช้กราวด์รว่ มกนั ทาใหใ้ ชส้ ายได้ยาวขึน้ (มากกว่า 25 เมตร) และทางานที่ความเรว็ สูงกวา่ (10 MHz) การใชก้ ลมุ่ ของตัวตา้ นทานทแี่ ต่ละปลายสายชว่ ยให้แนใ่ จถึงความถูกต้องของสญั ญาณ ปญั หาของการเดนิ สายแบบ differential ก็คอื ซับซอ้ นกว่าอนิ เตอรเ์ ฟสแบบ single-ended 3. Low-voltage differential (or LVD) SCSI เปน็ การรวมเอามาตรฐาน SPI-2 ของSCSI-3 ซง่ึ ทางานท่ี 303 Vdc แทนท่ีจะเป็น 5Vdc เป้าหมายของ LVD คอื ยอมใหม้ อี ตั ราการถา่ ยโอนข้อมลู ทเี่ รว็ ข้ึนไปอกี ขณะทเ่ี ป็นการรวมข้อดีจากสกีนของบัสแบบ single-endedและ differential SCSI ใน LVD นี้จะเปราะบางตอ่ สัญญาณรบกวนของสนามแม่เหลก็ ไฟฟ้าน้อยกวา่ และทาให้ได้อตั ราการถา่ ยโอนสงู มีทค่ี วามยาวสายมากกว่าของ single-ended busLVD เปน็ อนิ เตอรเ์ ฟสท่ีกาหนดในการใช้ด้วย Uitra-2 SCSI และ Ultra160/m specificationแมว้ า่ LVD จะไม่คอมแพทิเบลิ โดยตรงกับการเดินสายแบบ single-ended อปุ กรณ์จะใช้multimode driver circuit ท่มี กี ารตรวจจับชนดิ ของบัสท่ีใช้อย่างอตั โนมัติ และสวติ ช์หรอื ย้ายไปโหมดทางานทเี่ หมาะสม ส่งิ น้ชี ่วยให้ใชอ้ ุปกรณ์ LVD/SE บนบัส single-ended ไดโ้ ดยไม่ตอ้ งเปลี่ยนค่าสวิตชห์ รือจั๊มเปอรเ์ ลย ดงั นั้น LVD จงึ คอ่ ยๆ เพม่ิ การใช้กันมากข้ึน โดยไมต่ อ้ งอพั เกรดหรือเปลี่ยนอุปกรณ์ single-ended เม่อื ใช้อุปกรณ์ LVD/SE ในบัส single-ended
จะทาใหเ้ สยี ข้อดขี อง LVD ไปเม่อื มีการต่ออปุ กรณ์ single-ended กบั บัส LVD/SE บสั ท้ังหมดก็จะสวติ ช์ไปที่โหมด single-ended2.7 BUS Length อย่างทไี่ ด้ทราบมาแลว้ วา่ อปุ กรณ์ SCSI ตอ่ เปน็ สายหรือ daisy-chained ดว้ ยสาย50 พินหรอื 68 พนิ ความยาวทงั้ หมดของสายนเ้ี ป็นบัส SCSI โดยรวมทง้ั หมด เม่ือมแี ต่อปุ กรณ์ SCSI แบบภายใน ความยาวบัสจะถกู วดั จาก SCSI host adapter ไปยังอุปกรณ์SCSI ภายในตัวสุดทา้ ยบนสาย (อปุ กรณ์ตัวสดุ ท้าย) เมือ่ มีเฉพาะอปุ กรณ์ SCSI แบบภายนอกความยาวบสั ถกู วดั จาก SCSI host adapter ไปยงั อุปกรณ์ SCSI แบบภายนอกตัวสดุ ทา้ ยบนสาย เมอื่ เป็นอปุ กรณ์ทั้งแบบภายนอกและภายใน ความยาวบัสบัสถกู วัดจากอปุ กรณ์ภายนอกตัวสุดทา้ ยไปยังอปุ กรณ์ภายในตัวสดุ ท้าย มีข้อจากัดในเรอื่ งความยาวของ SCSI bus ยง่ิ การทางานของ SCSI เร็วมากข้ึนมากเพยี งใด ความยาวบัสทีใ่ ช้ไดจ้ ะยงิ่ สั้นลงไป ตารางท่ี 2 แสดงถึงความยาวบัสสงู สดุ ของแบบ single-ended, differential และ low-voltage differential (LDV)signaling ตาราง แสดงความยาวบัสสูงสดุ ของ SCSI (Stephen J. Bigelow, 2546)2.8 Initiators และ Targets บนบัส SCSI มีอปุ กรณ์พื้นฐาน 2 ชนดิ ดว้ ยกัน คอื initiators และ targets ตวั initiatorจะเริ่มตน้ การส่อื สารเมื่อบางสงิ่ ได้ถูกกระทาแล้ว และ target จะตอบสนองต่อคาส่งั ของ initiatorความสมั พันธ์ master/slave เป็นอกี สง่ิ ท่ีสาคัญ เนือ่ งจากไม่ไดเ้ ปน็ การัดการแบบทางเดยี วinitiator อาจกลายเปน็ target ท่ีบางจดุ ในรอบการถา่ ยโอนข้อมลู และ ในทางตรงกันข้าม targetอาจกลายเปน็ initiator ในจุดอ่ืนๆ บสั SCSI สามารถซัพพอร์ตอปุ กรณ์ได้ถึง 8 ตวั พร้อมกัน แต่ต้องมี initiator และ target อยา่ งน้อยอย่างละหนง่ึ ตวั ในระบบ SCSI host adapter card
โดยท่วั ไปเป็น initiator และอปุ กรณอ์ ่ืนๆ ท้งั หมด (เชน่ ฮาร์ดดิสก์ หรอื CD-ROM) ปกติจะเปน็target แตไ่ มจ่ าเป็นตอ้ งเป็นเชน่ นเี้ สมอไป2.9 SCSI ID และ LUN บสั SCSI ท่ัวไปจะรองรับอปุ กรณ์ได้มากถึง 8 ตัว เรียกวา่ logical unit และอปุ กรณเ์ หล่านีแ้ ตล่ ะตัวใช้ ID ในการบ่งชถ้ี ึงมัน หมายถึง ว่าอปุ กรณแ์ ต่ละตวั บนบสั ตอ้ งมีหมายเลข ID ที่ไม่ซา้ กัน (0-7) ถ้ามีอปุ กรณ์ 2 ตัวท่ีใช้ ID เดยี วกัน กจ็ ะเกิดการขดั แยง้ IDโดยท่ัวไปจะถูกกาหนดบน SCSI adapter และอุปกรณ์ SCSI แตล่ ะตวั จะใชจ้ ๊มั เปอร์ หรือ ดพิ สวิตซ์ โดยท่ัวไป SCSI adapter ถูกกาหนดเปน็ ID7 ฮาร์ดดิสก์ SCSI ตัว primary กาหนดเปน็ID0 และฮารด์ ดิสก์ SCSI ตวั second กาหนดเป็น ID1 อปุ กรณต์ วั อน่ื ๆปกตจิ ะใชค้ ่าอยู่ระหว่างID2-ID6 ในการทางานของ Wide (16bit) SCSI bus สามารถรับอปุ กรณไ์ ด้มากถงึ 16 ตัวโดยใช้ID เปน็ 0-15 Adaptec 39160 จะมี 16-bit channel สองตวั ดงั นั้นมนั จงึ ซัพพอรต์ อปุ กรณ์SCSI ได้มากถึง 30 ตัว มาจากการที่ 16-bit channel 2 ตวั ก็จะมี 32 ID หกั ออกดว้ ย ID ของคอนโทรลเลอร์ในแตล่ ะ channel จงึ เหลอื ใช้ได้ 30 ID คาแนะนาทว่ั ไปสาหรับการใช้ SCSI IDเปน็ ดังน้ี - สาหรบั อุปกรณ์ SCSI ภายใน การกาหนด SCSI ID ปกตจิ ะถกู กาหนด ด้วยคอน ฟกิ จั๊มเปอรบ์ นตวั อุปกรณ์ - สาหรับอปุ กรณ์ SCSI ภายนอก การกาหนด SCSI ID ปกติจะถูกกาหนดดว้ ยสวติ ซ์ทอ่ี ยู่ ดา้ นหลังตวั อปุ กรณ์ - การใช้หมายเลข SCSI ID ไม่จาเป็นต้องเรียงตามลาดบั ขอเพยี งแตใ่ ห้ SCSI host adapter และอปุ กรณแ์ ตล่ ะตัวใชห้ มายเลขนีไ้ ม่ซา้ กัน - บนบสั SCSI ID7 เป็นตัวท่ีมี priority สูงท่ีสุด ของ ID ท่เี หลือจะเรียงจากมากไปน้อย คอื 6 ไป 0 แลว้ ตามดว้ ย 15 ไป 8 - บนระบบบัส SCSI ส่วนใหญ่ host adapter ถกู กาหนดที่ ID7 สาหรับ priority สงู ทีส่ ุด บน multiple SCSI bus adapter เช่น Adaptec 39160 ส่วน SCSI bus channel ทง้ั 2 จะถกู กาหนดล่วงหน้าไวท้ ่ี SCSI ID7 และจะเปลีย่ นค่าไมไ่ ด้ - ฮารด์ ดิสก์ SCSI ภายในส่วนใหญ่จะถกู กาหนดลว่ งหนา้ จากโรงงานทค่ี ่า SCSI ID0 - ถา้ มีอุปกรณ์ SCSI 8-bit (Narrow) มันต้องใช้ SCSI ID 0,1,2,3,4,5หรอื 6 แนะนาใหใ้ ช้ คา่ SCSI ID0 สาหรบั ฮาร์ดดสิ ก์ SCSI ตัวแรก (ตัวบตู หลกั ) - ถา้ บูตคอมพวิ เตอร์จากฮาร์ดดสิ ก์ SCSI การเซตอพั ภายในของ SCSI host adapter ต้องถกู กาหนดดว้ ย ID เดยี วกนั กับไดรฟ์ ท่ีใช้บตู ดว้ ย ตวั อยา่ งเชน่ เมอื่ บตู จาก Adaptec 39160 controller คา่ กาหนด Boot SCSI ID ในยทู ิลิต้ี SCSI Select ต้องสอดคลอ้ งกบั SCSI ID ของอุปกรณ์ท่ีใชบ้ ูต โดยดฟี อลต์ Boot SCSI ID ต้องถกู กาหนดไวท้ ่ี 0 สาหรบั ฮาร์ดดิสก์ SCSI ตวั แรก โดยท่วั ไปไม่จาเปน็ ต้องเปลยี่ นค่ากาหนดน้ี
ภาพ การกาหนดจ๊มั เปอร์ SCSI ID (Stephen J. Bigelow, 2546) Logical unit numbers(LUNs) คลา้ ยกับ SCSI ID เนอ่ื งจากท้ังสองต่างกบ็ ่งช้ถี ึงอุปกรณ์SCSI แต่ LUN บง่ ชี้อุปกรณ์ในอปุ กรณ์ ส่วนย่อยใน ID ทุก SCSI ID จาก 0-7 จะได้มี 8 LUN(และ 64 LUN ใน SCSI-3) หรอื มอี ุปกรณ์ย่อย 8 ตวั ทุกอปุ กรณ์ ที่ ID หนง่ึ ๆ ถา้ จาเป็นต้องใช้อุปกรณ์มากกว่า 8 ตวั บนบัส SCSI สามารถกาหนดอุปกรณ์ใหต้ อบสนองต่อ SCSI ID และให้แตล่ ะอุปกรณ์ใช้ ID ทต่ี อบสนองตาม LUN คา่ ตา่ งๆตัวอย่างเช่น ถ้ามีฮาร์ดดสิ ก์ 3 ตัวเปน็ E:,F: และ G: สามารถใหไ้ ดร์ฟทงั้ 3 ตัวนี้ใช้ ID2 ได้แต่ E: อาจจะถกู กาหนดไว้เป็น LUN0,F: เปน็LUN1 และ G เปน็ LUN2 ซ่ึงมกั เกดิ ขึ้นในระบบ SCSI RAID ท่มี ีอุปกรณ์มากกว่า SCSI ID ท่ีใชไ้ ด้ ผใู้ ช้ SCSI ไมส่ ามารถตัดสินใจเลอื กกาหนด LUN และ SCSI adapter หลายรุ่นดว้ ยกันก็ไมม่ กี ารตรวจสอบ LUN หากมอี ุปกรณท์ ่ใี ช้ LUN (เชน่ CD jukebox) อาจกาหนดใช้งาน LUNsupport ในไบออสของ host adapter หรอื ไดรเวอร์ของอุปกรณ์2.10 ประโยชน์และการประยุกต์ใชง้ าน Parallel SCSI SCSI สามารถใชไ้ ดต้ ง้ั แต่คอมพิวเตอร์ส่วนบคุ คลทัว่ ไปไปจนถึง Mainframe ถึงแม้ว่าคอมพวิ เตอร์ส่วนบคุ คลมักจะมาพร้อมกับ IDE (Integrated Drive Electronics อย่แู ล้วก็ตามแต่ข้อดขี อง SCSI ในคอมพิวเตอรส์ ่วนบคุ คลนน่ั คือ สามารถตอ่ สแกนเนอรแ์ ละอปุ กรณอ์ ื่นๆ(เช่น CD-Rs, DVD-RAM, Zip drives เปน็ ตน้ ) รวมทั้ง hard drives ได้ดว้ ย SCSI cable chainเพยี งตวั เดียว แตข่ ้อดนี ้ไี ดล้ ดความสาคญั ลงไปเนื่องจากปจั จบุ ันมี interface ชนดิ อ่ืนคือ USBและ FireWire เรม่ิ เป็นทนี่ ิยมมากขึ้นลักษณะเฉพาะตวั ของ SCSI คือ ในกรณที ีใ่ ชก้ ับ networkservers ท่มี ี hard drives หลายตัวทสี่ ามารถ configured as fault-tolerant RAID clustersในขณะท่ไี ดรฟ์ ใดไดรฟ์ หนง่ึ เสีย มันสามารถถอดออกและใส่ตัวใหม่เข้าไปได้โดยไมส่ ูญเสยี ขอ้ มลูเก่าไปแม้ในขณะระบบยังทางานอยู่ SCSI-based RAID เปน็ ที่แพร่หลายใน file servers,database servers และ network servers อ่ืนๆ ภายใน Windows 95/98/NT/2000/XP และแมคอนิ ทอช สามารถใชก้ ับ SCSI ไดเ้ ลยส่วน Windows 3.1 และ ดอส ต้องทาการตดิ ต้ังไดรเวอร์ของ SCSI SCSI chain เป็นข้อดหี น่งึ ของ SCSI ทส่ี ามารถเชอ่ื มต่ออปุ กรณอ์ ื่นกับ host adapterตัวหนงึ่ โดยใช้ เพียงสลอ็ ทเดียว ASPI & CAM เน่อื งจาก SCSI ไม่สามารถใช้กบั Windows 3.1 และ DOS ได้ ดงั นน้ัหากจะเชื่อมต่ออปุ กรณ์ SCSI 2 ตวั กต็ อ้ งใช้ host adapter ถึง 2 ตวั ซ่งึ ขดั กบั ข้อดีของ SCSIฉะนัน้ จึงมีการนา ASPI และ CAM มาใช้เพอื่ แกป้ ญั หาน้โี ดยมันจะชว่ ยขจดั ความแตกต่างและทาใหเ้ กดิ interface ระหว่าง host drivers กับ host adapters อปุ กรณ์ SCSI สว่ นใหญ่สามารถ
ใช้ ASPI และ CAM ได้ สาหรับ Windows 95/98 ท่ี support SCSI จึงสามารถใช้กับ ASPI และCAM ได้ด้วย ดังน้นั โปรแกรมเก่าๆบางโปรแกรมอาจจะไมส่ ามารถทางานได้ SCSI & LAN SCSI ทาหนา้ ที่เหมอื นกบั mini-LAN ซ่ึงสามารถตอ่ กับอปุ กรณ์ได้ 8 หรือ16 ช้ิน เมื่อนบั host adapter เป็นอปุ กรณห์ นง่ึ กเ็ ท่ากับวา่ มันสามารถตอ่ กับอปุ กรณช์ นดิ อื่นได้7 หรือ 15 ช้ิน นอกจากนนั้ SCSI ยังยอมใหอ้ ปุ กรณ์ 2 ชนิดเชื่อมกันไดใ้ นเวลาเดียวกนั ไมว่ ่าจะเป็น host กับอุปกรณ์อื่น หรอื ระหว่างอุปกรณ์อน่ื 2 ช้ิน
Search
Read the Text Version
- 1 - 14
Pages: