ชมุ ชนแห่งการเรียนรูท้ างวิชาชพี (Professional Learning Community) PLC ครูบันทกึ และหรอื ผอ.บนั ทึกผลการตรวจสอบ ท่ี ๔ 1.ช่ือกจิ กรรมกลุ่ม พัฒนาการเรียนการสอนออนไลน์ เพอื่ เพม่ิ ความสนใจของเด็กปฐมวยั วชิ าการ บคุ คล งบประมาณ บรหิ ารงานทว่ั ไป กจิ กรรมนักเรียน กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น 2.สมาชิกกลุ่ม 8 คน 3. ช่ือกิจกรรม ร่วมแก้ปัญหาการจดั ประสบการณ์การเรยี นรกู้ ารทดลองวทิ ยาศาสตรน์ อ้ ยรปู แบบ ออนไลน์ ระดับชนั้ ปฐมวัย 4. คร้ังท่ี ๔ ภาคเรยี นที่ ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ 5. วนั ท่ี ๗ เดือน ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ 6. เวลาเรมิ่ ตั้งแต่ ๑๓.๓๐ ถงึ ๑๕.๓๐ น. จำนวนช่วั โมง ๒ ช่วั โมง 7. ผรู้ ว่ มอภิปราย/ผ้รู ่วมกจิ กรรม ชอื่ -นามสกุล ลงนาม บทบาทสมาชิก 1.นางสาวนุชาดา ศรกี ลับ Model Teacher ผูเ้ สนอ 2.นางสาวหทยั กาญจน์กานต์ สพานทอง Buddy Teacher ครูรว่ มเรียนรู้ ๓.นางอญั ชลี สนุ ยานยั Buddy Teacher ครูร่วมเรียนรู้ ๔.นายสุวทิ ย์ นวลสังข์ทอง Buddy Teacher ครรู ว่ มเรียนรู้ ๕.นางสาวณฐั กานต์ นาควงศ์ Expert Teacher ผเู้ ชยี่ วชาญ 6.นางกัญญปาณสิ ปราบทมูล Mentor ผู้ให้คำแนะนำ 7.นางสาวสภุ าพร รกั ชา้ ง Adminstrator ผู้นำ/ประธาน 8.นางสาวณชิ มล เมตตา Secretary เลขานุการ ๘. ประเด็น มีประเดน็ ปัญหาท่ีตอ้ งแก้ไข และพัฒนาเรง่ ด่วน ๑. เนอ่ื งจากสถานการณก์ ารแพร่ระบาดเช้ือไวรัสโควิด-19 ครูไม่สามารถจดั ประสบการณ์ การเรยี นรู้ท่โี รงเรยี นได้ ซง่ึ เป็นอปุ สรรคสำหรับการทำการทดลองบา้ นนักวิทยาศาสตร์น้อย ที่ต้อง สาธิตให้เด็กๆดแู ละทำการทดลองไปพร้อมกับเพ่ือนเป็นกลุ่ม ครจู ึงมีความจำเปน็ ที่ต้องขอความ ร่วมมอื จากผปู้ กครอง เพ่ือให้ผู้ปกครองทำหน้าทรี่ ว่ มกันกับครใู นการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ ๒. เด็กๆขาดแคลนอุปกรณ์ในการทดลอง และเป็นภาระของผปู้ กครองทีต่ ้องจดั หา
ขอ้ มลู บันทึกกิจกรรม PLC ชุมชนแหง่ การเรยี นรูท้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community) ในสาระ เรอ่ื ง การจัดกจิ กรรมการทดลองบ้านนักวิทยาศาสตรน์ ้อยที่สร้างสรรคแ์ ละสอดคลอ้ งกบั บริบทของชุมชน ๙. สาเหตุ ๑.เด็กๆไมส่ ามารถทำการทดลองตามกิจกรรมการทดลองนกั วิทยาศาสตร์น้อย โดยดูจาก วีดโี อทีค่ รูสง่ ไปให้เดก็ ๆได้ เนื่องจากในการทดลองแต่ละกิจกรรมประกอบดว้ ยอุปกรณห์ ลายรายการ และบางรายการเป็นอุปกรณ์ที่ผู้ปกครองไมส่ ามารถหาได้จากในบา้ น เชน่ กระดาษกรอง หลอดเชือ่ ม ขวดทอร์นาโด หมดุ ติดกระดาษ ฯลฯ ๒.ผู้ปกครองและเด็กๆไม่สามารถทำการทดลองโดยลำพงั โดยปราศจากแนะนำของครู 1๐. ความรหู้ ลัก และการนำไปใช้ ในการแกป้ ญั หา/พฒั นาผู้เรยี นในประเด็นปัญหา ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป็นเครื่องมือทน่ี ักวิทยาศาสตร์ใชใ้ นการสำรวจตรวจสอบเพื่อทำ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั ปรากฏการณ์ต่างๆ ทางธรรมชาติ ไดใ้ ห้คำจำกดั ความว่าทกั ษะกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตร์ เปน็ ความสามารถทัง้ ทางดา้ นความคิดและการปฏบิ ัติ ซ่ึงนับว่าเปน็ เครอ่ื งมือทีส่ ำคัญในการศกึ ษา และพฒั นาทางดา้ นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีซงึ่ ความสามารถน้ีจะสะท้อนถงึ พฤติกรรมหรอื คุณลกั ษณะของ นกั วิทยาศาสตร์ได้เป็นอย่างดี วธิ ีการทางวิทยาศาสตรม์ าแก้ปญั หา ใชใ้ นการศึกษาค้นควา้ สืบเสาะหาความรู้ ซ่ึงไดก้ ำหนดทกั ษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ออกเปน็ 13 ทักษะ ตามสมาคมเพอื่ ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตรข์ อง ประเทศสหรัฐอเมรกิ าโดยแบ่งออกเปน็ ทักษะกระบวนการข้ันพนื้ ฐาน 8 ทกั ษะ และ ทักษะกระบวนการขั้น บูรณาการ 5 ทกั ษะดังนี้ 1. ทกั ษะกระบวนการข้ันพ้ืนฐาน 8 ทกั ษะ ไดแ้ ก่ 1) ทกั ษะการสงั เกต 2) ทกั ษะการวัด 3) ทักษะ การจำแนกประเภท 4) ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหวา่ งสเปสกบั สเปส และ สเปสกบั เวลา 5) ทกั ษะการคำ นวณหรอื ใช้ตัวเลข 6) ทักษะการจดั กระทำและสอื่ ความหมายข้อมูล 7) ทกั ษะการลงความเหน็ จากข้อมลู และ 8) ทักษะการพยากรณ์ 2. ทักษะกระบวนการขน้ั บรู ณาการ 5 ทักษะ ได้แก่ 1) ทักษะการตั้งสมมตฐิ าน 2) ทักษะการก าหนดและควบคุมตัวแปร 3) ทักษะการก าหนดนยิ ามเชิงปฏิบตั ิการ 4) ทักษะการทดลอง 5) ทักษะการ ตคี วามหมายของขอ้ มูล Saguansri (2007) ได้รวบรวมไวว้ ่า ทกั ษะท่ีจำเปน็ และสามารถฝึกปฏิบัติได้สำหรบั เด็กปฐมวัยมี 7 ทักษะ ได้แก่ การสังเกต การวัด การจำแนกประเภท การหาความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสเปสกบั สเปสและสเปส กับเวลา ทักษะการคำนวณหรือใช้ตัวเลข ทักษะการจัดกระทำและสื่อความหมายของข้อมูล และทักษะการลง
ความเห็นจากข้อมูลทงั้ นีก้ รอบมาตรฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตรป์ ฐมวัย ตามหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย พ.ศ. 2546 ไดก้ ำหนดไว้วา่ แนวทางการจดั การเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ควรสง่ เสริมทกั ษะกระบวนการทาง ให้กับเดก็ ใน ระดบั ปฐมวยั อย่างนอ้ ย 8 ทักษะ (IPST, 2011, pp. 67-68) ซ่ึงมีรายละเอยี ด ดังนี้ 1. ทักษะการสังเกต (Observing) หมายถึง การใชป้ ระสาทสมั ผสั อยา่ งใดอยา่ งหนึ่งหรือหลายอย่าง เขา้ รว่ มกนั ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น ผิวกาย เขา้ ไปสมั ผสั โดยตรงกบั วตั ถุหรือเหตุการณ์เพื่อค้นหาขอ้ มลู ซ่ึงเป็น รายละเอียดของส่ิงน้ันโดยไมใ่ สค่ วามเห็นของผสู้ ังเกตลงไป 2. ทักษะการวดั (Measuring) หมายถึง การเลอื กและใชเ้ ครื่องมือ ท าการวดั หาปริมาณของส่ิงต่างๆ ออกมาเป็นค่าที่แน่นอนไดอ้ ย่างเหมาะสม 3. ทกั ษะการจำแนก (Classifying) หมายถึง การแบ่งพวกหรอื เรียงล าดับวตั ถหุ รอื สงิ่ ที่มีอย่ใู น ปรากฏการณ์โดยมีกฎเกณฑ์ ซ่งึ อาจเปน็ ความเหมือน ความแตกตา่ ง หรอื ความสมั พนั ธ์อย่างใดอยา่ งหนง่ึ 4. ทกั ษะการหาความสมั พันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา (Using Space/Time Relationships) หมายถงึ การหาความสัมพันธร์ ะหวา่ งมิติของวตั ถุระหว่างตำแหน่งท่ีอยู่ของวัตถุหนึ่งกบั อีก วัตถุหนง่ึ และระหว่างการเปล่ียนต าแหนง่ หรอื มติ ิของวัตถุกบั เวลาท่ีเปล่ยี นไป 5. ทกั ษะการคำนวณ (Using Numbers) หมายถงึ การนับจำนวนของวัตถุและการน าค่าท่ีได้มา เปรยี บเทยี บกนั 6. ทักษะการจัดกระทำและสื่อความหมายของข้อมลู (Organizing Data and Communicating) หมายถงึ การนำข้อมลู ที่ไดจ้ ากการสังเกต การวัด การทดลอง และจากแหลง่ อน่ื ๆ มาจดั กระทำใหม่ และนำ เสนอเพื่อให้ผู้อน่ื เข้าใจความหมาย 7. ทกั ษะการลงความคดิ เหน็ จากข้อมูล (Inferring) หมายถงึ การเพิม่ ความคิดเห็นให้กับขอ้ มลู ท่ไี ด้ จากการสังเกตอย่างมีเหตผุ ลโดยอาศัยความรู้และประสบการณ์เดิมมาชว่ ย 8. ทักษะการพยากรณ์ (Predicting) หมายถึง การคาดคะเนค าตอบลว่ งหน้าก่อนจะทดลองโดย อาศยั ปรากฏการณ์ทเี่ กิดซ้ำ หลักการ กฎ หรือ ทฤษฎที ม่ี ีอยู่แลว้ ในเร่ืองนั้นมาช่วยสรปุ สำหรบั การจดั การเรยี นรู้ทส่ี ง่ เสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์น้ันวธิ ีการจดั การเรยี นรทู้ น่ี ิยม ใชใ้ นการสง่ เสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ก็คือ การจัดการเรยี นรู้แบบสืบเสาะและการเรยี นรู้แบบ โครงงานซ่ึงจากงานวจิ ยั หลายๆ งานวิจัยตา่ งได้ขอ้ สรุปวา่ การจัดการเรยี นรแู้ บบสบื เสาะและการจดั การเรยี นรู้ แบบโครงงานสามารถพัฒนาทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรใ์ ห้กบั เด็กปฐมวยั ได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ ได้ครบท้ัง 13 ทกั ษะ ทัง้ น้ีไม่ไดห้ มายความว่าเมือ่ เรยี นรดู้ ว้ ยวัฏจักรการสืบเสาะครบ 6 ขัน้ จะท าให้เด็กได้ เกิดทกั ษะ รปู แบบการสอนวิทยาศาสตร์แบบวธิ กี ารสอนโดยการลงมือปฏิบตั ิ ( Practice ) เปน็ วธิ ีสอนทีใ่ หป้ ระสบการณ์ตรงกบั ผเู้ รียน โดยการให้ลงมือปฏิบตั จิ ริง เป็นการสอนทม่ี ุง่ ให้เกดิ การ ผสมผสานระหวา่ งทฤษฎแี ละภาคปฏบิ ตั ิ การลงมือปฏิบตั ิมักดำเนนิ การภายหลงั การสาธติ การทดลองหรือ การบรรยาย เปน็ การฝึกฝนความรู้ความเขา้ ใจจากทฤษฎที ่ีเรยี นมาโดยเนน้ การฝกึ ทักษะ การจดั กิจกรรมเรียนรู้
1.ขัน้ เตรยี ม ผู้สอนกำหนดจุดมุ่งหมายของการฝึกปฏบิ ัติ รายละเอียดของขนั้ ตอน การทำงาน เตรยี ม สอ่ื ตา่ ง ๆ เชน่ วสั ดุอุปกรณ์ เครอื่ งมือใบงานหรอื ค่มู ือการปฏบิ ัตงิ าน 2.ขั้นดำเนนิ การ ผู้สอนใหค้ วามรแู้ ละทักษะทีเ่ ป็นพ้นื ฐานในการปฏบิ ตั ิ มอบหมาย งานทีป่ ฏบิ ตั เิ ป็น กลุ่มหรือรายบุคคล กำหนดหัวข้อการรายงาน หรือการบันทึกผลการปฏิบัตงิ านของ ผ้เู รียน 3.ขั้นสรุป ผสู้ อนและผเู้ รียน ชว่ ยกนั สรปุ กิจกรรมการปฏิบัตงิ าน 4.ขน้ั ประเมินผล สงั เกตพฤติกรรมของผ้เู รยี น เชน่ ความสนใจ ความร่วมมอื ความเป็นระเบียบ การ ประหยดั การใชแ้ ละการเกบ็ รักษาเคร่ืองมอื และการตรวจผลงาน เช่น คุณภาพของงาน ความรเิ ร่ิม ความ ประณีตสวยงาม ๓.งานวิจัยท่ีนำหลักจิตวทิ ยาการเรียนร้นู ำมาใช้ในการพฒั นาการจดั การเรยี นรู้ สุพิทย์ กาญจนพนั ธ์ (2520 : 44) อา้ งอิงจาก Skinner. (1968) จติ วิทยาการเรยี นรู้นำมาใช้ในการ สรา้ งเอกสารประกอบการจัดการเรียนร้เู พ่ือใช้ฝึกทักษะผเู้ รียนนกั จิตวิทยาท่ีมีบทบาทสำคัญต่อการสอนโดยใช้ ชุดการฝึกทักษะคือ บี.เอฟ. สกินเนอร์ ทฤษฎีของสกินเนอร์ที่ใช้เป็นพื้นฐานในการสร้างชุดการฝึกทักษะ คือ นำเอากฎแห่งผล (Law of effect) ของธอร์นไดค์มาใช้เป็นหลักสำคัญขั้นต้นในการค้นคว้า สกินเนอร์มี ความเห็นว่าแม้จะไม่สามารถบอกตัวเรา้ ของพฤตกิ รรมหรือการตอบสนองได้แน่นอนก็ตามเรากส็ ามารถควบคุม พฤตกิ รรมหรือปฏกิ ริ ิยาตอบสนองของมนุษย์หรอื สัตว์ใหเ้ ป็นไปตามความต้องการโดยวธิ ีวางเงอ่ื นไข สกินเนอร์ได้กล่าวถึงการเสริมแรง (reinforcement) และการดัดรูปพฤติกรรม (shaping) ในชุดการ ฝึกทักษะ ดงั น้ี (Skinner , 1968) ๓.๑ การเสริมแรง เมื่อผูเ้ รียนแสดงอาการตอบสนอง ผูฝ้ ึกสามารถให้ส่ิงเรา้ บางอย่างท่ีอาจจะเปล่ียน อัตราการตอบสนองหรือไม่เปลี่ยนก็ได้ ถ้าการตอบสนองนั้นเป็นสิ่งที่ต้องการให้ผู้ฝึกก็ให้สิ่งเร้าใหม่ที่เรียกว่า “ตัวเสริมแรง”ในขณะที่ผู้เรียนกําลังเรียนด้วยชุดการฝึกทักษะ ผู้เรียนจะต้องตอบคำถามที่จัดเรียงไว้อย่างมี ระบบ การให้ผู้เรียนมโี อกาสทราบว่าคำตอบของตนถูกหรือผิดอยา่ งไรจะเป็นตัวเสริมกำลังใจในอันทีจ่ ะค้นหา คำตอบในชดุ การฝึกทกั ษะตอ่ ไป ๓.๒ การเสรมิ แรงอยา่ งฉับพลัน (immediate reinforcement) เมื่อผู้เรียนเลอื กคำตอบแล้วจะต้อง ให้ผเู้ รียนทราบคำตอบโดยเรว็ ทีส่ ดุ สกนิ เนอร์ กลา่ ววา่ ควรใหผ้ เู้ รยี นทราบคำตอบอย่างชา้ ไม่ควรเกินห้าหรือสิบ นาที คำตอบนน้ั จึงจะมผี ลตอ่ การเสรมิ กำลังใจ ๓.๓ การงดการเสรมิ แรง (extinction of reinforcement) เมอื่ ผเู้ รยี นตอบสนองต่อส่ิงเร้าผิดไปจาก ผูท้ ีฝ่ ึกต้องการ ผู้ฝึกจะตอ้ งกาํ จดั หรอื ลบพฤติกรรมการตอบสนองน้ันเสียโดยไมเ่ สริมแรงการตอบสนองนัน้ การ ตอบสนองนั้นค่อย ๆ ลดความสำคัญลงจนกระทั่งในที่สุดจะไม่มีความสำคัญ ไม่มีความหมาย และไม่มีการ เรียนรู้ต่อไป ในชุดการฝึกทักษะ การตอบสนองที่ไม่ถูกต้องของผู้เรียนจะลบเลือนไปเพราะไม่ได้รับการ เสริมแรง ๓.๔ การดัดรูปพฤติกรรม (shaping)การที่ผู้เรียนจะเกิดการเรียนรู้ได้อาจต้องอาศัยความรู้พื้นฐาน หลายๆ อยา่ งประกอบกนั พฤตกิ รรมของผู้เรยี นที่เปลี่ยนแปลงเพราะเกดิ การเรยี นรู้ประกอบดว้ ยตัวประกอบที่ ยุ่งยากและซับซ้อนในชุดการฝึกทักษะ จะแบ่งขั้นตอน การฝึกทักษะเป็นตอน ๆแล้วให้ผู้เรียนฝึกทีละขั้นโดย ค่อยๆ เสรมิ แรงทลี ะข้ัน ๆ จนจบชุดการฝกึ ทกั ษะ ทฤษฎกี ารเรยี นรู้อกี ทฤษฎีหนึ่งซ่งึ เปน็ พ้ืนฐานสำคญั ของชดุ การฝกึ ทักษะ คือ ทฤษฎคี วามต่อเนื่อง (connectionism) ธอรน์ ไดค์ได้วางหลกั เกณฑ์ไว้ดังนี้
1. จะมีสถานการณ์ทเี่ ปน็ ปญั หาหรือเปน็ สิ่งเรา้ ใหผ้ ู้เรยี นแสดงอาการตอบสนองหรือพฤติกรรมออกมา 2. ผเู้ รียนจะแสดงอาการตอบสนองหลายอย่างเพื่อแก้ปญั หาทเี่ กิดขึ้น 3. การตอบสนองทไี่ ม่ทำใหเ้ กิดความพอใจจะถูกตัดทิ้ง การตอบสนองทีใ่ ช้ไดผ้ ลดที สี่ ุดจะถูกเลอื กไว้ใช้ ในคราวตอ่ ไป กฎเกณฑก์ ารเรยี นรทู้ ่ีไดจ้ ากการทดลองของธอร์นไดค์ ซง่ึ นำมาใช้ในการฝึกฝนและเรียนรู้ คือ 1. กฎแห่งผล (Law of effect) กฎนี้กล่าวว่าสิ่งที่มีชีวิตจะเรยี นรูใ้ นสิง่ ที่ก่อให้เกิดผลตอบสนองท่ตี น มคี วามพอใจได้เร็ว และจะเรยี นรูใ้ นสงิ่ ทีก่ ่อให้เกดิ ผลตอบสนองทีต่ นไม่พอใจได้ช้ากว่าความต่อเนอ่ื งระหว่างสิ่ง เรา้ กับการตอบสนองจะแนน่ แฟ้นยิ่งข้ึนเมื่อผู้เรยี นมีความแนใ่ จว่าการตอบสนองหรือพฤติกรรมที่แสดงออกมา นั้นถกู ต้อง ผ้เู รยี นมักจะสนใจท่ีจะเรียนและฝกึ ฝนในสง่ิ ทเี่ ขาพอใจและคิดวา่ ทำได้สำเรจ็ 2. กฎแห่งการฝึกหัด (Law of exercise) พฤติกรรมใด ๆ ที่ทำอยู่เสมอย่อมเกิดความคล่องแคล่ว ชำนิชำนาญ สิ่งที่ทอดทิ้งไปนาน ๆ ย่อมจะลืมหรือกระทำสิ่งนั้นได้ไม่ดีเหมือนเดิม กฎข้อนี้เน้นในเรื่องการ กระทำซ้ํา ๆ กนั เพ่ือให้เกิดความแนใ่ จและชำนาญ 3. กฎแห่งความพร้อม (Law of readiness) กฎข้อนี้กล่าวว่า เมื่อผู้เรียนมีความพร้อมที่จะเรียนถ้า ได้เรียนรู้สมความปรารถนาจะทำให้เกิดความพอใจ เมื่อผู้เรียนมีความพร้อมที่จะเรียนถ้าไม่ได้เรียนก็จะเกิด ความรำคาญใจ และเมอื่ ผ้เู รียนยังไมม่ คี วามพร้อมทจี่ ะเรียน ถา้ ผูบ้ งั คบั ใหเ้ รียนยอ่ มก่อใหเ้ กิดความไม่พอใจ จากการศกึ ษาเอกสารทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับหลักสูตรปฐมวยั ทฤษฎีการเรียนรทู้ างจิตวทิ ยาทเ่ี ก่ียวข้องกับการ จัดการเรียนรู้ประกอบการสอนดังกล่าวข้างต้น สรุปได้ว่า การจัดการเรียนการสอนที่ใช้หลักจิตวิทยาในการ เรียนรู้เป็นฐานจะช่วยส่งเสริมให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเองตามจุดประสงค์อย่างมี ประสิทธิภาพ โดยมีผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง และผู้เรียนสามารถจะกลับไปศึกษาเรื่องที่ตนเองไม่เข้าใจได้ ตลอดเวลา แมว้ า่ จะไมม่ คี รคู อยควบคมุ ก็ตาม การสานสัมพนั ธค์ รูและผ้ปู กครอง ครู และ ผู้ปกครอง คือ หุ้นส่วนใหญ่ ที่ช่วยในการนำพาเด็กไปสู่ความสำเร็จ เนื่องจากครูเป็นผู้ที่รับ ช่วงการอบรมเลี้ยงดูจากผู้ปกครอง มีบทบาทสำคัญในการอบรมสั่งสอนวิทยาการความรู้ หล่อหลอมลักษณะ นิสัย ปลดปล่อยศักยภาพ สรา้ งแรงบนั ดาลใจ และนำทิศทางเดก็ ใหก้ ้าวไปสจู่ ุดมุ่งหมายทตี่ ั้งใจไว้ จงึ กลา่ วได้ว่า ครูเป็นผทู้ รงอิทธิพลคนหน่งึ ทม่ี ีความสำคัญต่อเด็กมากทเี ดียว เม่ือถือวา่ ครเู ปน็ หุ้นส่วนใหญ่ของผู้ปกครองเช่นนีแ้ ลว้ ผปู้ กครองรู้จักโรงเรียนหรือครูรู้จักเด็กเมื่ออยู่ที่ ดีแค่ไหนคำตอบที่ได้รับอาจมีหลากหลายแตกต่างกันไป เช่น รู้จักแต่ชื่อ ไม่รู้จักอะไรมากไปว่านั้น รู้จักดีมาก กับครขู องเด็ก มีการนดั พดู คยุ กันบ่อย ๆฯลฯ สำหรบั ครแู ละผ้ปู กครองท่ีรู้จักกันเป็นอยา่ งดี แต่น่าเป็นห่วงหาก ท้ัง 2 ฝ่าย ไม่ได้ทำความรู้จกั กนั เลย หรือหากรจู้ ักกเ็ พียงผวิ เผินเท่านน้ั การที่ทง้ั 2 ฝา่ ย ไม่ได้ตระหนกั ถงึ ความ จำเป็นในการทำความรู้จักกับครูของเด็ก ไม่ส่งผลดีใด ๆ เลยในการสร้างชีวิตเด็กได้ แตกต่างไปจากการที่ครู และผูป้ กครองมคี วามสนิทสนมคนุ้ เคยกนั ซ่งึ จะสง่ ผลดอี ยา่ งมากมายหลายประการเกิดข้นึ ตามมา อาทิ สามารถพัฒนาผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากครูและผู้ปกครองมีความสนิทสนมคุ้นเคยกั นเป็น อย่างดีย่อมส่งผลให้เกิดการทำงานร่วมกันเป็นทีม ในการดูแลและสร้างชีวิตเด็กได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยท่ี ทั้งสองฝ่ายมกี ารส่อื สารขอ้ มลู เกยี่ วกับเดก็ ระหว่างกนั ได้อยา่ งครบถว้ นในรายละเอียด ครสู ามารถทราบอุปนิสัย
ความชอบไม่ชอบของเด็กจากการที่ผู้ปกครองเล่าให้ฟัง ทำให้ครูสามารถจัดหาวิธีการเรียนการสอนที่ตรงกับ เด็กในแตล่ ะคนได้อยา่ งเฉพาะเจาะจงลงไป ไม่ต้องเสียเวลาลองผดิ ลองถกู สามารถลดช่องว่างระหว่างเด็กกับครู หากครูมีความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ปกครอง ย่อมสามารถทำหน้าท่ี เป็นตัวกลางในการสื่อความในใจของเด็กที่มีต่อผู้ปกครอง และความในใจของครูที่มีต่อเด็กได้เป็นอย่างดี ซ่ึง สามารถการสร้างทัศนคติท่ีดใี ห้เกิดขึ้นระหวา่ งครูกับนักเรียน ส่งผลใหเ้ ดก็ มีความสนใจและต้ังใจที่จะเรียนได้ดี มากขน้ึ มีความกลา้ ในการพดู คยุ และกล้ทีจ่ ะเขา้ หาครมู ากข้ึน เมื่อเห็นถึงประโยชน์ในการทำความรู้จักกับครูของเด็กเช่นนี้แล้ว ครูและผู้ปกครองควรหาโอกาสใน การสานสมั พนั ธ์ระหว่างกนั โดยเรมิ่ จากใหข้ ้อมลู ทีจ่ ำเป็นเกยี่ วกับโรงเรียนและครแู กผ่ ้ปู กครอง ครูควรใหข้ อ้ มลู ท่ีจำเป็นบางประการท่ีเกี่ยวข้องกับโรงเรียนแก่ผ้ปู กครองควร เช่น ข้อมลู พืน้ ฐานท่ัวไป ของโรงเรียน ไม่ว่าจะเป็นจำนวนครูต่อนักเรียน ปรัชญาแนวทางการเรียนการสอนของโรงเรียน วิธีการติดต่อ ประสานงานกับทางโรงเรยี น วิธกี ารวดั ผลการศกึ ษา ตารางสอน ตารางสอบ กิจกรรมชมรมตา่ ง ๆ ฯลฯ รู้จกั ครู ประจำชน้ั ครทู ี่สอนเด็กในรายวชิ าตา่ ง ๆ พร้อมเบอร์โทรท่สี ามารถติดต่อไดใ้ นครูแตล่ ะคนยามฉุกเฉินหรือเมื่อ ตอ้ งการขอคำปรึกษาในเร่ืองตา่ ง ๆ เป็นต้น ผ้ปู กครองควรแลกเปลย่ี นขอ้ มลู ขา่ วสารระหว่างกัน การสานสัมพันธ์กับครูให้สนิทสนมอย่างต่อเนื่องเป็นสิ่งจำเป็นและก่อให้เกิดประโยชน์กับตัวเด็ก ดงั นนั้ ครูและผู้ปกครองควรหาเวลาในการเข้าไปพูดคุยเป็นประจำ นอกเหนือจากวันทโ่ี รงเรียนจัดไว้เพื่อพบปะ ผปู้ กครอง สรา้ งความรูส้ ึกเปน็ เหมอื นกบั เป็นญาตสิ นทิ โดยประเด็นในการสอ่ื สารพูดคุยกัน ได้แก่ ครูเล่าสภาพของเด็กเมื่ออยู่โรงเรียนให้ผู้ปกครองเนื่องจากสภาพต่าง ๆ ตอนที่อยู่ในโรงเรียน ผ้ปู กครองไม่อาจเห็นได้ เช่น เดก็ ขยนั ต้ังใจเรียนหรือไม่ เดก็ สนใจและมีความถนัดในการเรียนวิชาใดเป็นพิเศษ ผลการเรียนของเด็ก เพื่อนสนิทของเด็ก ความสามารถในการเข้ากับกลุ่มเพื่อนได้ มีปัญหาทะเลาะเบาะแว้ง หรือเด็กมีพฤติกรรมที่ผิดแปลกไปจากเดิมบ้าง เป็นต้น ข้อมูลดังกล่าวเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อผู้ปกครองใน การสง่ เสรมิ และพัฒนาเด็กให้ตรงตามความถนัดความสนใจของเขา รวมท้ังสามารถชว่ ยเหลือเด็กแก้ไขปัญหา บางอย่างที่กำลังเกิดขึ้นได้ถูกจุดและทันท่วงที เช่น ปัญหาการเรียนปัญหาความสัมพันธ์กับเพื่อนที่โรงเรียน เป็นต้น ผู้ปกครองเล่าสภาพของเด็กเมื่ออยู่บ้านให้ครูผู้ปกครองควรเข้าใจว่าคูรู ไม่สามารถรู้จักเด็กทุกคนได้ อย่างครบถว้ นทุกด้าน ดังนัน้ ผูป้ กครองจงึ เปน็ ผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการชว่ ยเหลือครูอีกแรงหนึ่ง ในการส่ือสาร ให้ครูรู้จักและเข้าใจเด็กให้มากที่สุด เรื่องสำคัญต่าง ๆ ที่ผู้ปกครองควรเล่าให้ครูฟัง เช่น เรื่องสุขภาพร่างกาย ของเด็ก เช่น มีโรคประจำตัวอะไร แพ้ยาอะไรบ้าง ลักษณะนิสัยบางประการของเด็ก เช่น คุยเก่ง มีอารมณ์ท่ี อ่อนไหวง่าย คิดมาก มีนิสัยก้าวรา้ ว เกเร ไม่มีวินัย ขี้อาย ชอบคิดสร้างสรรค์จนบางครั้งอาจนอกกรอบไปบ้าง เป็นคนที่มั่นใจในตัวเองสูงจนบางครั้งชอบใช้เหตุผลในการถกเถียง ฯลฯ การที่ครูรับทราบข้อมูลต่าง ๆ เก่ยี วกบั เด็กมากเทา่ ไร ยิ่งเป็นการดีที่ครเู องจะมีความเขา้ ใจในตวั เดก็ ยิ่งขนึ้ ลดปญั หาการจัดการปญั หาของเด็ก
ที่ใช้ความรุนแรง โดยสามารถใช้วิธีการที่ถูกต้องในการช่วยเหลือหรือแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับเด็กได้ตรงจุดและ เหมาะสม การหล่อหลอมและเสริมสร้างชีวิตของผู้เรียนให้ประสบความสำเร็จ และเป็นพลเมืองที่ดี จะต้องเกิด จากความร่วมมือของท้ังครูและผู้ปกครอง ในการสอดส่องดูแลและให้ความชว่ ยเหลือเดก็ โดยเฉพาะเด็กที่เป็น กลุ่มเสี่ยงที่จะก่อปัญหาหรือมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ยิ่งจะต้องมีการสื่อสารและร่วมมือระหว่างครู และ ผูป้ กครองอย่างใกล้ชดิ เพอื่ นำพาเดก็ ให้สามารถผ่านพ้นปัญหาและไดร้ บั การพัฒนาอย่างเตม็ ศักยภาพ 1๑. กิจกรรมท่ที ำ การจัดประสบการณ์การเรียนรกู้ ารทดลองบา้ นนักวิทยาศาสตรน์ อ้ ย โดยจัดในรปู แบบ On Line มี การจดั หาอปุ กรณ์การทดลองที่หายากให้เด็กๆ ถ่ายภาพอุปกรณ์การทดลองและแจ้งรายละเอียดวัสดอุ ุปกรณ์ ส่งทางไลน์ผู้ปกครอง และส่งคลิปวีดโี อของการทดลองน้ันๆ ให้ผปู้ กครองได้เตรยี มตวั โดยครูใชห้ ลักจติ วิทยา การอำนวยความสะดวก การสานสัมพนั ธค์ รูและผ้ปู กครอง เพอื่ พัฒนาผู้เรียนได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ 1๒. ผลที่ได้จากกิจกรรม ๑. เด็กๆและผ้ปู กครองร่วมทำกจิ กรรมการทดลองบา้ นนักวทิ ยาศาสตร์นอ้ ย ๒. ผลการทดลองเป็นไปตามสมมตุ ิฐานท่ีต้ังไว้ 1๓. การนำผลทไี่ ด้ไปใช้ ไดน้ ำข้อมลู ท่ีได้จากผลการจัดกิจกรรม มาใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์ตอ่ การจดั การประสบการณ์การเรยี นรู้ ดงั นี้ ๑. แกป้ ญั หาเด็กๆไมม่ ีอุปกรณ์ในการทดลอง ๒. เดก็ ๆและผูป้ กครองร่วมทำการทดลองออนไลนต์ ามท่ีครอู อกแบบไว้ ทำใหก้ ารดำเนนิ การทดลอง เปน็ ไปตามข้นั ตอน และไดผ้ ลการทดลองตามทไี่ ด้คาดคะเนไว้ ๓. พัฒนาผลงานเด็กที่ไดจ้ ากการรว่ มกิจกรรมให้มีคุณภาพภาพ ผา่ นเกณฑต์ ามการทดลอง โดย เปน็ ไปตามเกณฑ์ทวี่ างไว้ 1๔. สิง่ ที่ตอ้ งพฒั นาตอ่ ไป ครูผสู้ อนจะต้องศึกษาเอกสารการทดลองบา้ นนักวิทยาศาสตร์น้อย และหลักจติ วทิ ยาการเสริมแรง เพอ่ื ใชเ้ ป็นขอ้ มูล และฐานในการเรียนร้เู พ่ือสร้างบทเรยี น และจดั กจิ กรรมการสอนให้สอดคล้องกับการ แกป้ ัญหาของเด็กในหน่วยการเรยี นรหู้ น่วยอื่น ๆ
1๕. ช่ือเอกสารแนบ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................ .............................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................... ............................................... 1๖. อ่ืน ๆ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ……………………………………ครผู ้สู อน (นางสาวสภุ าพร รักชา้ ง) ครผู ู้ชว่ ย ๗ ธนั วาคม ๒๕๖๔ ผ้เู สนอ (Model Teacher) ลงชื่อ……………………………………เลขานุการ (นางสาวณิชมณ เมตตา) ครูอตั ราจา้ ง ๗ ธนั วาคม ๒๕๖๔ เลขานุการ (Secretary) ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. .............................................................................. .............. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชือ่ ……………………………………หัวหน้างานวชิ าการ (นางสาวณัฐกานต์ นาควงค์) ครู คศ.1 ๗ ธนั วาคม ๒๕๖๔
ความคดิ เหน็ /ขอ้ เสนอแนะ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. .............................................................................. .............. ............................................................................................................................. ................................................. การตรวจสอบก่อนรับรอง ( ) ถกู ต้องครบถ้วน ควรรับรองผลการดำเนินงาน จำนวน ๒ ชัว่ โมง ( ) ไมร่ ับรอง ลงชอ่ื ……………………………...……………ผู้รับรอง (นางสาวณฐั กานต์ นาควงศ์) หวั หนา้ งานวชิ าการ โรงเรยี นวัดทงุ่ หล่อ ๗ ธันวาคม ๒๕๖๔ การรบั รองของผู้บริหารสถานศกึ ษา ( ) รับรองผลการดำเนินการ จำนวน ๒ ชวั่ โมง ( ) ไมร่ ับรอง ลงชอ่ื ……………………………...……………ผู้รบั รอง (นายอณชุ ณ สรุ พงศามาศ) ผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรยี นวัดทุ่งหล่อ ๗ ธันวาคม ๒๕๖๔
ภาคผนวก ภาพประกอบการดำเนินการตามกระบวนการ PLC
ภาพประกอบการดำเนนิ การตามกระบวนการ PLC ณ ห้องเรยี นอนบุ าล ๑ โรงเรียนวัดทุ่งหล่อ บรรยาการการเตรยี มความพร้อม ก่อนการประชุมแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ เพ่อื แกป้ ญั หา/พัฒนากจิ กรรม การเรียนการสอนดว้ ยกระบวนการ PLC ของโรงเรียนวัดทุ่งหลอ่ ณ หอ้ งอนุบาล ๑ นางสาวสภุ าพร รกั ช้าง Adminstrator ผู้นำ/ประธาน กล่าวทกั ทายผเู้ ขา้ รว่ มแลกเปล่ียนเรยี นรู้ และนำเปดิ ประเดน็ ปญั หาในการจัดประสบการณ์การเรียนรกู้ ารทดลองบา้ นวทิ ยาศาสตร์นอ้ ย ระดับปฐมวยั
นางสาวนุชาดา ศรีกลับ(Model Teacher ผูเ้ สนอ) ครูผู้ชว่ ยระดบั ปฐมวัย ไดน้ ำเสนอปัญหาในการ จดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้การทดลองบ้านวทิ ยาศาสตรน์ อ้ ย ระดับปฐมวยั ดงั น้ี ๑. รูปแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้การทดลองบ้านวิทยาศาสตร์น้อยเป็นรูปแบบ On Demand โดยครผู ูส้ อนสง่ วิดีโอการทดลองกจิ กรรมนนั้ ให้ผปู้ กครอง และขอความรว่ มมือจากผู้ปกครองให้ถ่าย คลิปและรูปการทดลองของเด็ก และให้เด็กๆวาดรูปภาพการทดลองนั้น แล้วให้ผู้ปกครองส่งคลิปและภาพ ในไลนห์ อ้ ง แต่ผู้ปกครองไมส่ ะดวกในการจดั หาอุปกรณ์การทดลองบางอย่างได้ จงึ ไมส่ ามารถทำการทดลองได้ ๒. อปุ กรณบ์ างอย่างมีค่าใช้จ่าย ซง่ึ เป็นภาระตอ่ ผ้ปู กครอง 3. ผู้ปกครองไม่มีทกั ษะและประสบการณ์เหมือนกับครู จึงทำให้การทดลองแต่ละกิจกรรมไไดผ้ ลการ ทดลองที่คลาดเคลอื่ น ที่ประชมุ รว่ มสนทนาแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ในประเดน็ ปัญหาของการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรูก้ าร ทดลองบา้ นนักวทิ ยาศาสตร์น้อย
Buddy Teacher ครรู ่วมเรยี นรู้ ร่วมนำเสนอแลกเปลย่ี นการจดั การ การวางแผน การพูดคยุ ทำ ความเข้าใจกบั เด็กๆและผปู้ กครอง โดยใช้หลกั จติ วิทยา การอำนวยความสะดวก การสร้างความสัมพันธ์ ระหวา่ งครูและผู้ปกครอง นางสาวณฐั กานต์ นาควงศ์ (Expert Teacher ผ้เู ชี่ยวชาญ) รว่ มแลกเปล่ยี นประเด็นของการ จัดเตรียมอปุ กรณ์การทดลองและใหค้ ำแนะนำ เรื่องการหาวสั ดุอปุ กรณท์ เี่ หลือใชม้ าใชท้ ดแทนอปุ กรณ์การ ทดลอง หรือเปลีย่ นการทดลองอนื่ ที่หาข้อมลู จากอินเตอร์เน็ต
Buddy Teacher ครรู ว่ มเรยี นรู้ รว่ มนำเสนอแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ในประเด็นปัญหาการสอน การ ทดลองออนไลน์ทำให้ผปู้ กครองและเดก็ ทำตามไมท่ ัน ครูควรใหเ้ วลาเพม่ิ เพ่ือให้ทดลองทัน นางกัญญาปณิส ปราบทมูล (Mentor ผใู้ ห้คำแนะนำ) กล่าวเสริมในประเด็นในการทดลองของเดก็ ขณะท่ปี ฏบิ ัติพร้อมกับครู ในฐานะท่ีผูใ้ ห้คำแนะนำ เปน็ ผปู้ กครองของนักเรยี นทีร่ ว่ มการทดลองอยู่ด้วย เด็กๆ บางคนทำไมท่ ัน เพราะบางขณะผปู้ กครองไมส่ ามารถอยู่ด้วยได้ เชน่ เด็กตอ้ งจุดเทียนไขเอง ครูต้องรอให้ ผู้ปกครองมาช่วยเหลอื เดก็ ดว้ ย
Buddy Teacher ครูรว่ มเรยี นรู้ รว่ มแลกเปลีย่ นประเด็น การวดั และการประเมนิ ผล ผล ต้องออกมาตามที่กจิ กรรมกำหนด การสังเกตวา่ ผลออกมาอย่างไร มีขน้ั ตอนกระบวนการไหนบา้ งทต่ี ้อง แก้ปญั หา เอาปญั หามาประมวลแล้วครง้ั ต่อไป จะไดแ้ ก้ไขและปรบั ปรุงได้ นางสาวณฐั กานต์ นาควงศ์ (Expert Teacher ผู้เช่ียวชาญ) ตั้งข้อสงั เกตประเด็น ความแนน่ ของ มวลประสบการณ์ทางดา้ นเน้ือทท่ี ี่ครูป้อนให้นกั เรียน วา่ มคี วามเยอะเกินไปหรอื ไม่
Buddy Teacher ครรู ่วมเรียนรู้ ร่วมแลกเปลี่ยนประเด็น การสอนเด็กปฐมวยั โดยการใช้สอื่ การเรียนรทู้ ่ี นักเรยี นมีความคนุ้ เคย และใกลช้ ิดในชีวติ ประจำวนั ทำให้นักเรยี นเหน็ ภาพได้ชัดเจนยิ่งข้นี ครูนุชาดา ศรกี ลับ (Model Teacher ผเู้ สนอ) กล่าวความรูส้ ึกตอ่ ทีป่ ระชุม เก่ียวกบั ข้อเสนอแนะวิธีการ จากมตทิ ป่ี ระชุมจะนำไปใช้ในการแกป้ ัญหาดังกล่าว เพ่อื พัฒนการจดั การเรียนรตู้ ามวตั ถุประสงค์ท่ีวางไว้ การรับรองของผู้บรหิ ารสถานศึกษา ( ) รบั รองผลการดำเนินการ จำนวน ๒ ชัว่ โมง ( ) ไม่รับรอง ลงช่ือ……………………………...……………ผ้รู ับรอง (นายอณชุ ณ สุรพงศามาศ) ผอู้ ำนวยการสถานศึกษา โรงเรยี นวัดทงุ่ หล่อ ๗ ธนั วาคม ๒๕๖๔
Search
Read the Text Version
- 1 - 18
Pages: