๑ สภาพแวดล้อมทางกายภาพและประวตั ิศาสตร์ทอ้ งถนิ่ อาเภอเวยี งป่าเป้า จดั ทำโดย นำยวนำศลิ ป์ ธรรมสทิ ธ์ิ ครูผสู้ อนโรงเรยี นเทศบำลตำบลเวยี งป่ำเป้ำ
๒
๓ บทนา พื้นที่อําเภอเวียงปุาเปาู ในอดตี เป๐นพน้ื ที่มคี วามอดุ มสมบูรณ์ มีความหลากหลายทางชีวภาพ ประเพณี และวัฒนธรรม ความเชื่อตลอดถงึ ความสัมพนั ธ์ระหว่างกลมุ่ ชาตพิ นั ธต์ุ ่าง ๆ และกล่มุ คนเมอื ง ท่ี อยใู่ นเขตพ้นื ทีท่ างวฒั นธรรม ท่ตี อนหลังสุดได้แบง่ เป๐นเขตการปกครองแบบอําเภอ ตาํ บล ท่ที างราชการ กําหนดให้ การค้าขายเข้ามาเป๐นตัวเชอื่ มความสัมพันธ์ในเขตวฒั นธรรมทัง้ ลุ่มน้ําแม่ลาว และลุ่มนํา้ แมก่ วง จังหวัดเชียงใหม่ การสรา้ งความสมั พันธ์ภายในครอบครวั และชุมชน เป๐นไปในรูปแบบการทํามาหากิน แบบเศรษฐกิจพอเพยี ง และขนบธรรมเนียมประเพณี ท่ีสอดคล้องของวถิ ชี วี ิตของคนในสงั คมเวยี งปาุ เปูา วัฒนธรรม ประเพณี พิธีกรรมความเชื่อ เปน๐ สิ่งทที่ าํ ใหส้ งั คมมนษุ ย์ เกดิ ทกั ษะในการเรียนรูท้ ้ัง ทางตรงและทางออ้ ม เพื่อสบื สานให้เกิดความงดงามในหมคู่ ณะ และยงั ชว่ ยในการรกั ษาแบบแผนอนั มี คณุ ค่าเพ่ือใหเ้ กดิ ความย่งั ยนื ต่อไป การสืบค้น วิถีชีวิต ประเพณีและวัฒนธรรมของคนเวียงปุาเปูา ซ่ึงเป๐นการเรียบเรียงและสืบ ค้นหาจากคําบอกเล่า เอกสารหลักฐานที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิต ประเพณีและวัฒนธรรมของเขตพื้นท่ี อําเภอเวยี งปุาเปูาฯลฯ โดยศึกษาข้อมลู ดา้ นสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ประวตั ิศาสตร์ทอ้ งถิ่น ผ้จู ดั ทาํ ขอขอบคุณ ทา่ นพระครูคมั ภีรธรรโมภาส เจ้าอาวาสวัดศรีสทุ ธาวาส เจา้ คณะตาํ บลเวียง และคณะศรัทธา วัดศรสี ุทธาวาส ทีไ่ ด้ใหข้ ้อมูลต่างๆ ทีเ่ ป๐นประโยชน์ตอ่ การศึกษาประวัตศิ าสตรท์ อ้ งถนิ่ อาํ เภอเวยี งปุาเปาู เพือ่ จัดทําเปน๐ เอกสารศกึ ษารวบรวมเปน๐ ขอ้ มลู เบื้องตน้ ให้ผู้ที่สนใจตอ่ การศกึ ษา เรยี นรู้ ในความเป๐นมา ของชุมชนตงั้ แตอ่ ดีตและสามารถนาํ ข้อมูลน้ีไปปรับใชเ้ พอ่ื กอ่ ประโยชนส์ งู สดุ ตอ่ พนื้ ท่แี หง่ นี้
๔ ความเปน็ มาทางประวัตศิ าสตรข์ องพน้ื ที่อาเภอเวยี งปา่ เป้า เมื่อราวพุทธศตวรรษที่ ๑๙ บริเวณภาคเหนือตอนบน ของประเทศไทยซึ่งรวมไปถึง ดินแดน บางส่วนของพม่า จนี ลาว เคยเป๐นท่ตี ้งั ของชนกลมุ่ หนง่ึ ท่มี กี ารปกครองเปน๐ แคว้นอสิ ระ ในช่ือท่เี รียกกันว่า ล้านนา กลุม่ บา้ นเมืองกลมุ่ นีม้ คี วามสมั พันธก์ นั ทง้ั ในดา้ นการเมือง ศาสนา เชือ้ ชาติ ประเพณี และทางด้าน ศิลปวัฒนธรรม มีเมืองเชียงใหม่เป๐นศูนย์กลางการปกครอง และมีความเจริญรุ่งเรืองมากในช่วง พุทธ ศตวรรษที่ ๒๐-๒๑ และได้เสอื่ มสลายลงและตกอย่ภู ายใตอ้ ิทธิพลของพมา่ ในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๒๒ แต่ ได้พยายามกอบกู้เอกราชได้บ้างเป๐นคร้ังคราว จนถึงพุทธศตวรรษที่ ๒๔ ได้ตกเป๐นเมืองขึ้นต่อกรุง รัตนโกสนิ ทร์ และไดถ้ ูกรวมเป๐นส่วนหนึ่งของประเทศสยาม ในพุทธศตวรรษที่ ๒๕ เป๐นต้นมา เห็นได้ว่า ประวัติศาสตร์อันยาวนานของล้านนา ได้หล่อหลอมให้ผู้คนในดินแดนแห่งน้ีได้มีแบบแผนทางศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ต่างๆ ทมี่ ลี ักษณะเป๐นของตนเอง มีความแตกต่างไปจากผคู้ นในดนิ แดนอน่ื ๆ สภาพทางภูมศิ าสตรท์ างภาคเหนือจะเปน๐ เทือกเขาสลบั ซบั ซ้อน แต่ก็มีท่ีราบลุ่มระหว่างหุบเขา มี แม่น้ําไหลผ่าน ทําให้พื้นท่ีราบอุดมสมบูรณ์ จึงมีคนเข้ามาอาศัยมาตั้งแต่ดึกดําบรรพ์จนถึงตอนต้นพุทธ ศตวรรษที่ ๑๙ ไดพ้ บว่า มีกลุ่มบา้ นเมอื งเกดิ ขน้ึ อยู่แลว้ และกระจัดกระจายตามท่ีราบลุ่มแม่นํ้าสายต่างๆ ซึ่งเกิดเป๐นแคว้นเล็กๆ แต่ละแคว้นเป๐นอิสระต่อกันแต่ส่วนมากจะมีความสัมพันธ์กันในลักษณะแคว้น เลก็ ๆ แตล่ ะแควน้ เปน๐ อสิ ระต่อกนั แต่สว่ นมากจะมคี วามสัมพนั ธ์กันในลักษณะเครอื ญาติ และความสัมพันธ์ ทางการค้า แผนทีท่ างภมู ศิ าสตร์ (แผนทท่ี างกายภาพ) อําเภอเวียงปุาเปาู จังหวัดเชยี งราย
๕ ทรี่ าบลมุ่ น้าแม่ลาว ดนิ แดนทต่ี ้งั อยู่บริเวณท่ีราบลุ่มของแม่น้ําแม่ลาว แม่นํ้าแม่กก แม่น้ําแม่สายแม่นํ้าแม่จัน แม่นํ้า แมโ่ ขง เรยี กกันว่าทร่ี าบลุ่มเชยี งรายซ่งึ ถือวา่ เป๐นทีร่ าบลุ่มทใี่ หญม่ ากและอดุ มสมบรู ณ์ จึงมรี อ่ งรอยมนุษย์ อาศัยอย่มู าตงั้ แตก่ ่อนประวตั ิศาสตร์ มีรอ่ งรอยของคนู า้ํ คนั ดินท่ีเปน๐ ลกั ษณะของชุมชนโบราณกระจายอยู่ โดยท่วั ไปถงึ ๑๐๕ แห่ง และมเี รือ่ งราวทเ่ี ป๐นไปตามตาํ นานทเ่ี ล่าขานเก่ียวขอ้ งกับดนิ แดนน้ีอยา่ งเรื่องราวที่ เป๐นตาํ นานเล่าขานเกยี่ วข้องกับดนิ แดนน้ีหลายฉบับ (แผน่ ดนิ ลา้ นนา ของ สุรพล ดาํ ริหก์ ลุ ) พนื้ ทศ่ี ึกษาในคร้ังนเี้ ปน๐ สว่ นหนึ่งของที่ราบลุ่มเชียงราย อันไดแ้ ก่ ทีร่ าบล่มุ แมน่ ํา้ ลาว เปน๐ ที่ราบลุ่ม ในหบุ เขาท่ีแคบ ระหว่างเทือกเขาดอยเวียงผาทางตะวันตกกับเทือกเขาดอยหลวงทางตะวันออก เริ่มแต่ เขตบา้ นโปุงนํ้าร้อนตอนใกลก้ บั เขต อ.วังเหนือ จ.ลาํ ปาง ลํานํ้าแม่ลาวไหลจากใต้ขึ้นมาทางเหนือผ่านบ้าน แมพ่ ระเจดยี ์ ซ่งึ มซี ากเมอื งโบราณอยู่บนเนินเขาติดกับห้วยแม่เจดีย์ ต่อจากนั้นลําน้ําแม่ลาว ก็ผ่านแม่ขะ จานเข้าส่บู ริเวณท่รี าบลุม่ ทกี่ วา้ งกว่าบริเวณอนื่ ๆ อาจารยศ์ รีศักร วลั ลิโภดม กล่าวถึงพื้นท่ีแห่งน้ีไว้ว่า ในหุบเขาตอนกลาง ทางด้านทิศตะวันออก ของลาํ นํ้ามเี มอื งโบราณรูปรีเมืองหน่ึงต้ังอยู่ คือเมืองด้านตะวันออกของลํานํ้าชื่อเมืองเวียงกาหลง อยู่บน เนินเขาดอยคง ตดิ กับเขตบา้ นท่งุ มา่ น จนถึงบ้านสันข้ีเหล็ก เมืองนี้มีลักษณะเป๐นเมืองสําคัญในย่านลุ่มน้ํา ลาว ห่างจากเมืองไปทางตะวันออกเฉียงใต้ราว ๓-๔ กิโลเมตร เป๐นบริเวณที่พบเตาเผาเครื่องใช้ดินเผา เคลือบท่มี ชี ่อื เสยี งของทางภาคเหนือ คือเตาเวียงกาหลงลํานํ้าแม่ลาวไหลผ่านต่อไปเข้าเขต อ.เวียงปุาเปูา ซึ่งตอนนี้ที่ราบลุ่มมีลักษณะแคบลงเมืองเวียงปุาเปูาตั้งอยู่บนเนินดินทางด้านตะวันออกของลํานํ้า อยู่ใน เขตอําเภอลกั ษณะเปน๐ เมอื งรูปรเี ล็ก มีกําแพงลอ้ มรอบสามช้ัน ภายในเมืองถูกทําลายหมดแล้ว พบบริเวณ ทีเ่ ปน๐ เนินและโคกพระเจดียบ์ า้ ง นอกเมืองด้านเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือมีวัดเก่าอยู่ ๒-๓ แห่ง และ การเขา้ มาต้ังถนิ่ ฐานของคนในชว่ งแรก คนเมืองนา่ จะตั้งถิ่นฐานบริเวณที่ราบ แต่ก็มีบางส่วนขึ้นไปอยู่บน ทส่ี ูงซ่ึงเปน๐ ที่ชายขอบกะทะของลมุ่ นาํ้ และรวมไปถงึ กล่มุ ชนเผ่าทต่ี งั้ ถ่ินฐานอยูน่ านแลว้ นํ้าแม่ลาวตอนต้นเกิดจากเทือกเขาเขตติดต่ออําเภอเวียงปุาเปูา และอําเภอดอยสะเก็ดจังหวัด เชียงใหม่เทือก เขาผีป๎นน้ําบริเวณดอยผาโจ้ บริเวณเขตติดต่อพ้ืนที่อําเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ และในเขตตําบลแม่เจดีย์ใหม่ อําเภอเวียงปุาเปูา จังหวัดเชียงราย น้ําแม่ลาวไหลข้ึนเหนือผ่านอ.เวียงปุา เปูา อําเภอแม่สรวย อําเภอ แม่ลาว อําเภอพาน อําเภอเวียงชัย ไหลลงสู่น้ําแม่กกที่ บ้านปุายางมน อําเภอเมือง จังหวดั เชียงราย น้ําที่ไหลจากดอยนางแก้วไปทางทิศใต้ เรียกว่าน้ําแม่กวง และนํ้าท่ีไหลขึ้น ไปทางทิศเหนือคือน้ําแม่ลาว และมีต้นกําเนิดจริงที่บ้านขุนลาว ตําบลแม่เจดีย์ใหม่ ต้นน้ําดังกล่าวเป๐น บริเวณน้าํ จํา(นาํ้ ซบั ) ไหลคดเคี้ยวตามไหล่เขาในเขตแม่เจดีย์ใหม่ จากน้ันไหลไปทางทิศตะวันออก ตําบล แม่เจดีย์ ตําบลเวียงกาหลง ตําบลปุางิ้ว และจากนั้นเร่ิมขยับไปทางทิศตะวันตกเร่ือย ๆ โดยเริ่มจาก ตําบลปุางวิ้ ตําบลบ้านโปุง ตําบลเวียง และตาํ บลสันสลี จากน้ันไหลเข้าสู่ อําเภอแม่สรวย จากภาพแผน ทข่ี องกรมทางหลวง จะพบว่าถนนจะสร้างคู่ขนานกับแม่น้ํา จะตัดกันไปมา นํ้าแม่ลาวที่ น้ําสาขาไหล ลงมาสมทบในเขตพืน้ ทอ่ี าํ เภอเวียงปาุ เปาู คือ นํา้ ห้วยคณุ พระ นํ้าแม่โถ น้ําห้วยน้ําริน น้ําห้วยผาต๋ัน นํ้า หว้ ยมว่ ง นา้ํ ห้วยโปุง นํา้ ห้วยแม่เจดยี ์ ซงึ่ เป๐นนํ้าหว้ ยทใ่ี หญ่ หว้ ยนํ้ากืน ห้วยทราย น้ําแม่ฉางข้าว แม่ ปนู เป๐นต้น รวมความยาวของสายน้ําแม่ลาวประมาณ ๑๙๐ กิโลเมตร มีพื้นท่ีลุ่มน้ําประมาณ ๓,๒๐๐ ตารางกิโลเมตร ตามตํานานเส้นทางน้าํ แมล่ าวน่าจะเป๐นเส้นทางที่ตดิ ตอ่ ที่สําคัญระหว่างท่ีราบแม่กกหรือ ท่ีราบแม่ลาวกบั ท่ีราบเชียงใหม่ – ลาํ พูน มาตั้งแต่โบราณ ดังปรากฏในตํานานพระเจ้าทองทิพย์ ตํานาน ดอยนางแก้ว หรอื การยกทัพของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
๖ น้ําแมล่ าว ท่ตี งั้ และอาณาเขตตดิ ต่อ ทิศเหนอื ติดต่อกับอําเภอแมส่ รวย จังหวดั เชยี งราย ทิศใต้ ติดต่อกับอําเภอดอยสะเกด็ จงั หวัดเชียงใหม่ ทศิ ตะวันออก ติดต่อกบั อาํ เภอเมอื งปาน อําเภอแจห้ ม่ อําเภอวังเหนือ (ตน้ กําเนดิ แมน่ ้ําวงั ) จงั หวดั ลําปาง และอาํ เภอพาน จังหวดั เชียงราย ทิศตะวนั ตก ติดตอ่ อาํ เภอพร้าว (ต้นกําเนดิ แม่นํา้ ปงิ ) จงั หวัดเชียงใหม่
๗ แผนท่ีแสดงลุ่มนํ้าแม่ลาวและอาณาเขตติดต่อ การคมนาคม การคมนาคมในอดตี ถนนหนทางไม่สะดวกสบายดังเช่นป๎จจุบัน ถนนออกไปทางอําเภอแม่สรวย จะเป๐นถนนดิน เวลาหน้าแล้งก็จะเป๐นฝุน เวลาหน้าฝนก็จะหล่มเป๐นโคลน พาหนะที่ใช้เดินทางก็จะใช้ เกวยี นเทียมด้วยววั หรอื ควาย หรอื ใชม้ ้าต่างของ หรือวัวต่างของ แต่คนสมัยนั้นจะเรียกว่าวัวต่าง หรือม้า ตา่ ง ในช่วงหนา้ ฝน การเดนิ ทางไปเชียงรายต้องใช้เวลาอย่างน้อย ๒ คืน ถ้าเป๐นเกวียนบรรทุกสินค้าจะใช้ เวลาในการเดินทางประมาณ ๕-๖ วัน ถนนภายในตัวอาํ เภอก็ใชม้ า้ หรอื การเดนิ เทา้ เทา่ นั้น
๘ สว่ นป๎จจบุ ันถนนสะดวกสบาย สามารถเดนิ ทางไปยังอําเภอแม่สรวย – เวียงปุาเปูาได้โดยใช้ถนน เน่ืองจากมีการตัดถนนสายเชียงราย–เชียงใหม่ ผ่านตัวอําเภอ การขยายตัวของชุมชนเมือง และชุมชน ตามชนบทจึงเปน๐ ไปตามแนวถนน จนเป๐นชุมชนใหญ่ บา้ นเรอื นหนาแน่นทอดยาวตามถนนจากทิศใต้ไปทิศ เหนือดังเช่นป๎จจุบันใช้เส้น ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข ๑๑๘ ระหว่างเชียงราย – เชียงใหม่ ระยะทาง ๑๖๒ กโิ ลเมตร สภาพทางภมู ิอากาศ อาํ เภอเวียงปาุ เปาู ได้รับอิทธพิ ลจากลมทะเลนอ้ ยมาก เน่อื งจากภูมปิ ระเทศส่วนใหญ่เป๐นภูเขาและ ปาุ ไมจ้ ึงทําให้อุณหภูมแิ ละฤดกู าลแตกตา่ งกันน้อยมาก ในฤดูหนาวอากาศหนาวจัด แต่อย่างไรก็ตามพ้ืนที่ บริเวณนก้ี ็มี ๓ ฤดู เหมือนกับภาคอนื่ ๆ ของประเทศไทย ฤดหู นาว เริม่ ตง้ั แต่กลางเดือน พฤศจิกายน – กุมภาพันธ์ เมื่อลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ พัดเข้าสู่ประเทศไทยหรือมีปริมาณความกดอากาศสูง หรือมวลอากาศเย็น จากประเทศจีน แผ่ลงมา ปกคลมุ ประเทศไทย รวมระยะเวลาประมาณ ๔ เดือน เป๐นระยะเวลาเปล่ียนฤดูกาลจากฤดูฝนเข้าสู่ฤดู หนาว อากาศสูงกําลังแรงจากประเทศจีน แผ่มาปกคลุมประเทศไทยเป๐นระยะ ๆ ทําให้บริเวณ อําเภอ เวยี งปาุ เปูามอี ากาศหนาวจัดโดยเฉพาะบริเวณเทอื กเขาในเดอื นกุมภาพันธ์ ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ที่พัดปกคลุมอ่อนกําลังลงเป๐นลําดับทําให้มีอากาศร้อนในตอนบ่าย ซ่ึงเป๐นการส้ินฤดูหนาวในช่วงเดือน กุมภาพันธ์ และเรม่ิ เขา้ สฤู่ ดรู ้อนต่อไปทั้งนี้คงยังมีอากาศหนาวในตอนเชา้ ต่อไปอกี ระยะหนงึ่ ฤดรู อ้ น เร่ิมระหว่างเดือนมีนาคม – พฤษภาคม อณุ หภูมิตอนบ่ายจะเรม่ิ เกิน ๓๕ องศา เซลเซียส แตใ่ นช่วงเช้าจะยังคงมอี ากาศหนาวเย็นจนถึงประมาณเดือนมีนาคม ลมท่ีพดั จากประเทศไทย เปลี่ยนจากลมมรสมุ ตะวันออกเฉียงเหนอื เปน๐ ลมฝุายตะวนั ออก และลมฝาุ ยใต้มากขึ้น โดยมีลมจากทะเล จีนใต้และอา่ วไทย พัดเข้าสู่ประเทศไทยในทางทศิ ใต้และทิศตะวนั ออก ประกอบกบั มหี ย่อมความกด อากาศต่ํา เน่ืองจากความรอ้ นเข้าปกคลุมประเทศไทยตอนบน ในชว่ งฤดรู ้อนทาํ ให้มอี ากาศร้อนอบอา้ ว และแห้งแลง้ ท่วั ไป และอาจเกิดพายุฤดรู อ้ นขนึ้ ได้ ในบางวัน โดยเฉพาะในชว่ งเดอื น มนี าคม – เมษายน ฤดูฝน เร่ิมระหว่างเดือนมิถุนายน – ตุลาคม ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดเข้าสู่ประเทศไทย และร่องความกดอากาศตํ่าเลื่อนข้ึนมาพาดผ่านบริเวณประเทศไทยและจะไปสิ้นสุดประมาณกลางเดือน ตุลาคม เป๐นระยะเวลานานประมาณ ๕ เดือน จะมีฝนตกชุกในเดือน สิงหาคม – เดือนกันยายน ตั้งแต่ กลางเดือน ตุลาคมเป๐นต้นไป ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้จะอ่อนกําลังและจะเปลี่ยนเป๐นลมมรสุม ตะวันออกเฉยี งเหนือ ฝนบรเิ วณประเทศไทยตอนบนจะลดนอ้ ยลงเป๐นลาํ ดับ
๙ แผนท่ีแสดงท่ีตั้งตําบล และหมู่บ้าน ในอาํ เภอเวียงปาุ เปาู
๑๐ การปกครอง ลักษณะการปกครองมีอยู่ ๒ ลกั ษณะ ได้แก่ การปกครองตามระบบราชการ และการปกครอง แบบธรรมชาติ แมว้ ่าในป๎จจุบันการปกครองจะถกู กําหนดมาจากรัฐ แต่ลกั ษณะการปกครองในทอ้ งถ่นิ ยังคงมกี ารปกครองอกี ลกั ษณะหน่ึงทใี่ ช้รว่ มกัน คอื ผนู้ ําตามธรรมชาติทถี่ ูกคัดเลอื กโดยคนในชมุ ชน ซ่ึงมี ทงั้ ผนู้ าํ ทเ่ี ปน๐ คนดแู ลจดั การเรือ่ งพิธีกรรม มักเปน๐ ผู้อาวุโส และผูน้ าํ ทม่ี ีความรเู้ ฉพาะเรื่องเช่น แก่ฝาย ผูน้ าทางการปกครองตามระบบราชการ เปน๐ บคุ คลที่ควบคมุ กฎ ระเบียบต่าง ๆ ในหมบู่ า้ น และ เปน๐ บคุ คลท่ีทําหนา้ ที่ติดตอ่ กับทางราชการ ในอดีต คนเมือง มผี นู้ ําท่ีเรียกวา่ ขนุ 1,แคว้น,2 ปแุู สน3,ปุูหมืน่ 4 ก่อนที่จะมกี ารปกครองแบบเปน๐ ทางการ การปกครองในปจ๎ จุบันจะเป๐นระบบบริหาร ราชการจากส่วนกลาง คือ เปน๐ การสมัครรับเลือกตัง้ แตใ่ นอดตี การพจิ ารณาคัดเลอื กผู้นาํ ในแต่ละระดับ ของแตล่ ะหมบู่ ้าน เลือกกันแบบงา่ ย ๆ คอื ขอร้องใหผ้ ทู้ ่ีพร้อมเป๐นผูน้ าํ หากมีหลายคนก็ให้ยกมือ ไมม่ คี วาม ขัดแย้ง ช่วยเหลือเกื้อกลู กัน รักและสามัคคกี ัน โดยมากถ้าพอ่ เป๐นกาํ นนั หรือผใู้ หญบ่ า้ น เม่ือพอ่ ปลด เกษยี ณ ลกู กจ็ ะรบั หน้าท่ีแทนไปเลย อยกู่ นั แบบพแ่ี บบน้อง ป๎ญหาทกุ เร่อื งผู้ใหญบ่ ้านจะเปน๐ ผู้ชข้ี าด และ ทกุ เรือ่ งจะจบลงดว้ ยดี ไม่มโี กรธหรอื อาฆาตกนั การบริหารจดั การหรือการพัฒนาหมูบ่ ้านผใู้ หญ่บ้านจะ เปน๐ ผู้จดั การแตเ่ พยี งผเู้ ดียว ว่าไงวา่ ตามกนั แม้ว่าป๎จจุบันการต้ังผ้นู าํ อย่างเปน๐ ทางการจากภาครัฐเขา้ ปกครองในระดับท้องถ่ิน ไม่ว่าจะเปน๐ กํานัน ผู้ใหญบ่ า้ น อบต. อสม. ฯลฯ แตใ่ นหมบู่ ้านหนงึ่ ๆ นอกจาก จะมผี นู้ าํ จากการแตง่ ตั้งจากทางการแล้ว ยังมผี ้นู ําตามธรรมชาติที่ชมุ ชนใหก้ ารยอมรับและเช่ือฟ๎ง หรือเปน๐ ทป่ี รึกษาของชาวบ้านเสมอ ดังนัน้ ผู้นาํ ในลกั ษณะนอ้ี าจจะเป๐นคนเดียวกบั ผู้นาํ ทางการ หรืออาจเป๐นบคุ คล คนละคนกนั ผู้นาตามธรรมชาติท่ีคดั เลือกจากคนในชุมชน นอกจากผู้นําอย่างเปน๐ ทางการแล้ว คนที่เป๐นผู้มี บทบาทในเรอื่ งการปกครองและเป๐นที่เคารพนบั ถือของชาวบ้านก็คือ ผ้เู ฒา่ ผ้แู ก่ และผ้นู าํ อย่างไมเ่ ปน๐ ทางการ ตําแหนง่ หน่งึ ทม่ี บี ทบาทสาํ คัญในเรอ่ื งการดูแลและงานปกครองคือ “แก่ฝาย” แกฝ่ าย (แก่ คือ ผู้นาํ / ฝาย คอื เขอื่ นก้นั นาํ้ ด้วยไมไ้ ผ่) เปน๐ ผู้นําหลักในเรื่องของการดูแลการจัดการเกี่ยวกบั นํา้ เพ่ือชุมชน ซ่ึงเป๐นกิจกรรมทส่ี าํ คัญมากของชาวบา้ นทางภาคเหนอื น่นั ก็คอื การทําเหมืองฝาย เป๐นเรื่องของการ บรหิ ารจดั การนํ้าเขา้ นาของชาวนา อีกส่วนหน่ึงคือผูน้ าํ ทางศาสนาและพิธกี รรม ความสมั พันธ์ทางศาสนาเกย่ี วขอ้ งกบั การปกครองใน ระดบั ท้องถนิ่ เน่ืองจากศาสนามีความสําคญั ในด้านจิตใจ และผกู ติดกบั ความเชอ่ื ของชมุ ชน รวมทง้ั เป๐นส่ิง ท่ีกําหนดลกั ษณะวิถกี ารดําเนนิ ชวี ติ ของชมุ ชนน้ัน ๆ ผนู้ าํ ทางศาสนามหี ลายลกั ษณะ เช่น ผนู้ าํ ศาสนา คริสต์ ผู้นําทางศาสนาพุทธ ผูน้ าํ ทางพิธกี รรม เปน๐ ตน้ ซง่ึ ถือว่ากลุ่มบุคคลดังกล่าวเป๐นผู้เชอ่ื มโยงระหวา่ ง มนุษยก์ ับสงิ่ เหนือธรรมชาติ 1 ผ้นู ําท่ปี กครองกอ่ นจะมกี ารก่อต้ังอาํ เภอขึ้น ขนุ คอ่ นข้างมีฐานะทางการเงนิ หรือมที ด่ี นิ มาก ขุนมีอาํ นาจในการปกครองเทียบเทา่ กบั นายอําเภอ 2 แควน่ ไดร้ บั การแตง่ ตงั้ จากขนุ โดยขุนจะแบ่งเขตการการปกครองออกไปอีกหลายหมู่บา้ น จงึ แต่งตง้ั แคว่นไดค้ อยดแู ลหมู่บา้ นในพื้นที่ การปกครองของตน แควน่ มอี าํ นาจในการปกครองเทียบเท่ากบั ตําแหนง่ กาํ นนั 3ผูน้ าํ ทางการปกครอง โดยแควน่ ตง้ั ตง้ั ใหป้ กครองระดบั หมบู่ า้ น เทยี บเทา่ กบั ตาํ แหนง่ ผใู้ หญบ่ ้าน 4 เปน๐ ผชู้ ่วยของปุูแสน เทยี บไดก้ บั คณะกรรมการหม่บู ้าน ในหมู่บา้ นหนง่ึ อาจมปี ุหู ม่นื ไดห้ ลายคน
๑๑ ประวตั ิความเป็นมาของท้องถนิ่ ปจ๎ จุบัน อ.เวยี งปาุ เปาู มีการแบง่ เขตการปกครองออกเป๐น ๗ ตําบล ได้แก่ ตําบลเวียง , ตําบล ปาุ ง้ิว , ตําบลบ้านโปุง , ตาํ บลสนั สลี , ตําบลแมเ่ จดยี ์ , ตําบลแม่เจดีย์ใหม่ และ ตําบลเวียงกาหลง โดยแต่ ละตําบลมีประวตั คิ วามเป๐นมาเฉพาะของตนเอง ดังนี้ ตาบลเวยี ง เป๐น ตําบลหนึง่ ของ อาํ เภอเวียงปุาเปาู ปจ๎ จุบันมี ๑๓ หมูบ่ ้าน ท่ีไดช้ ่ือวา่ ตําบลเวยี งเข้าใจ ว่าพื้นท่ีน้ีเป๐นเขตเวียงปุาเปูา ซึ่งพระยาไชวงศ์ได้ย้ายเมืองขึ้นมาจากบ้านเฟยไฮ เมื่อ พ .ศ. ๒๓๘๒มาต้ัง เมืองอยู่เหนือที่ว่าการ อําเภอเวียงปุาเปูาป๎จจุบันประมาณ ๒ .๕ กิโลเมตร มีชุมชนในเขตตําบลเวียง เรียกชอ่ื บา้ นตามลกั ษณะพ้ืนท่ีของชมุ ชนนน้ั ๆ ได้แก่ บ้านหวั เวยี ง บา้ นในเวยี ง เป๐นตน้ พื้นท่ีของ ตําบลเวียง จะมีท่ีราบ ๒ ฝ๎๑งแม่น้ําลาว พลเมืองส่วนใหญ่อพยพมาจากเชียงใหม่เป๐น ส่วนมาก นอกจากนั้นก็มาจากลําปาง เชียงราย ลําพูน เป๐นต้น นอกจากน้ียังมีชาวเขาเผ่ามูเซออยู่ท่ี เทอื กเขาแม่ปูนหลวงรวมอยูด่ ว้ ย ตาบลป่าง้ิว ประวัตคิ วามเป๐นมาของบา้ นปุาง้วิ เริ่มข้นึ เมื่อ ๒๐๐ ปีมาแล้ว พญาผาบพร้อมท้ังบริวาร อพยพมา จากเชียงใหม่ มาสร้างบ้านเรือนบริเวณน้ี ต่อมา พญาขันธ์พร้อมบริวารและท้าวเสมอใจและบริวาร ก็พา กันมาอยู่ท่ีนี่ตามลําดับ ซ่ึงเป๐นบรรพบุรุษต้นตระกูลผาบมณี ผาบเต๋จ๊ะ ผาบสุวรรณ และธนะชัยขันธ์ รวมทั้งใจเสมอ (มาจากเสมอใจ) ทั้ง ๓ ตระกูลนับถือพุทธศาสนาอย่างเคร่งครัดพร้อมใจกันสร้างวัดข้ึนที่ ศูนย์กลางหมู่บา้ น ตอ่ มาอกี ๕๐ ปี มหี นานยานะมาจากบา้ นแม่วาง ตาํ บลทุ่งปี๒ จ.เชียงใหม่ ได้มาสร้างวัด ปุางิ้วเพ่ิมเติม พระที่วัดน้ีเชื่อว่าหนานยานะเป๐นคนเอามา ซึ่งเชื่อกันว่าย้ายยังไม่ทันเสร็จดีก็เสียชีวิต จากนน้ั ก็มีก๋องปินตามาสร้างบ้านปุาง้ิว ทําเหมืองฝายและไร่นา แล้วแบ่งป๎นให้เสมอกัน ในปี ๒๔๑๐ ได้ รวมหมู่บ้านตา่ ง ๆ พฒั นาขึ้นเป๐นตําบลปุาง้ิว ประกอบด้วย บ้านฮ่างต่ํา บ้านปุาสัก บ้านปุางิ้ว บ้านร่องกู่ บ้านหม้อ และบ้านปุาเหมอื ด เช่อื กนั ว่าเดมิ บริเวณน้ีมตี ้นงิว้ ขนึ้ อยูม่ ากมาย ป๎จจุบนั มี ๑๖ หมบู่ า้ น ตาบลบา้ นโป่ง บา้ นโปุงเป๐นตาํ บลเล็ก ๆ ทแี่ ยกออกจาก ตาํ บลเวียง และ ตําบลปุาง้ิว เหตุที่ชื่อบ้านโปุงเนื่องจาก หมู่บา้ นเดมิ เป๐นหม่บู า้ นใหญ่ ช่ือ “บ้านโปุงเทวี” คําว่า “โปุง” มาจากเหตุท่ีหมู่บ้านน้ีมีบ่อนํ้าร้อนอยู่แห่ง หนึ่ง ซึ่งชาวบ้านเรียกว่า “โปุง” เพื่อให้เป๐นสิริมงคล จึงเรียกโปุงน้ําร้อนน้ีว่า “โปุงเทวี” เป๐นชื่อหมู่บ้าน และตาํ บลด้วย ปจ๎ จุบันโปุงนา้ํ ร้อนดังกลา่ วมชี อื่ ว่า “บอ่ น้าํ พรุ อ้ นทุ่งเทวี” เป๐นแหลง่ ท่องเท่ียวประจําตําบล ตั้งอยู่ หมทู่ ่ี ๕บา้ นโปุงเทวี กํานันบุญมา ยานะเรือง (๒๕๔๙) เลา่ วา่ เมอื่ ปี ๒๔๓๐ คนกล่มุ แรกอพยพมาจากบ้านเฟยไฮ หมู่ ที่ ๑ มาที่น่ีเน่ืองจากบ้านเฟยไฮต้งั อยู่ท่ีลมุ่ ตดิ แม่นํา้ ลาว พอถงึ หนา้ ฝนมักมีนํ้าท่วมขัง ไม่เหมาะกับการทํา นาและเล้ยี งสัตว์ จงึ พากนั มาหาทท่ี ํากนิ ใหม่ ซ่งึ อยูห่ ่างจากหมบู่ า้ นเดิมไปทางทิศตะวันตกประมาณ ๑ ก.ม. โดยเหน็ ว่าพน้ื ทีน่ อี้ ุดมสมบูรณไ์ ปด้วยทรพั ยากรธรรมชาติ เปน๐ พื้นทล่ี มุ่ – ดอน เหมาะกับการทําไร่นา และ เลีย้ งสตั ว์ กลมุ่ แรกมาอยู่แบบช่ัวคราว เพราะสมัยน้ันพ้ืนท่ีแห่งน้ีเป๐นปุาใหญ่ ฝูงสัตว์ชุกชุม ประกอบกับมี “โปงุ ” ท่สี ัตวม์ ักลงมากินเป๐นประจํา ต่อมาเม่ือปี ๒๔๓๕-๒๔๔๐ ทาง จังหวัดเชียงใหม่เกิดข้าวยากหมาก แพง ฝนฟูาไมต่ กตามฤดกู าล เกิดความแหง้ แล้ง ผคู้ นทม่ี ญี าติอยทู่ าง อําเภอสันกําแพง จึงนําข่าวนี้ไปบอก ว่าหมู่บ้านแห่งน้ีอุดมสมบูรณ์ น้ําดีดินดี มีที่ทํากินกว้างขวาง จึงเริ่มมีคนอพยพตามมากันมากขึ้น จนต้ัง เปน๐ หม่บู า้ นถาวรได้ในปี ๒๔๕๐
๑๒ กลุ่มชาติพนั ธ์ุทีส่ ําคัญใน ตาํ บลบ้านโปงุ คอื ชาวกะเหรยี่ ง (ปกากะญอ) บ้านห้วยหนิ ลาด ซึ่งมวี ถิ ี ชวี ิตอย่กู ับปุา และอนุรักษป์ ุาชมุ ชนโดยใชก้ ฎของหมู่บ้านและวถิ ีทางจารตี ประเพณี ในการดํารงอยู่กบั ปุา และเปน๐ ศนู ย์การเรยี นรู้ในด้านการจัดการปุาชมุ ชนได้เป๐นอยา่ งดี ตาบลสนั สลี บ้านสนั สลีเดิมเป๐นปุาเปน๐ ดง เขาเลยเรียกสนั ปาุ ข่า สมัยก่อนไม่มีแก่มีแคว้น มีพ่อขุนปกครอง ช่ือ ขุนสันสลี มีวัด ชาวบ้านที่อยู่ที่น่ีอพยพมาจากเชียงใหม่ เป๐นพวกไทยลื้อ ไทยเขิน ท่ีคงจะมาพร้อมกับตั้ง เวียงปุาเปูา นอกจากนี้ยังมีพวกมูเซอ และม้งอยู่ด้วย อุ๊ยหลายคนเล่าตรงกันว่าเม่ือก่อนชาวบ้านจะปลูก พริก ฝูาย ต้องหาบน้ํา ผ่าฟืนลําบากกันมาก และชาวบ้านส่วนใหญ่ก็นิยมปลูกยาสูบด้วย การทํายาสูบ สมัยก่อนใช้ใบตอง เรียกว่า “ตองจ่า” หรือ “จ่าตอง” เอาใบตองจากกล้วยปุาหรือกล้วยน้ําว้า เอายอด อ่อนมารีด โดยใช้แผน่ เหลก็ วางแลว้ ก่อไฟเอาทรายมาสุมให้มันร้อน แล้วเอาผ้าห่อทรายนํามารีดให้ใบตอง รอ้ น เพื่อใชส้ บู กนั เองในสมัยก่อน ตาบลแม่เจดยี ์ ตําบลแม่เจดยี ์ เดิมเรียกว่าแมข่ ะจาน มีพื้นท่ีเป๐นท่ีราบและเป๐นภูเขาอย่างละครึ่ง มีอาณาบริเวณ กวา้ ง เป๐นต้นกาํ เนดิ ของแมน่ ้าํ แมเ่ จดีย์ หว้ ยนาํ้ กืน นาํ้ หว้ ยทราย ซึง่ เป๐นแขนงของแมน่ ้ําลาว ป๎จจุบันมี ๑๖ หมู่บา้ น และ ๑ เทศบาลตําบล คือเทศบาลตําบลแม่ขะจาน ใน ๑๖ หมู่บ้าน มี ๔หมู่บ้านท่ีตั้งอยู่บนดอย ชาวบา้ นส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทําสวนชาและสวนเมี่ยง ในอดีต ๕๐-๑๐๐ ปีก่อน การคมนาคมลําบาก มาก การเดินทางใช้แต่ทางเท้า ผู้คนอพยพมาจากปางมะกาด แจ้ห่ม (จังหวัดลําปาง) อําเภอพร้าว และ อาํ เภอดอยสะเกด็ จงั หวดั เชียงใหม่ มีคนมาอยู่ไม่ถงึ ๑๐หลงั คาเรอื น ตอนนั้นไมเ่ รียกว่าหมู่บ้านแต่เรียกว่า “ปาง” ในระยะหลังเรม่ิ มีการพฒั นาการเดินทางใช้แรงม้าและวัว เรียกว่า “ม้าต่าง” หรือ “วัวต่าง” คนที่ เป๐นเจา้ ของมา้ และววั มักอยู่ที่บ้านแม่ขะจานและบ้านหนองบัวซึ่งการใช้ม้าหรือวัวต่าง เป๐นการเอาส่ิงของ ต่างข้างวัว หรือม้า เพ่ือบรรทุกส่ิงของต่าง ๆ ซึ่งการค้าวัวต่าง หรือม้าต่างนั้นต้องใช้เส้นที่ทางเกวียนไม่ สามารถเขา้ ไปได้ มกั จะเปน๐ การเดินทางข้ามเขา เป๐นตน้ ตาบลแมเ่ จดยี ์ใหม่ ตําบลแม่เจดยี ์ใหม่ มี๑๔ หมู่บ้าน ภูมิประเทศส่วนใหญ่เป๐นเนินเขาสูง มีภูเขามากมาย พ้ืนที่ราบ ไมค่ ่อยมี ชาวบา้ นมักทาํ ไร่ข้าวโพด กาแฟ ถั่วเหลอื ง ถ่ัวแดง มากกว่าการทํานา รวมท้ังมีการทําอาชีพเสริม คือ ทําไม้กวาดอ่อน (ไม้กวาดบ้าน) ออกขายทุกหลังคาเรือน ซึ่งป๎จจุบันเป๐นสินค้าส่งออกทํารายได้ให้ หม่บู ้านอย่างมาก มีถนนตัดไปเชียงใหม่ตามลําน้ําแม่ลาว เพราะไม่สามารถสร้างถนนไปได้ จึงต้องสร้าง ถนนเลียบแนวลําน้ํา อีกท้ังยังมีโปุงน้ําร้อน ซึ่งพัฒนาเป๐นสถานที่ท่องเที่ยว ร้านค้า ขายของที่ระลึกและ อาหาร เปน๐ ทพี่ ักผอ่ นของคนที่ผา่ นไปมาระหว่างทางไปเชยี งใหม่ - เชียงราย ตาบลเวยี งกาหลง ตําบลเวยี งกาหลง เดิมเรียกวา่ ตําบลหัวฝาย เมื่อประมาณ ๑๐๐กว่าปีที่ผ่านมา (พ.ศ. ๒๔๐๕) ได้ มชี าวบ้านจากบา้ นทุ่งมา่ น จงั หวัดลาํ ปาง อพยพครอบครัวมาอยบู่ ริเวณ ๒ ฝ๑ง๎ แม่นํ้าลาว ณ บริเวณบ้านทุ่ง ม่านป๎จจุบัน จากนั้นก็มีชาวบ้านจากถิ่นอื่นเข้ามาอยู่เพ่ิมข้ึนเรื่อย ๆ กระจัดกระจายไปตามหมู่บ้านสัน มะเค็ด บ้านดง บ้านแม่ห่าง ปี ๒๔๓๕ ทางการประกาศให้มีผู้ใหญ่บ้านแต่ละหมู่บ้าน ๒๔๔๐ ทางการให้ รวมกันเป๐นตําบล ขุนฝายฝกึ คณะเป๐นบุคคลท่ีมีช่ือเสียงและนําความเจริญมาสู่หมู่บ้านย่านนี้ จึงได้รับการ แต่งตั้งเปน๐ แควน้ (กํานนั ) คนแรก ในอดีตถนนหนทางไปมาหาสู่กันลําบากมาก ถนนเป๐นหลุมเป๐นบ่อ พอ ถึงฤดฝู น นํา้ แม่ลาวนอง การสัญจรไปมาหากันระหวา่ งแม่ลาวฝ๑ง๎ ซา้ ยและขวาจะถกู ตัดขาด
๑๓ การทํามาหากินของผคู้ น นอกจากทาํ นาปลูกข้าวก็ปลูกหอม กระเทียม ชาวบ้านเข้าปุาหาหน่อไม้ เหด็ ยอดไมย้ อดผกั ปุาไม้คือตลาด มีอาหารมากมาย นอกจากผักยังมีนก หนู กระรอก กระต่าย งู หมูปุา ไก่ปุา ฟาน มากมายหลายชนิด ใครได้สัตว์มาก็เอามาแบ่งกัน ถ้าเป๐นสัตว์ใหญ่ก็เอาเพื่อนบ้านไปช่วย ป๎จจุบันทุกอย่างเปลี่ยนไปมาก ปุาไม้ถูกทําลายเกือบหมด จนปี ๒๕๒๘ ก็เปล่ียนจากตําบลหัวฝายเป๐น ตาํ บลเวียงกาหลง5 ประวตั คิ วามเปน็ มา และทีต่ ง้ั ของชมุ ชนเวยี งป่าเปา้ เวียงป่าเป้า : หรือเดมิ เรยี กว่าเมืองเฟอื ยไร – หรือเฟยไฮ อาเภอเวยี งป่าเปา้ ในสมยั โบราณมีชอื่ ว่า เวียงกาหลง สันนิษฐานว่า ไดส้ รา้ งขนึ้ ในสมยั พทุ ธ ศตวรรษท่ี ๕ พ.ศ. ๕๐๐ – ๕๙๙ ซึง่ ปรากฏตามหลักฐานในหนงั สือภายหลงั พ.ศ. ๕๕๐ แวน่ แคว้นยวน เชยี งนเ้ี ปน๐ สว่ ยของประเทศอา้ ยลาว ผู้ชายคิดเป๐นเกลือ กบั เสอ้ื คนละ ๒ ตัว นอกจากนแี้ ว่นพงศวดารชาติ ไทย เลม่ ๒ ของพระบรหิ ารเทพธานี ในเล่มไดก้ ล่าวถึงแคว้นยวนเชยี ง หนา้ ๔ บรรทดั ท่ี ๒ ว่า เมื่อแคว้น ยวนเชยี งกไ็ ดข้ ยายเมืองออกไปทางทศิ ตะวันออกอีกหลายเมอื ง เชน่ เวียงกาหลง เวยี งปาุ เปาู เวียงฮ่อ ดง เวยี ง เมืองวงั (วงั เหนือ) แจห้ ม่ เป๐นตน้ ในหนังสอื ประวัตศิ าสตรเ์ มอื งเชียงราย ซงึ่ จัดพมิ พ์ในงานฉลอง ๒๕ พุทธศตวรรษ หน้า ๑๓ มี ปรากฏความท่ีคลา้ ยคลงึ กนั คอื ในราวพทุ ธศตวรรษที่ ๕ มพี วกไทยถอยรน่ จากตอนใตข้ องจีนมาสมทบ กบั พวกไทยทเ่ี มอื งเชยี งลาวเพิม่ มากขนึ้ ทุกที จงึ ขยายเมืองใหก้ ว้างออกไปอกี เรยี กวา่ แควน้ ยวนเชยี ง มี อาณาเขตแผ่ไปถงึ หลายเมอื ง เช่นเวียงกาหลง แจห้ ่ม เวยี งฮ่อ ดงเวียง เมอื งวงั และเชียงแสน ทง้ั น้ี ภายหลงั พ.ศ. ๕๙๐ เป๐นต้นมา จากหลักฐานดงั กล่าวขา้ งตน้ เวียงกาหลงได้ก่อตง้ั เมอื งมาต้ังแต่พุทธ ศตวรรษท่ี ๕ โดยต้ังอยู่ท่ีเนนิ ปุาทางทิศตะวนั ออกเฉียงใต้ ของบ้านปุาสา้ น หมู่ท่ี ๕ ตาํ บลหัวฝาย อย่หู า่ ง จากหมู่บ้านประมาณ ๔๐๐ เมตร มีซากสิง่ ปรักหักพัง ของเมืองเกา่ มแี นวกาํ แพงมูลดนิ และคูมนํ้า ลอ้ มรอบตัวเมอื ง เปน๐ รูปสเ่ี หล่ยี มผืนผ้าค่อนขา้ งยาวกวา้ งประมาณ ๒๐๐ เมตร ยาวประมาณ ๒,๐๐๐ เมตร กาํ แพงหนาประมาณ ๕ เมตร สูงประมาณ ๖ เมตร ระหว่างกลางของด้านยาวมกี าํ แพงรูปปีก ๒ ชน้ั ท้งั ๒ ด้าน คนท่ีไม่ชาํ นาญทางจะเดนิ หลงประตู หาทางเข้าไมไ่ ด้ อาจดว้ ยเหตุผลนจี้ งึ เรยี กว่าเวียงกาหลง เวยี งกาหลงเป๐นเมืองประวตั ิศาสตร์ เกี่ยวขอ้ งกับเร่ืองราวของพระลอ ซึง่ ศาสตราจารยพ์ ระวร เวทย์พิสิฐ แห่งคณะอกั ษรศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ได้กล่าวไว้ในหนงั สอื ลลิ ิตพระลอ ว่า พระลอ เป๐นเรื่องสาระนิยายประจําท้องถน่ิ ภาคเหนอื มีเค้าโครงเร่ืองว่าเกดิ ในแคว้นลา้ นนา ระหวา่ ง พ.ศ. ๑๖๑๖ – ๑๖๙๓ เวยี งกาหลงตามเนื้อเร่อื งเปน๐ เมอื งของท้าวพชิ ยั พิษณกุ ร และพระนางดาราวดี พระบดิ ามารดา ของพระเพ่อื นพระแพง แมน่ าํ้ ลาว ซึง่ มตี น้ น้ําจากดอยนางแกว้ อนั เปน๐ เทอื กเขาผีป๎นนา้ํ ระหวา่ งเขตแดน เชยี งราย – เชยี งใหม่ เดิมชอื่ วา่ แมน่ ํ้ากาหลง ซึ่งเป๐นแมน่ าํ้ ท่พี ระลอต้ังสจั จะอธิฐานเส่ียงทาย ตานานเวียงกาหลง เวยี งกาหลงมเี ตาเผา เคร่อื งถว้ ยเคลือบ ซึ่งมีชอ่ื ว่า เครื่องถ้วยกาหลง เปน๐ เครอื่ งถ้วยที่เก่าแก่และ สวยงามไม่แพ้ ของเมอื งชะเลยี ง (สวรรคโลก) และสโุ ขทยั ผู้คน้ พบเวียงกาหลงคือนักปราชญท์ าง ประวตั ิศาสตรโ์ บราณคดี พระยานคร พระราม ซากเตาทําเครื่องถ้วยชาม ซึ่งมีทง้ั เตาดนิ ขนาดเลก็ และ เตากอ่ อิฐขนาดใหญป่ ะปนกนั แสดงให้เห็นว่ามกี ารเปลีย่ นแปลงและปรับปรุงทางเทคโนโลยีให้ดี 5 ท่มี า นคร สารสุมทร ภูมินามวิทยา เขตจงั หวดั เชยี งราย หนา้ ๗๑ - ๘๒
๑๔ สว่ นที่เปน๐ เตากอ่ ดว้ ยอฐิ ในพืน้ ทรี่ าบเป๐นประทุนเหมือนกระดองเต่าขนาดเลก็ วัดไดก้ ว้าง ๒ เมตร ยาว ๓ เมตร ขนาดใหญ่ วัดไดก้ ว้างแต่ ๔ -๕ เมตร ยาว ๗ – ๙ เมตร อาจารยศ์ รีศักดิ์ (๒๕๔๕) กล่าวไว้ ในหนังสือล้านนาประเทศว่า ในบรรดาแหลง่ ผลิตเครอ่ื งเคลือบที่สําคญั ทางภาคเหนอื อนั ไดแ้ ก่ เตาสนั กาํ แพง เตาเวยี งกาหลง และเตาเมอื งพานนน้ั อาจกลา่ วไดว้ ่าภาชนะและสงิ่ ของทผ่ี ลิตจากเตาเวยี งกาหลง มรี ูปแบบและฝมี อื ท่ปี ระณตี กว่าท่ีอืน่ ๆ โดยเฉพาะกระปกุ โถ และถว้ ยชาม ทม่ี ีลายเขยี นสีใต้ผิวเคลอื บนั้น ทําไดอ้ ย่างประณตี จึงมีความสวยงามเปน๐ พิเศษ เวยี งกาหลงในสมัยต่อมา ได้หมดยุคแหง่ ความรุ่งโรจน์ เม่ือความเปล่ยี นแปลงของสง่ิ แวดลอ้ ม ต่างๆ เกิดขน้ึ ก็เสอ่ื มสลายและกลายเปน๐ เมืองรา้ งในที่สุด เตาเผาเวยี งกาหลง เตาโบราณ (อุ้ยทา) หมู่ 3 บ้านทงุ่ มา่ น ตําบลเวียงกาหลง อําเภอเวยี งปุาเปูา จังหวดั เชยี งราย
๑๕ จนกระท่งั เม่อื ประมาณ จลุ ศกั ราช ๑๒๐๑ ปกี ุน เดอื น ๑๑ – ๙ แรม ๙ ค่ํา วนั อังคาร เจา้ อนิ ทวิ ชยา-นนทเ์ จ้าผคู้ รองนครเชยี งใหม่ ไดม้ อบหมายใหพ้ ระยาไชยวงศ์ ควบคมุ ราษฎรชาวนครเชยี งใหม่ ขนึ้ มา หกั ร้างถางพงพนื้ ทีซ่ ง่ึ เป๐นท่ีรกรา้ งวา่ งเปลา่ ณ บริเวณทม่ี ชี อ่ื วา่ เฟอื ยไฮ(ปาุ ไทร) ซงึ่ อยู่ทางทศิ ใต้ของท่วี า่ การอาํ เภอปจ๎ จุบนั ประมาณ ๔ กิโลเมตร แล้วสรา้ งบ้านแปงเมอื งขน้ึ ใหม่ ขนานนามเมืองวา่ “ เมือง เฟือยไฮ” ปจ๎ จุบนั เป๐นหม่บู า้ นในเขตพน้ื ทีก่ ารปกครองของตําบลบา้ นโปุงเทวี และไดแ้ ตง่ ต้งั พระยาไชย วงศ์เปน๐ พอ่ เมือง และเมือ่ ประมาณปี พ.ศ. ๒๔๓๐ พระยาไชยวงศ์ไดย้ ้ายเมอื งข้ึนมาทางทศิ เหนอื ซ่ึงเป๐น สถานทีต่ ั้งท่ีว่าการอําเภอในปจ๎ จบุ ัน โดยไดใ้ ห้ราษฎรโคน่ ถางปุาเปาู (ไม้เปล้า ) กอ่ สร้างเป๐นเมอื งขึ้นใหม่ และได้ขนานนามตามชื่อปาุ เปน๐ ภาษาพนื้ เมืองว่า “เมืองปุาเปาู ” ทง้ั นเี้ นือ่ งจากเมืองเฟอื ยไฮเดมิ เปน๐ ทต่ี ํ่า น้าํ แมล่ าวทว่ มไดง้ ่าย ไมเ่ หมาะสมท่ีจะเป๐นเมอื งถาวร ตอ่ มาในราวปี พ.ศ. ๒๔๔๐ พญาเทพณรงค์ ได้ดาํ เนนิ การปรบั ปรุงเมอื งปาุ เปาู ใหม้ ีสภาพม่ันคง ถาวรยิง่ ขน้ึ โดยใชอ้ ิฐก่อเปน๐ กําแพงเมอื ง และเปลยี่ นนามเมอื งเสียใหม่ให้เพื่อให้ถูกตอ้ งตามลักษณะของ เมืองที่มีกําแพงเมืองว่า “เวียงปุาเปาู ” อันเปน๐ นามทีเ่ รยี กกันมาจนถึงทุกวันนี้ จากบันทกึ ของพอ่ อุ้ยนอ้ ยชนื่ ธนะชัยขันธ์ ( หลานเจา้ เมอื งเวยี งป่าเปา้ องค์สุดท้าย ) เอกสารท่ีสามารถเชื่อมโยงเร่อื งราวจากบนั ทึกของพ่ออุ้ยนอ้ ยช่ืน ซึง่ ปรากฏในพพิ ิธภัณฑ์ทอ้ งถ่ิน วัดศรีสุทธาวาส เป๐นการกล่าวถึงความเป๐นมาของเวียงปุาเปูาต้ังแต่ระยะท่ีพระยาไชยวงศ์พาคนจาก เชยี งใหม่มาสร้างเมอื ง แผน่ ศลิ าจารกึ วัดศรีสุทธาวาส
๑๖ ประวัตคิ วามเปน็ มาของเวยี งป่าเป้า ตามเรอื่ งราวจากวัดศรสี ทุ ธาวาส เมอ่ื ประมาณ ๑๐๐ กว่าปที ผี่ ่านมา อําเภอเวยี งปุาเปูาเป๐นเพียงหมู่บ้านเล็ก ๆ แห่งหน่ึงเพิ่งจะมา สรา้ งเปน๐ บา้ นเมืองใหมโ่ ดยพระยาพุทธวงศ์ เจา้ ผคู้ รองนครเชียงใหม่ไดแ้ ตง่ ใหพ้ ระยา ไชยวงษา (พระยาไชยวงศ)์ ควบคุมราษฎรชาวนครเชียงใหม่ขึ้นมาสร้างเมืองใหม่ โดยหักร้างถางพงและ สรา้ งที่ดินจากทรี่ กรา้ งวา่ งเปล่า ในพืน้ ท่ีปุาที่มีช่ือว่า เฟยไฮ (ปุาไทร) ซ่ึงอยู่ทางทิศใต้ของที่ว่าการอําเภอ ในป๎จจบุ ันประมาณ ๔ กิโลเมตร แลว้ สรา้ งเป๐นเมืองขน้ึ ใหม่ ขนานนามเมืองนี้ว่า “เมืองเฟยไฮ” (ป๎จจุบัน เป๐นหม่บู ้านอยู่ในเขตการปกครองของ ตาํ บลบ้านโปุง อําเภอเวียงปุาเปาู จงั หวดั เชียงราย และได้แต่งตั้งให้ พระยาไชยวงศด์ าํ รงตาํ แหนง่ เปน๐ พ่อเมืองปกครองเมืองนเี้ รือ่ ยมา เมื่อประมาณปี พ.ศ. ๒๓๘๒ พระยาไชยวงศ์ไดย้ า้ ยเมอื งข้ึนมาทางทศิ เหนือ (ทว่ี ่าการอาํ เภอใน ปจ๎ จบุ นั )โดยใหร้ าษฎรถางปาุ เปล้า (ไม้เปล้าพื้นเมืองเรยี กว่าปาุ เปาู ) กอ่ สร้างเปน๐ เมืองขน้ึ มาใหม่ขนานนาม ตามชื่อว่าเปน๐ ภาษาพ้ืนเมอื งวา่ “เมอื งปาุ เปูา” ทั่งนี้เนอื่ งจากเมอื งเฟยไฮ เดมิ เปน๐ ทตี่ ่ํา นาํ้ ทว่ มไดง้ า่ ย ไม่ เหมาะทจ่ี ะเป๐นเมอื งถาวร ตอ่ มาในราวปี พ.ศ. ๒๔๑๖ พระยาไชยวงศ์ถึงแก่อนจิ กรรม พระยาเทพณรงค์ ไดด้ าํ เนินการ ปรบั ปรงุ เมอื งปาุ เปาู ใหม้ ีสภาพมัน่ คงถาวรยิง่ ขึน้ โดยใช้อิฐกอ่ เปน๐ กําแพงเมอื งมปี ระตูท้งั ๔ ทศิ รอบตวั เมือง และเปลี่ยนนามเมอื งเสียใหมเ่ พื่อให้ถกู ต้องตามลักษณะของเมอื งท่ีมกี าํ แพงว่า “ เวียงปุา เปาู ” อนั เปน๐ นามเมอื งที่เรยี กขานกันมาจนทุกวันน้ี ตอ่ มาพระยาเทพณรงค์ถงึ แกอ่ นิจกรรม พระยาขนั ธ เสมาซึง่ เป๐นนอ้ งเขยจงึ ไดร้ ับแต่งตงั้ ให้เปน๐ พอ่ เมอื งสบื แทนตอ่ มา ราวปี พ.ศ. ๒๔๔๖ พวกเงยี้ ว(ไทยใหญ่) ได้ก่อการจราจลขนึ้ ที่จังหวัดเชยี งราย หลังจากการ จลาจลสงบทางราชการได้จดั ตั้งอาํ เภอข้ึนท่ีบ้านแม่พริก ตําบลแมพ่ ริก (ป๎จจบุ ันอยู่ในเขตปกครอง อําเภอ แมส่ รวย) เรียกว่า “อําเภอแม่พริก”และไดแ้ ตง่ ต้ังใหเ้ วยี งปุาเปูาเปน๐ ก่ิงอาํ เภอขน้ึ อยใู่ นความปกครองของ อําเภอแม่พรกิ ต่อมาราวปี พ.ศ. ๒๔๕๐ ทางราชการได้ย้ายท่วี า่ การอาํ เภอแม่พรกิ ไปต้ังริมฝง๑๎ นํ้าแมส่ รวย และไดข้ นามนามอาํ เภอใหม่นีว้ ่า “อําเภอแมส่ รวย” ตามชอ่ื ของลาํ นํ้าทีต่ ้ังและไดย้ กฐานะก่งิ อาํ เภอเวยี งปาุ เปูาขนึ้ เปน๐ อําเภอโดยขนานนามเดมิ ว่า “อําเภอเวียงปุาเปาู ”สบื ตอ่ มาจนป๎จจบุ ันนี้ ที่วา่ การอําเภอเวียงปุาเปูา (หลังเกา่ )
๑๗ ทีว่ ่าการอาํ เภอเวียงปุาเปูา (หลังเกา่ ) ในป๎จจบุ ันไดบ้ ูรณะและจัดต้ังเป๐น ศาลแขวนเวียงปุาเปูา ในอดีต อําเภอเวียงปุาเปูายังมีผคู้ นพลเมืองน้อยมาก เม่อื ได้รับการยกฐานะเปน๐ ก่งิ อําเภอในราวปี พ.ศ.๒๔๔๖ และแยกจากอําเภอแม่สรวย ทางราชการได้จัดตง้ั ทีว่ ่าการอําเภอขึ้นบริเวณที่ดนิ ด้านใต้ของ สถานตี าํ รวจภธู ร อาํ เภอเวยี งปาุ เปาู (ป๎จจบุ ันเป๐นท่ีตัง้ หอ้ งสมุดประชาชน) เป๐นอาคารไมช้ ้นั เดยี ว เรียกชื่อ ว่า “หอประภา” ในราวปี พ.ศ. ๒๔๗๕ ไดเ้ กดิ ไฟไหม้ทวี่ ่าการอาํ เภอเสียหายทั้งหมด นายอําเภอใน ขณะน้นั คอื ขุนบวร อุทัยธวชั จงึ ไดด้ ําเนินการกอ่ สรา้ งทว่ี ่าการอาํ เภอใหม่ โดยย้ายจากท่เี ดมิ ข้ามถนนไป อยทู่ างทิศตะวนั ตก ซึง่ เป๐นทต่ี ัง้ ท่ีวา่ การอาํ เภอเวยี งปุาเปูาในป๎จจบุ นั โดยสรา้ งเป๐นอาคาร ๒ ชน้ั ก่ออฐิ ถือ ปนู แตพ่ อเร่มิ ดําเนนิ การสร้างได้เพียงเลก็ น้อยทา่ นกต็ อ้ งประสบอุบัติเหตุตกมา้ เสียชวี ติ ขุนพิพัติ สุข อาํ นวย ไดย้ า้ ยมาดํารงตาํ แหนง่ แทน ได้สานงานต่อแต่สรา้ งไม่สาํ เร็จก็ต้องย้ายออกไป จนขุนสุจริตสมบตั ิ สริ ิ ได้ยา้ ยมาดาํ รงตาํ แหนง่ แทน จึงไดส้ รา้ งจนเสรจ็ สมบรณู ์ และไดจ้ ดั ทาํ พิธฉี ลองในปี พ.ศ. ๒๔๗๘
๑๘ อําเภอเวียงปุาเปาู ป๎จจบุ ันมเี นื้อที่ ๑,๒๑๗ ตารางกโิ ลเมตร อย่ทู างตอนใตข้ อง จังหวดั เชยี งราย เป๐นระยะทางประมาณ ๙๑ กโิ ลเมตร ตามเสน้ ทางสายเชยี งใหม่ - เชียงราย ภมู ปิ ระเทศสว่ นใหญเ่ ปน๐ ท่ี ราบเชิงเขา มภี เู ขาลอ้ มรอบมีลํานา้ํ แม่ลาวไหลผ่านทกุ ตาํ บล แมน่ ้ําแม่ปูนลา่ ง ไหลผา่ นตาํ บลเวียง และ ตําบลสันสลี แมน่ ํา้ แมฉ่ างขา้ วไหลผ่านตําบลแมเ่ จดยี ์ ตาํ บลปาุ ง้ิว ตําบลบ้านโปงุ แม่น้ําแมห่ าง ไหลผ่าน ตาํ บลแม่เจดยี ์ และตําบลปุางิว้ และนา้ํ แม่เจดียไ์ หลผา่ นตําบลแม่เจดีย์เป๐นตน้ รายช่ือเจา้ เมอื งผปู้ กครองเมืองเวียงป่าเป้า ๑. พญาไชยวงค์ หรือ พญาไชยวงษา เจา้ เมอื งองค์แรกของเมอื งเวียงปาุ เปาู มีภรรยาชอื่ แม่เจ้าพุน่ มี บุตรธดิ า ๒ คน คอื ๑. แมเ่ จ้าเรือนคํา ๒. แม่เจา้ คาํ ปวน ๒. พญาเทพณรงค์ เจ้าเมืองผปู้ กครองเวียงปุาเปูาตอ่ จากพญาไชยวงษา และเปน๐ ลกู เขตของเจ้าเมืองเก่า มีภรรยาช่ือ แมเ่ จ้าเรือนคํา ต้นตระกูลทาอปุ รงค์ มบี ุตรธดิ าด้วยกัน ๑๑ คน ๑. แม่เจา้ สุกนั ทา ๒. พ่อเจ้านอ้ ยแสน ๓. แม่เจ้าเอ้ย ๔. แม่เจา้ แกว้ ๕. พ่อเจา้ นอ้ ยสวน ๖. พอ่ เจ้านอ้ ยสิงหค์ ํา ๗. พ่อเจา้ บุญป๔๎น ๘. แมเ่ จา้ ผง ๙. เจา้ นอ้ ยบุญเตงิ ๑๐.เจ้าน้อยคําปน๎ ๑๑.แม่เจ้าหลา้ ๓. พญาขันธเสมาบดี หรอื พญาขันธ์ ลูกเขยคนเล็กของพญาไชยวงค์ มีภรรยาช่อื แม่เจ้าคําปวน ต้น ตระกูลธนะชยั ขันธ์ มีบุตรธิดาด้วยกัน ๗ คน ๑. แมเ่ จ้าเหมย ๒. แมเ่ จา้ เขยี ว - หมดั ๓. แมเ่ จา้ บุญป๔๎น ๔. พอ่ เจ้าน้อยมหาดนิ ๕. แม่เจ้าต่อมคํา ๖. พอ่ เจ้านอ้ ยคาํ ตน๋ั ๗. พอ่ เจา้ นอ้ ยหนอ่ เมือง
๑๙ พญาเทพณรงค์ พญาขนั ธเสมา
๒๐ สว่ นการปกครองในสมัยนน้ั จะมีการปกครองแบบความเชื่อ ซง่ึ เป็นกล่มุ คาเชื่อท่ตี อ้ งยดึ ถอื และปฎบิ ตั ิ อยา่ งเครง่ ครัด น้ันคอื การนบั ถอื เจ้านายเมือง รายช่ือเจา้ นายเมอื งเวยี งปา่ เปา้ ท้งั หมด ๙ คน ๑. เจ้าพ่อหลวงบวกคํา ๒. เจา้ พอ่ อา่ งคาํ แสน ๓. เจา้ พอ่ สิงห์ขะ ๔. เจ้าพอ่ ใจสาม ๕. เจา้ พอ่ ข้อมือเหล็ก ๖. เจ้าพอ่ มะหาดเลก็ เด็กจาย ๗. เจา้ พ่อซา้ ยหน้าขวาหลงั ๘. เจ้าพอ่ ตา แกว้ ตาหาร ๙. เจ้าพ่อเจด็ บา้ นเจด็ เมือง คนรบั ใช้ (คนใจ)้ เจ้านายเมือง ๑. อ้ายเหล็กแข ๒. อ้ายหม่องแค ๓. อ้ายผปี ุา ๔. อ้ายววั ลา่ ๕. อ้ายมะขามขอ้ เดยี ว ๖. อ้ายขนไกไ่ หม้ ๗. อา้ ยใต้ไฟลน ๘. อา้ ยเหลก็ คํา ๙. อา้ ยเหล็กแดง
แผนผงั เมอื งเวียงป่ าเป้า สมยั พญาเทพณรงค์ ๒๑ พ.ศ. ๒๔๑๘ วดั ศรคี าเวยี ง ๖ น้าหว้ ยเวียง ้นำแม่ลาว วดั ศรสี ุพรรณ ๕ โป่ งหนอง ๗ ๑ คมุ้ เจา้ เมือง ๔ ๓ หนององึ่ ๙ ๘ ๒ วดั ป่ าแดง ประตเู มอื งเวยี งปา่ เป้า ประตูหลัก ประตูทช่ี าวบ้านบอ่ งออก ๑. ประตูช้างสี(ประตูโปงุ หนอง) ๖. ประตูห้วยเวียง ๗. ประตูหัวเวียง ๒. ประตชู ัย (ประตูปาุ แดง) ๘. ประตหู นองอ่งึ ๙. ประตเู ก๊าเกลด็ ๓. ประตูเจนเมือง (ประตเู วียง) ๔. ประตูทา่ นาง (ประตูเวยี ง) ๕. ประตสู ลี (ประตูวัดศรกี าํ้ )
22 ประวัตกิ ารสร้างเมอื งเวียงป่าเป้า จากบนั ทกึ สมดุ ขอ่ ย เจ้าพญาไชยฺยวงษา ( ไชยวงค์ )เปน๐ เก๊าและขนุ นายกรมการไพร่ไทยตังมวลมาตั้งอรัญญิกบุรเี วยี งปาุ เปูา จุลศกั ราชได้ ๑๒๐๑ ( พ.ศ. ๒๓๘๒ ) ปกี ดั ไก๊ เดอื น ๑๑ แรม ๙ คํ่า วัน ๓ เวียงกว้างและยาวลวงข่ือ ๒๐๐วา ลวงแป ๓๐๐ วา วาออ้ มจอด (รอบ )มีพันวาประตูมี ๕ ใบ ประตหู นใต้ ชื่อประตไู ชย ประตูวนั ออก ช่ือประตูชา้ งสี ประตวู นั ตกมี ๓ ประตู ประตู ๑ชอ่ื ประตูศรี ประตู ๒ ชือ่ ประตูท่านาง ประตู ๓ ช่อื ประตู เจนเมือง เจ้าพญาเชยยวง อนิจจะ(ตาย) ปีกา่ เลา้ เดอื น ๑๑ เพง ราชบุตตาบตุ ตี (บุตร - ธดิ า ) ท้าวขนุ (กํานนั – ผ้ใู หญ่บ้าน ) กรมการสร้างปราสาทใสถ่ ึงเดือนเจียงออก ๖ คํ่า วนั ๗ สง่ สะกา๋ ร(ฌาปนกิจ) ท่านเสวยเมือง ๓๕ปีแล จุลศักราชได้ ๑๒๓๕ (พ.ศ. ๒๔๑๖)ตัวปี กา่ เล้าเดือน ๓ ออก ๑๑ คา่ํ วัน ๑ นายน้อยอินตะ๊ ตน เปน๐ ขตั ตยิ ชะกะมาอสิ ราชะกะสทุ ธาอภินวบรุ เี จ้าแผ่นดินเมอื งชียงใหมต่ ้ังขึ้นเปน๐ พญาเทพณรงค์ หือ้ เป๐นเจ้า เมอื งเฟอื ยไร เถงิ เดอื น ๓แรม ๖ คาํ่ วนั ๔ ขนุ นายกรมการอับเมืองหื้อเปน๐ เจา้ เมืองวุฒิวิรฬุ หสิ ขุ สวัสดแี ล ปี ดับไก๊ ศกั ราชได้ ๑๒๓๗(พ.ศ. ๒๔๑๘ )ตวั เดอื นยอี อก ๒ ค่ํา วัน ๑ ก่อแลกตงั้ ลาํ เวียงแล ปมี ึงเปูาศกั ราชได้ ๑๒๓๙ (พ.ศ. ๒๔๒๐) ตัวเดอื น ๙ ปถมะออก ๓ค่ํา เมงวนั ๓ ไทยเปกิ ไจ้กอ่ แลกสรา้ งพทุ ธรูปเจ้าวัดศรกี าํ้ (ศรี คําเวยี ง) เถงิ เดอื นยีเพง วัน ๓ ไทยสําเร็จไดอ้ บรมสําผุด(สมโภช)หื้อทานแล ปกี ัตเหม้า ศกั ราชได้ ๑๒๔๑ ( ๒๔๒๒) ตวั เดือน ๙ ข้นึ ๕ ค่ํา วัน ๓ พญาเทพปกเรือนเถงิ ๑๑ ค่ํา วัน ๗ ขนึ้ อยู่สุขสวัสดีมยี ัสสะสัมป๎ตติสลี ทีฆาอายุมัน่ ยนื ยาว ยทุ า้ งกระทาํ ทานะ สีละคํ้าชูศาสนาไปแล จุลศักราชได้ ๑๒๔๓( ๒๔๒๔ )ตัว ปีรวงไส้เดือน ๙ ออกออก ๓ ค่ําเมงวัน ๓ ไทยดับเปูายามแตรสู่เที่ยงวันได้ก่อพระพุทธรูปเจ้าวัดเจ็ดยอด(ปุาแดง) กับแท่นแก้วเถิงเดือนยีเพงเม็งวัน ๑ ไทยกาบสง้าไดส้ มโภชหื้อทานแล จลุ ศักราชได้ ๑๒๔๔ (๒๔๒๕)ตัวปีเต่าสง้าเดือน ๙ ปถมะลง ๑๒ ค่ําเมงวัน ๓ ไทยเต่าสง้า ยามแตรสู่เท่ียงวันได้ปกแปงอุโบสถในนทีเถิงเดือน ๖ เพงเมงวัน ๕ ไทยดับเปูา ได้เบิกบาย ฉลองทําทานทักขโิ นทักกะตกพะสุทธาแล มงั คะละวุฒสิ ริ เิ ตชะวัณณะอุทธะริอุปภัมภะกะวรพุทธศาสนาตติยะ ป๎ตตสิ งั ขาระโชฐกั พะวะชนิ ะศาสนา อารามมาวัดหลวงราชคฤห์ (ศรีสทุ ธาวาส) ปถมะสมณศรัทธาและมหามูล ศรัทธาทง้ั สองคณะภายในมี ตุ๊หลวงอุตตมะเป๐นเก๊าและศิษย์โยมเจ้าจุต๋นภายนอกมีเจ้าพญาเทพณรงค์ตนเป๐น อสิ ราธิป๎ตติ รฐั ฐาบุรีเมืองเฟอื ยไรเป๐นเกา๊ และพญาขนั ธเสมาเป๐นประธานและท้าวขุนกรมการไพร่ราชอัสสดอร (ราษฎร) จคุ นก็มปี พุ พะมลู ะภากกะปสาทะเจตนาในวรพทุ ธศาสนาวัดหลวงราช คฤหอ์ นั พระสัตถาหากถะปน๎ นา (สถาปนา- แต่งตั้ง )ก็เป๐นท่ีชราครํ่าครา(ชํารุดทรุดโทรม) จิงพากัน มาเลิกยกยอเสกส้อมย้อมยศขึ้นเป๐นตติยะโชตะกะศาสนายาวะป๎จจะสะตัตสาจีระติถิกาหื้อมีฤทธีสลีเตจะ วัณณะปราบแพส้ ัพพอมิตตะขา้ ศกึ ศตั รูโจรมารมจิ ฉาทิฏฐสิ ัพพะอปุ ท๎ วะกังวลอนตรายภยั ยะทัง้ มวลแลว้ ไวเ้ ป๐นที่ ไหว้และปูชาแก่หมู่คนและเทวดาอินตาพรหมสะร๋มสมณพรามณ์เจ้าทั้ง หลายแล้วจิงป๎ตติสังขาระตั้งไว้ตติยะ ในปีกาบสัน จุลศักราชได้ ๑๒๔๖ ( ๒๔๒๗ ) ตัวเดือน ๑ เชียงใหม่ขึ้น ๓ คํ่า เมงวัน ๑ ไทย มึงเม็ดนิมันตนา พระสังฆเจ้าเข้าสังคหปริตตมังคละปกแปงอารามวิหารหอโรงเถิงวันเดือน ๑ ข้ึน ๗ คํ่า เมงวัน ๕ ไทยรวงไก๊ ยามถว้ น ๒กองายนมิ ันตนาพระคณะสังฆเจ้าเข้าสูตรปริตตะมังคะละมหาศรัทธามีเจ้าพญาเทพเป๐นเก๊านิมันต นานายะกะสังฆอุตตมะอย่เู มตตาเถิงเดอื น ๙ ขึ้น ๑๑ ค่าํ เมงวัน ๔ ไทยดับเลา้ ได้ภิเสกส้อมย้อมยศสุวรรณารัก หางยางคาํ พทุ ธปมิ ปาสารูปเจ้าพระสังฆสวดปริตตะมังคะละเบิกบายฉลองทําทานไว้ไหว้แก่หมู่คนและเทวดา อินพรหมสะร๋มสมณพรามณเ์ จ้าเปน๐ ปรโิ ยสานหอ้ ง ๑ ก่อนแลตงั้ ประตูชัยไปหาท่าแม่เจดีย์มี ๖,๖๐๐ วา ตั้งแต่ ท่าแม่เจดียไ์ ปหาทา่ โปงุ นํ้าร้อนทา่ สดุ ทงั พนู มี ๔๕๑๐ วากองเข้ากนั (รวม ) ต้ังแต่ประตูชัยเวียงมารอดตําหนักโปุงนํ้าร้อนมี ๑๔,๔๑๐ วาหมายท่านํ้าตั้งแต่ ดอยผีปน๎ นา้ํ มาแผว้ ปางไครม้ ี ๓๔ ทา่ ตั้งแตโ่ ปงุ น้ํารอ้ นท่าสดุ ทังพูนมาตําหนักห้วยก้างปลามี ๔,๕๔๐ วาตั้งแต่ ตาํ หนกั ห้วยก้างปลาไปหาเขอ่ื นเมืองวังมี ๗๔๑ วา ได้หมายไว้ปีเสด็จเจ้าชะมานันต้ังแต่เขื่อนเมืองท่ีดอยผีป๎น
23 น้ํามาหาท่าห้วยโปุงนํ้าร้อนมี ๕,๐๐๓ วา ต้ังแต่ศักราช ๖๑๖ ตัวเป๐นศักราชของมังธราแล มารอดศักราช ๑๒๔๖ ( พ.ศ. ๒๔๒๗ )ตัว ปีกาบสันน้ีได้ ๓๒๗ ตัวแล ศักราชได้ ๑๑๙๘ ( พ.ศ.๒๓๗๙) ยังมีกูลาฝรั่ง(กัปตัน แมคลอี อด Capt. Mc Leod )ข้ึนมาเลียบรอยบา้ นเมืองเฟอื ยไรแต่เจ่นพอ่ เจา้ หนานพรหมยังบ่ตายเท่ือกุลาฝร่ัง ขน้ึ ไปเถิงเมอื งเหนือเมืองฮ้ออยูม่ าเถิงศักราชได้ ๑๒๔๗ ( พ.ศ.๒๔๒๘) ตวั เดือน ๕ แรม ๖ ค่ํา วัน ๔มีกูลาฝร่ัง ๒ คนขึน้ มาเลยี บรอยบา้ นเมืองเฟือยไรไปเมอื งหนองขวางเชยี งรายเชียงแสน อยู่มาเถิงศักราช ๑๒๔๘ ( พ.ศ. ๒๔๒๙ ) ตัวปีรวายเส็ด เดือนยี แรม ๙ คํา่ วนั ๗ มีกลู าฝร่ังใหญ่ ๓ คน ( มองซิเออร์ออกุส ปาวี M . Auguste pavie ) กลบั นายขา้ หลวงใหญช่ าวใต้ ๒ คน ขึน้ มาเลียบรอยบ้านเมืองแถมมายง้ั นอนวัดศรีสุพรรณหัวขัว ๒คืน แล้วขนึ้ เมือทังเมืองหนองขวางเชยี งรายเชยี งแสนมันจกั ขน้ึ ไปเถงิ เมอื งใดกย็ ังบร่ ้เู ท่อื เถิงเดอื น ๓ ออก ๕ คํ่า วัน ๔ เจ้าครุ ที ๓ กับเจ้าคุณเล็กมาเถิงเวียงปุาเปูาว่าจะเมืออยู่รังเมืองหลวงพระบางว่าอั้นแลก็ในศักราช ๑๒๔๘ ตัวนแ้ี ล มงฺคลาวุฒิสุกฺขสวสฺสติยปตฺติสงฺขารณกตฺวาปาการํ อกฺขาลโก นกรํ ปุรํ อรํฺเญ สิริเตช วณฺณ สุข พล สภุ มํ คลกถา จุลศักราชได้ ๑๒๕๘ ( พ.ศ.๒๔๓๙ ) ตัว รวอสนํา กําโพชะภี สระเข้ามาในเหมันตอุตตุ ฤตปู สุ ะยะป๎ญจะมี สะณวี าลไถง ภาษาไทยเราวา่ ปรี วายสัน เดือน ๔ แรม ๕ คํ่า เม็งวัน ๗ ไทยรวงไส้ติถี ๒๐ ตวั นาตีดิถี ๒๔ ตัว นาตีฤกษ์ ๔๘ ตัว พระจ๋ันต๊ะ จรณะเข้าเทียวเตียม นักขัตฤกษ์ตัวถ้วน ๑๒ ช่ือว่า หัสสตฐ เทวตา ปรากฏในกณยะปฐวีรีราศ อาตีตะวารพุทธศาสนาอันคารวงแล้วไปได้ ๒๔๔๙ พระวัสสาอธิกาปลาย ๙ เดอื น ปลาย ๒๐ วันทงั วนั นี้ อนาคตะวะระชนิ นะศาสนา อนั ยังจักมาภายหน้าบน่ ้อยยงั ๒๕๖๐ พระวัสสา ปลาย ๒ เดือน ปลาย ๑๐ วนั ทงั วนั พรกู ถกู โบราณสังขยามาณี สังเกตุ เหตุนั้นหมายยังมีเทวขัตติยะราชังกูล เจ้าพระยาเทพณรงค์ตนเป๐น อิสระราธิป๎ตติ รัฐฐบุรีอารัญญิกาเป๐นเก๊าเจ้าพญาขันธเสมาเป๐นประธานแลท้าว หม่นื ขุนแสนประชานราช บ้านเมืองทีน่ ี้ทั้งมวลก็ได้สมคั คะ จิตตะปะสามโน รัมมา กไ็ ด้ปากนั มาปกเสาประตเู วียงเปน๐ ไชยมังคะละไวแ้ ล้วเถงิ เวลายามแลงกไ็ ดส้ งเสพ ตุรยิ ะนนตรี แห่ยังพระรูปเจา้ กระสัตตา(กษตั รยิ ์ ) ทั้ง ๒ พระองค์ เถิงแรม ๗ คํ่ากไ็ ด้สงเสพแห่แวดเวยี งแถมเถิง แรม ๑ คํ่าเมงวัน ๓ ไทยกาบสันติดถี ๒๓ ตัว นทีติดถี ๖ ฤกษ์ ๑๕ ตัว ชื่อสวัสตีเทวตา ปรากฏเข้ามาในตุร วาโยรยิ าด นทฤี กษ์ ๑ ตวั เถิงคณะมหุตตะไชยมังคะละยามดีแล้วสังฆก็ได้กระทําสิทธิปริตตะถวายป๎ตติวจนวรํ ทงั หมน้ั แกน่ ก็ได้กอ่ แลกตงั้ ปราการกาํ แพงเวียงคมุ้ เฟือยไรวันนั้นแล ล ๔ สกั กะ๑๒๐๑ (พ.ศ. ๑๓๘๒) ตวั ปีกดั ไก๊ เดือน ๑๑ ๕ ๗ แรม ๔ ค่า วนั ๓ มีเจา้ นอ้ ยไชยวงค์ อนั ขตั ิยะลกู เจา้ หนานพรหมเป็นเก๊าทา้ วขนุ ราชดรตงั มวลได้ ๖ ๑ แลก เขา้ ตงั้ อยเู่ วียงคมุ้ เมืองเฟือยไร ๘ อยมู่ าเถิง สกั กา ๒๓ ๑๒๓๕(พ.ศ. ๒๔๑๖)ตวั ปีกา่ เลา้ เดือน ๑๑ เพงเมงวนั ๖ ยามกองงายทา่ นก็เถิงจตุ ติเป็นพอ่ เมืองได้ ๓๕ ปีแล
24 แผ่นศิลาจารึก บันทึกเร่อื งราวในยคุ การสร้างบา้ นแปลงเมืองของเวียงปาุ เปาู เหตกุ ารณส์ าคญั ทเ่ี กิดขนึ้ ในช่วงของเวียงปา่ เป้า Times Line พ.ศ. ๑๘๓๙ พญามงั รายสรา้ งเมอื งเชียงใหม่ พ.ศ. ๑๙๗๕ พระเจา้ ติโลกราชปกครองเชียงใหม่ พ.ศ. ๑๙๗๙ พระเจ้าสามฝ๑ง๎ แกนเปน๐ กษัตรยิ ค์ รองอาณาจกั รล้านนา มีราชธานีอย่ทู ่ี เชยี งใหม่ และได้อญั เชญิ พระแก้วมรกตจากเชียงรายไปประดษิ ฐานท่ีวดั พระแกว้ ดอนเต้าสชุ าดาราม นครลาํ ปาง บนั ทึกไดก้ ลา่ วถึงเมืองแชส่ กั พ.ศ. ๑๙๐๘ พญาฮ่อมาทวงสว่ ยจากพญากอื นา กล่าวถึงเครอ่ื งถ้วยแช่สัก และเป๐นยคุ ทองของล้านนา พ.ศ. ๒๐๑๑ จารกึ การสร้างวิหารวัดจันทรอาราม (จารึกวดั ศรสี ทุ ธาวาส) พ.ศ. ๒๐๒๐ สังคายนาพระไตรปิฎกคร้งั ท่ี ๘ ของโลก ทวี่ ัดมหาโพธาราม (วัดเจด็ ยอด เชียงใหม่)ในสมัยพระเจ้าติโลกราช พ.ศ. ๒๐๓๙ จารึกการพอกคําพระเจ้าตนหลวง (จารกึ วัดศรีสทุ ธาวาส) พ.ศ. ๒๐๔๕ จารกึ อุทศิ ครัวข้าพระ (จารึกวัดศรีสทุ ธาวาส) พ.ศ. ๒๐๙๐ พระเจา้ ไชยเชษฐาขนึ้ ครองลา้ นนา (ผ่านแมส่ รวย- เวยี งปุาเปูา) พบตํานานพระเจ้าทองทิพย์ พ.ศ. ๒๑๐๑ ลา้ นนาตกเปน๐ เมอื งขึน้ ของประเทศพม่า (พระเจา้ บเุ รงนองยกทพั ตี เชยี งใหม่) พ.ศ. ๒๓๑๘ สถาปนาตระกลู เจ้าเจด็ ตนครองนครตา่ ง ๆ ในลา้ นนา พ.ศ. ๒๓๒๗ ไทยลือ้ เข้ามาเวยี งปาุ เปาู พ.ศ. ๒๓๔๐ มง้ เข้ามาเวียงปาุ เปูา
25 พ.ศ. ๒๓๗๙ (พ.ศ. ๒๓๘๐) กัปตันแมคลีออด (Capt .Mcleod) เดนิ ทางผา่ นเวียงปาุ เปาู ไปเชยี งตุง พ.ศ. ๒๓๘๑ เจา้ พุทธวงศ์ให้พญาไชยวงศส์ รา้ งเมอื งเฟยไฮ พ.ศ. ๒๓๘๒ พญาไชยวงศย์ ้ายเมอื ง มาสร้างเมืองเฟยไฮปาุ เปูาใหม่ พ.ศ. ๒๓๘๖ ล้านนาสามารถจดั ตง้ั เมอื งหน้าด่านไดส้ าํ เร็จ มีจาํ นวน ๓ เมอื ง ไดแ้ ก่เมืองเชียงราย เมืองพะเยา และเมอื งงาว พ.ศ. ๒๓๘๗ ท้าวสทิ ธิมงคล และพญาราชวงศเ์ ดินสํารวจแดนเมอื งเชยี งราย และเมอื งเวยี งปาุ เปาู เวยี งปาุ เปาู พ.ศ. ๒๓๙๒ เกณฑช์ าวบา้ นไปรบสงครามเชยี งตงุ พ.ศ. ๒๔๑๖ พญาไชยวงศ์ถงึ อสญั กรรม และพญาเทพณรงคเ์ ปน๐ เจา้ เมอื งเฟยไฮปาุ เปาู พ.ศ. ๒๔๑๘ พญาเทพณรงคก์ ่อกําแพงเมอื ง พ.ศ. ๒๔๑๙ Hott s.Hallet ไดเ้ ดนิ ทางมาเวยี งปุาเปาู บนั ทึกไวว้ ่าเปน๐ ทอ่ี ยู่ของพวกลั๊วะ อพยพมาจากเชียงตุง มีอาชพี เกษตรกรรม ปลกู ออ้ ย ขา้ ว ฝาู ย พรกิ คราม และทาํ เหมอื งแรเ่ หลก็ พ.ศ. ๒๔๒๖ บูรณะวดั ศรสี ุทธาวาส พ.ศ. ๒๔๒๙ บาทหลวง มองซเิ ออรอ์ อกุส ปาวี เดนิ ทางสาํ รวจผา่ นเวยี งปาุ เปาู พ.ศ. ๒๔๔๔ เปล่ยี นจากเมืองหนองขวางเปน๐ อาํ เภอแม่พริก(แมส่ รวย) พ.ศ.๒๔๔๖ กบฎเงยี้ วเชียงราย (เปลีย่ นเปน๐ ระบบเทศาภบิ าล) มณฑลพายพั ขึน้ กบั เชียงใหม่ พ.ศ. ๒๔๔๘ รัชกาล ๖ (สมเด็จพระยุพราช) เสด็จลา้ นนา ผา่ นแมส่ รวย เวยี งปาุ เปาู พ.ศ.๒๔๗๕ ขุนบวร อุทยั ธวชั ไดร้ อ้ื กําแพงเมอื งไปสรา้ งที่ว่าการอาํ เภอเวียงปาุ เปูา พ.ศ. ๒๔๗๘ สรา้ งทว่ี ่าการอาํ เภอเวียงปาุ เปาู เสร็จสมบูรณ์ พ.ศ. ๒๔๘๒ – ๖ สงครามโลกครง้ั ที่ ๒ (สงครามมหาเอเชียบูรพา) ชาวบา้ น(เวียงปาุ เปูา – แมส่ รวย ) ถูกเกณฑไ์ ปรบสงครามเชยี งตงุ พ.ศ. ๒๕๐๐ -๑๐ กลุ่มทนุ ทําโรงบ่มใบยา มกี ารสํารวจพ้นื ท่ี / กจิ การโรงเล่อื ย โรงกล่นั สรุ า(โรงเหลา้ ) , เหมืองแร่ พ.ศ. ๒๕๑๕- ๒๕๑๙ การทาํ เหมอื งแร่ซไี รตท์ ดี่ อยหมอก เวียงปุาเปูา เป๐นชว่ งความเจรญิ สงู สุดในพ้นื ที่ พ.ศ. ๒๕๒๒ การติดตามแผ่นศลิ าจารกึ ของดร.ฮันส์เพนธ์ ที่วัดศรสี ทุ ธาวาส พ.ศ. ๒๕๓๓ พระอาจารย์บรรพต คมภฺ ีโร รว่ มกบั ศรัทธาวัดศรสี ุทธาวาสไดร้ ว่ มกันบรู ณะ พระวิหารข้ึนมาใหม่ พ.ศ.๒๕๕๐ บูรณะหอไตรวดั ศรสี ทุ ธาวาส
26 เวยี งปา่ เป้าพนื้ ที่ของเมอื งเก่า จากการศึกษาค้นควา้ และรวบรวมประวัติศาสตร์เกยี่ วกับเวยี งปา่ เปา้ พบว่า ขอ้ มูลท่มี ีการคน้ ควา้ ทางเอกสารท่รี วบรวมในประวตั ศิ าสตรท์ ่ผี า่ นมา บางข้อมูลท่ีพบมักจะเป๐น การจดบันทึกหรือคําบอกเล่ากล่าวขานต่อ ๆ กันมา และในข้อมูลประวัติศาสตร์เวียงปุาเปูาได้ถูกตีพิมพ์และ เผยแพร่ไปหลายตอ่ หลายครง้ั ดว้ ยกด็ ี โดยนักประวัติศาสตร์ นักเรียน นักศึกษา นักวิจัยท่ีเข้ามาศึกษาในพ้ืนที่ ของลุม่ นาํ้ แม่ลาว รวมถงึ ข้อมลู ทท่ี างสาํ นักวัฒนธรรมอาํ เภอเวยี งปาุ เปูาไดศ้ กึ ษารวบรวม แต่ข้อมูลดังกล่าวถือ วา่ เป๐นข้อมลู ที่ศกึ ษาค้นควา้ และเรียบเรยี งตามคําบอกเลา่ กล่าวอ้างต่าง ๆ ท่ีคาดว่าจะเป๐นข้อมูลที่สมบูรณ์ แต่ ขอ้ มูลดังกล่าวมักจะมกี ารขดั แยง้ กนั เองในสมุดบนั ทึกเล่มเดียวกนั แต่หลังจากนั้น ได้มีการสืบค้นหาความเป๐น จริงเผื่อว่าจะไม่ทําให้ลูกหลานได้รับรู้และได้รับการถ่ายทอดผิดเพ้ียนไปจากความเป๐นจริงให้มากนัก จึงได้มี การศึกษาค้นคว้า รวบรวม และเรียบเรียง โดยเริ่มจาก สมุดข่อย ป๎๓บสา ที่มีอยู่ในวัดศรีสุทธาวาส และจาก หลักฐานที่สืบทอดมาจากตน้ ตระกลู ของเจ้าเมือง มาสู่ยุคของลูกหลาน จากการค้นหาหลักฐาน เช่นแผ่นศิลา จารึก และร่องรอยหลกั ฐานของเมอื งเก่า พบว่าเวยี งปาุ เปูาไมใ่ ช่เป๐นเวียงเก่าท่ีผ่านมาประมาณ ๑๖๙ ปี แต่ยัง พบวา่ เปน๐ เมืองเกา่ ท่มี ีอายุประมาณ ๕๓๙ ปี จากศิลาจารกึ ชร.๑ พ.ศ. ๒๐๑๑ ท่ีมีข้อมูลอยู่ในพิพิธภัณฑ์วัดศรี สุทธาวาสในป๎จจุบนั และชร.๒ พ.ศ. ๒๐๓๙ ความสนใจที่เร่งสืบค้นและค้นคว้าหาหลักฐานต่าง ๆ ที่มีอยู่ในสมุดข่อย หรือป๓๎บสา แล้วยั งนํามา เปรยี บเทยี บจากหอจดหมายเหตุ และการบนั ทึกจากเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ครั้งสําคัญของล้านนาหรอื ประวัติศาสตร์ เก่ยี วกับล้านนาท่ีหลาย ๆ แห่งได้ศึกษา ปริวรรต เอาไว้ เช่น ปี พ.ศ. ๒๓๘๐ (พ.ศ. ๒๓๗๙ สาเหตุท่ีได้ เขียนทง้ั สองพ.ศ. ในคราวเดียวกันก็เพราะว่า การเปลี่ยน พ.ศ. ของล้านนาจะเปล่ียนช่วงเดือนเมษายน ส่วน ของสากลก็จะเปลี่ยนเดือนมกราคม) มีฝรั่ง ก็คือกัปตันแมคลีนออด (Capt. Me leod) เดินทางจากเชียงใหม่ ผ่านเวยี งปุาเปาู เพ่อื ท่จี ะไปเชียงตงุ และได้มกี ารจดบันทกึ เรือ่ งราวระหว่างการเดนิ ทาง และภายหลังก็ไดต้ ีพิมพ์ เป๐นภาษาองั กฤษวางขายที่ประเทศสหรัฐอเมริกา จากการศึกษายังพบว่า ผู้คนในเวยี งปุาเปูาหรือคนนอกชุมชนต่างให้ความสนใจเฉพาะเรื่องของเวียง ปาุ เปาู ท่ีมีอายใุ นช่วงประวัติศาสตร์แค่ ๑๖๙ ปี คนรุ่นหลังบางคนยังไม่ทราบว่าเวียงปุาเปูามีอายุยาวนานถึง ๕๓๙ ปี ซ่งึ เปน๐ ท่นี ่าสนใจท่ียังอยากจะศึกษาเรียนรู้เมืองที่มีอายุถึง ๕๓๙ ปี การศึกษาช่วงประวัติศาสตร์นี้ จะตอ้ งศึกษาให้ลึกลงไปตอ้ งอาศัยระยะเวลาในการคน้ ควา้ ซง่ึ ทั้งสองช่วงสมัยความห่างกันถึง ๓๗๐ ปี ผลจากการศึกษาและรวบรวมงานเขียนจากหลายตํารา และในช่วงของการศึกษาป๓๎บสาที่ผ่านการ ปริวรรต มีการบนั ทึกการสร้างเมืองของเวียงปุาเปูาสมัยของพญาไชยวงศ์ พ.ศ. ๒๓๘๒ และ อีกอย่างก็มีการ เรียบเรียงและปริวรรตของเมืองมหินทะชุราช ในปี พ.ศ. ๒๒๗๑ และการแปลจากแผ่นศิลาจารึกการสร้าง วิหารวัดจันทรอารามในปี พ.ศ. ๒๐๑๑ หรือข้อสงสัยของนักโบราณคดีว่าศึกษาตํานานของเมืองแช่สักที่ ปรากฏในตํานานพื้นเมอื งนา่ น เปน๐ เมอื งท่มี ีอารยะธรรมสงู สุดในเร่ืองอุตสาหกรรมเครื่องป๒๎นดินเผาหรือเคร่ือง เคลือบทม่ี ีอายุยาวนานถงึ ๖๔๒ ปี ถา้ นบั จากป๎จจุบนั อย่างไรก็ดีจากการอ้างอิงภาพถ่ายทางอากาศ ในการถ่ายสํารวจในพ.ศ. ๒๕๒๗ ของ ผศ.ทิวา ศุภ จรรยา และ ผ่องศรี วนาสิน พบเวียงเก่าของเวียงปุาเปูาในพ้ืนท่ีราบลุ่มน้ําแม่ลาว พบเวียงเก่าถึง ๗ เวียง ดว้ ยกัน คอื เวยี งปาุ เปูา,เวยี งกาหลง,เวียงวัดม่อนจอมผ่อ, ดงเวียง, เวียงมน,เวียงฮ่อ และเวียงบนดอยท่ีบ้าน บวกขอน จะพบว่าพ้ืนที่ในลุ่มน้ําแม่ลาวตอนบน ยังเป๐นท่ีตั้งของบ้านเมือง ชุมชน ได้กระจายกันอยู่ทั่วไปใน บริเวณน้ี จากเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ที่สืบค้นมาประกอบ ในขณะเดียวกันต้องยกเอาพงศาวดารล้านนา และพงศาวดารไทยเขา้ มาเชื่อมโยงอกี ด้วย
27 แต่เท่าที่อ้างอิงจากพงศาวดารล้านนาเข้ามาประกอบในพื้นท่ีการศึกษา เพื่อจะให้รู้ว่า เหตุการณ์ที่ เกิดข้ึนในเวยี งปาุ เปาู นั้นจะตรงกบั เหตุบ้านการเมอื งในชว่ งใด สมัยใดนั้น การสารวจพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา จากการกาํ หนดขอบเขตพน้ื ที่ในการศึกษาและรวบรวมขอ้ มลู ประวัตขิ องเมืองเวียงปุาเปาู จะกาํ หนดไว้ ใน ๒ สว่ นด้วยกันคอื สว่ นแรก จะเนน้ การเดินสํารวจพื้นทีท่ ่ีมรี ่องรอยส่ิงกอ่ สร้างเพ่อื แสดงใหเ้ ห็นวา่ มีแนว กําแพงหรอื คนู ํ้าคันดนิ ของเมืองเกา่ ๒ เมือง มีพนื้ ทห่ี รือแนวเขตของเวียงซอ้ นทบั กนั อยเู่ พียงบางสว่ น ซ่ึง เมอื งแรก หมายถงึ เมอื งเก่า(ชือ่ ในการศกึ ษาพื้นท่ีนี้ว่าเมืองโบราณ) เมอื งแรกมีความกว้างประมาณ ๔ กโิ ลเมตร และในส่วนทส่ี อง จะเปน๐ การศกึ ษาและคน้ ควา้ ประวตั ศิ าสตร์การสรา้ งเมืองเวยี งปาุ เปูาเรียกเมืองที่เกดิ ขน้ึ ในปี พ.ศ. ๒๓๘๒ วา่ เวียงใหม่ หรือเมอื งใหม่จะมรี ่องรอยของสงิ่ ก่อสรา้ ง คือมรี อ่ งรอยของอฐิ ทนี่ ํามากอ่ กาํ แพง เมอื ง และคูนํ้าคันดนิ หลงเหลอื อยู่ในบางพื้นที่ จากการศกึ ษาพ้นื ที่ตัง้ ของเวียงเก่าและเวียงใหมน่ น้ั จะมีพ้ืนที่ซ้อนทับกนั เพยี งบางส่วนบริเวณวัดศรี คาํ เวียงกับวดั ศรสี ุพรรณ ซึ่งเวียงใหม่มคี วามกว้างของเมอื งประมาณ ๒ กโิ ลเมตร ซ่ึงเวยี งในชว่ งหลังน่เี องท่ี ตอ้ งการรวบรวมข้อมูลใหถ้ ูกตอ้ งเพ่อื จะได้เปน๐ ประวัตหิ รือประวัติศาสตรข์ องเมอื งเวยี งปุาเปาู อย่างถกู ตอ้ งเกิด ความผดิ พลาดน้อยที่สดุ และอีกพนื้ ท่กี ารศกึ ษา อีกแห่งหนึง่ เปน๐ พืน้ ทีอ่ ยู่หา่ งออกไปจากทต่ี งั้ ของทัง้ สองเมอื ง เรียกวา่ บา้ นเฟอื ยไฮ ถือว่าเป๐นเมืองที่ปรากฏในประวัติศาสตรก์ ารสร้างเมอื งเฟยไฮปุาเปาู แตไ่ ม่พบรอ่ งรอยใน การก่อสรา้ งเป๐นเมืองในขณะนนั้ ประมาณ ๔ กโิ ลเมตรทางด้านทิศใต้ของท่วี า่ การอําเภอเวยี งปุาเปูา
28 แผนท่ี แสดงพนื้ ท่เี มอื งเกา่ เสน้ ทางการไหลของน้าหว้ ย เวียงในอดตี หนองบา้ นโละ๊ น้ำแ ่มลาว หนองสระ ลาเห ืมองสาธารณะ วดั ศรีสุทธาวาส ลำห้วยเวยี ง วดั ป่ าม่วง หนองเตา้ เข่ือน เสน้ ทางการไหลของน้าหว้ ยเวยี งในปัจจุบนั วดั ศรีคาเวียง วดั ศรสี ุพรรณ น้าหว้ ยเวียง ขอบเขตพ้ นื ท่ีของเวียงเก่า ท่ีมคี วามกวา้ งประมาณ ๔ กโิ ลเมตร
29 แผนที่ แสดงวดั รา้ งในเขตเมืองเกา่ เสน้ ทางการไหลของน้าหว้ ย เวียงในอดตี น้ำแ ่มลาว ซอย ๒๖ ซอย ๓๙ ซอย ๒๔ ลาเห ืมองสาธารณะ ซอย ๒๒ ซอย ๓๓ วดั ศรสี ุทธาวาส ซอย ๒๐ ลำห้วยเวยี ง วดั ป่ าม่วง น้าหว้ ยเวียง วดั ศรีคาเวยี ง ซอย ๒๗ วดั ศรสี ุพรรณ วดั รา้ งในเขตเมืองเก่า และบรเิ วณนอกเขตเมือง วดั รา้ งในเขตเมืองเก่า ทม่ี ีการบูรณะในสมยั เจา้ เมืองเวยี งป่ าเป้า (เวียงใหม)่
30 แผนที่ แสดงพ้นื ท่ีเวยี งใหม่ น้ำแ ่มลาว วดั ศรสี ุทธาวาส ลาเห ืมองสาธารณะ วดั ป่ าม่วง วดั ศรคี าเวียง น้าหว้ ยเวียง เขตพ้ ืนท่ขี องเวียงใหม่ วดั ศรีสุพรรณ โรงเรยี น ลำห้วยเวยี ง วดั ป่ าแดง
31 เวยี งป่าเปา้ ประวตั ศิ าสตรต์ ามตานาน จากการสันนิษฐานเวียงเก่าหรือเวียงโบราณแห่งนี้ว่า จะเป๐นเมืองร้างในสมัยใด จากตํานานหรือ เอกสารท่ีมีการจดบันทึกเอาไว้ ถือว่ายังคงเป๐นหลักฐานอันสําคัญของประวัติศาสตร์ในแถบลุ่มน้ําแม่ลาวใน ขณะนี้ อยา่ งไรก็ตามจากการค้นคว้า ของนักประวัติศาสตร์ นักโบราณคดี นักมานุษยวิทยา หรือผู้เช่ียวชาญ ทางประวัตศิ าสตรแ์ ละโบราณคดี ทมี่ บี ทวิเคราะห์ บทความ เกี่ยวกับพ้ืนท่ีลุ่มนํ้าแม่ลาวแห่งนี้ จากบันทึกใน สมุดขอ่ ย แผน่ ศลิ าจารกึ ทม่ี อี ยู่ พอจะแบง่ เมอื งหรอื เวียงเกา่ ออกเปน๐ ๓ เรอ่ื งราว คอื เมืองแช่สักตามตํานาน พ้ืนเมืองน่าน จากศิลาจารึกการสร้างวิหารและพระเจ้าตนหลวงของวัดจันทรอาราม พ.ศ. ๒๐๑๑ และช่วง สุดทา้ ยตาํ นานเมืองมหินทะชรุ าช พ.ศ. ๒๒๗๑ เวียงป่าเปา้ ตามตานานเมืองแช่สัก ดงั น้นั จากการเดนิ สํารวจเมอื งเก่าหรือเวยี งเก่าบรเิ วณนีไ้ มค่ ่อยได้พบหลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ที่บ่งชี้ หรือยืนยันว่าเป๐นเวียงหรือเมืองท่ีเกิดขึ้นในช่วงไหน และทําไมปล่อยให้เป๐นเมืองร้างไป แต่ถ้าหากเป๐นการ เชื่อมโยงหลักฐานและเชื่อมโยงจากข้อมูลทางประวตั ิศาสตรต์ าํ นานพื้นเมืองเชียงใหม่ หรือจากหลักฐานอ้างอิง ตาํ นาน และบนั ทกึ ท่ีผา่ นการปรวิ รรตไปแล้ว เชน่ เดียวกบั ศิลาจารกึ ทม่ี กี ารจารึกไว้ในการสร้างวัดจันทรอาราม (วัดศรีสุทธาวาส) พ.ศ. ๒๐๑๑ หรือตรงกับจุลศักราช ๘๓๐ และมีอายุมาถึงป๎จจุบัน ๕๓๙ ปี หรือ สันนิษฐานว่าเมืองน้ีน่าจะเกิดข้ึนก่อนการปกครองสมัยของพญากือนา ที่มีอายุยาวนานถึง ๖๔๒ ปี (พ.ศ. ๑๙๐๘) หรือนา่ จะเป๐นเมอื งมหินทะชุราช ที่มอี ายุ ๒๗๙ ปี (พ.ศ. ๒๒๗๑ ซงึ่ ระยะห่างของเวลาอาจพออนุมาน ไดว้ ่าเป๐นเมืองเกา่ นเี้ กดิ ขึน้ ในชว่ งไหน ถ้านบั จากปี พ.ศ. ๑๘๓๙ ซ่งึ เป๐นช่วงของพญามังรายสร้างล้านนา ถือว่า เปน๐ ช่วงสมยั ราชวงศ์มังรายตอนต้น ถือว่าเป๐นช่วงท่ีมีการรวบรวมและสร้างอาณาจักรล้านนาให้เป๐นปึกแผ่น มั่นคง สร้างเมืองเชียงใหม่มีฐานะเป๐นศูนย์กลางของอาณาจักรเน้นให้ความสําคัญด้านการเมืองการปกครอง ส่วนเมอื งเชียงรายน้ันใหค้ วามสาํ คัญเปน๐ อนั ดบั รองลงมาจากเมืองเชยี งใหม่ สว่ นเมืองลําพนู เป๐นศูนย์กลางทาง ศาสนา สมยั พญามังรายพบว่า ได้แบง่ ดนิ แดนล้านนาออกเป๐นสองส่วน คือตอนบน มีเชียงรายเป๐นศูนย์กลาง ส่วนทางตอนลา่ งมีเชียงใหมเ่ ป๐นศนู ย์กลางและสมัยนเี้ องได้มกี ารเรม่ิ ใช้กฎหมายมังรายศาสตร์ ซึ่งสืบต่อกันมา ตลอดในสมยั ราชวงศม์ งั ราย ซง่ึ หลงั จากการส้ินพระชนม์ชีพของพญามงั ราย แผ่นดนิ ล้านนาได้รับการสืบทอด มาอกี หลายรฐั กาล เชน่ พญาไชยสงคราม (พ.ศ. ๑๘๕๔-๑๘๖๘) พญาแสนพู (พ.ศ. ๑๘๖๘-๑๘๗๗) พญาคําฟู (พ.ศ. ๑๘๗๗-๑๘๗๙)พญาผายู (พ.ศ.๑๘๗๙-๑๘๙๘) ส่วนความเจริญสูงสดุ ของล้านนาในช่วงปี พ.ศ. ๑๘๙๘- ๒๐๘๖ ซ่ึงกษัตริย์ล้านนาท่ีปกครองในสมัยน้ันคือพญากือนา เหตุท่ียกข้อมูลจากพงศาวดารล้านนามาให้เห็น เพื่อจะได้เช่ือมโยงเหตุการณ์ในสมัยช่วงสมัยของพญากือนาสามารถเป๐นข้อมูลอ้างอิงถึงเมืองแช่สัก และ ลว่ งเลยมาถึงสมยั การปกครองของพระเจ้าตโิ ลกราช ก็คือ พญากือนาเป๐นกษัตริย์ที่ปกครองล้านนาในยุคที่ล้านนามีความเจริญสูงสุด หรือยุคทองของล้านนา เป๐นกษตั รยิ ล์ าํ ดับท่ี ๖ แหง่ ราชวงศม์ งั ราย สมยั นั้นถอื ไดว้ ่าลา้ นนามีความเขม้ แข็งเป๐นอย่างมาก ดังการบันทึก ในตํานานพ้นื เมืองเชียงใหม่ทว่ี ่า เมือ่ เจา้ พ่อทา้ วแสนเมอื งมากําเนดิ มี ท้าวพระยาต่างประเทศเอาบรรณาการ มาถวายมากนกั เอานมิ ติ อันน้นั เป๐นเหตุ พญากือนาจงึ ใส่ชือ่ ลกู ของตนว่า เจ้าพ่อท้าวแสนเมืองมา นอกจากนั้น พญากอื นาไม่ยอมสง่ ส่วยให้ฮ่อ การส่งส่วยให้ฮ่อได้ปฏิบัติมาในสมัยราชวงศ์มังรายตอนต้น คร้ันพอถึงสมัย พญากอื นาในปี พ.ศ. ๑๙๐๘ พญาฮ่อลุ่มฟูามาถามเอา “ส่วยข้าว ๙๐๐๐ คาน งาช้าง ๒๐ หาบ ผ้าขาว ๔๐๐ รํา ถ้วยแชส่ กั ๑๐๐๐ ดวง ลาย ๕๐๐ เขยี ว ๒๐๐ ขาว ๓๐๐” เป๐นส่วยแก่พญาลุ่มฟูา ซึ่งถ้วยแช่สัก หรอื ไหต่าง ๆ ของเมืองแช่สัก มลี กั ษณะเหมือนกบั เคร่ืองเคลอื บหรอื เครือ่ งปน๒๎ ดนิ เผาของเวียงกาหลงเป๐นอย่าง มาก ไหเคลือบท่ีงดงามจากเตาเผาเวียงกาหลง ศิลปะยุคทองของล้านนา เป๐นเครื่องป๎๒นดินเผาล้านนาท่ีมี
32 คุณภาพสูง พญาฮอ่ จึงได้ให้เอามาเป๐นส่วยเครื่องถ้วย ในต้นพุทธศตวรรษที่ ๒๐ แต่จริง ๆ แล้วอาจจะมีการ เริ่มตน้ ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ ๑๙ เป๐นตน้ มา เมืองแช่สักในประวัติศาสตร์ที่มีการพูดถึงอีกคร้ังคือสมัยพญาสามประหาญฝ๑๎งแกน (พ.ศ. ๑๙๔๕- ๑๙๘๔) เป๐นกษัตริย์ปกครองล้านนาอันดับที่ ๘ เป๐นโอรสของพญาแสนเมืองมา จากข้อมูลประวัติพระแก้ว มรกตจากพงศาวดารในพ.ศ. ๑๙๗๙ พบเจดีย์ในวัดแห่งหน่ึงในเชียงราย ถูกฟูาผ่าลงมาชาวบ้านได้พบ พระพทุ ธรปู ปูนป๒น๎ ลงรกั ปิดทององค์หน่งึ และต่อมาปูนได้กะเทาะออกมามองเหน็ เนื้อแก้วสเี ขียว เหล่าขุนนาง จงึ ได้กราบทูลใหพ้ ระเจา้ สามประหาญฝ๑ง๎ แกนทรงทราบ โปรดให้อัญเชิญไปเชียงใหม่ ประชาชนต่างก็มีใจใคร่ จะติดตามไปด้วย ได้กระทําการบูชาไปท่ัวทุกทิศ เม่ือยกพระพุทธรูปลง ณ ที่ใด ก็พากันฟ๎งธรร มพระ เวสสันดรชาดก ณ ที่น้ันด้วยความเคารพนับถือ พอถึงเมืองแช่สัก แห่งเมืองเชียงใหม่ (ซึ่งสมัยนั้นเวียงปุา เปาู ก็ได้ข้ึนตอ่ เมืองเชยี งใหมเ่ ช่นกนั ) ช้างไม่ยอมเดินต่อทําอย่างไรก็ไมเ่ ดินต่อไป จึงอัญเชญิ พระแกว้ มรกตลงมา ทาํ การเส่ียงทายวา่ อยากจะไปอยู่ ณ เมืองใด จากการบนั ทกึ ตามระยะทาง นัยว่า จากนครเชียงรายถงึ เมอื งแจ้สัก(แชส่ กั ) ระยะทางประมาณ ๗ โยชน์กับ คาวุตกึ่ง (ครึ่ง) (ประมาณ ๑๑๘ กิโลเมตร) จากเมืองแจ้สักถึงนครเชียงใหม่ ระยะทางประมาณ ๕ โยชน์กับ คาวตุ หน่งึ (ประมาณ ๘๔ กิโลเมตร) จากนครเชียงรายถึงนครเชียงใหม่ ระยะทาง ๑๒ โยชน์กับ ๒ คาวุตกึ่ง (ประมาณ ๒๐๒ กิโลเมตร) และจากเมืองแจ้สักถึงนครลําปาง ระยะทาง ๑๑ โยชน์ (ประมาณ ๑๗๖ กโิ ลเมตร)ผลการเส่ียงทายพระแก้วมรกตไดอ้ ญั เชญิ ไปประดษิ ฐานทีว่ ัดพระแก้วดอนเต้าสชุ าดาราม นครลําปาง นานถงึ ๓๒ ปี ในตอนทีย่ กเอาเร่ืองราวประวตั พิ ระแก้วมรกตเข้ามาแทรกตรงจุดน้ี เพราะอยากให้เห็นว่าในช่วงนี้มี การกล่าวถึงเมืองแช่สัก ดูเร่ืองระยะทาง ซึ่งจากการค้นคว้าจากนักประวัติศาสตร์และโบราณคดี รวมถึง เอกสารตาํ นานเมืองแชส่ ักอยู่ทไ่ี หนกันแน่ บางตําราบอกว่าแช่สักอยู่ท่ีเมืองพร้าว บางตําราบอกว่าแช่สักอยู่ท่ี เมืองฝาง แต่ถ้าจะเอาเรื่องระยะทางมาประกอบเมืองแช่สักมีความเป๐นไปได้มากที่สุดที่จะอยู่ในเวียงปุาเปูา ระยะทางเชยี งรายไป เวยี งปุาเปาู ประมาณ ๑๑๘ กิโลเมตร เวียงปุาเปูาถึงลําปาง ๑๗๖ กิโลเมตร เชียงราย ไปเชียงใหม่ ๒๐๒ กโิ ลเมตร และระยะทางจากเชียงใหม่ถึงลําปางประมาณ ๙๒ กิโลเมตร แต่ว่าระยะทางใน ปจ๎ จบุ นั ไดม้ กี ารตดั ถนนสรา้ งสะพานและตดั ผา่ นภูเขาเปน๐ ลกู ๆ ไม่ต้องใช้เส้นทางอ้อมภูเขาให้ลัดเลาะตามลํา นํ้า เหมือนสมัยก่อน เพราะฉะนั้นความเป๐นไปได้ตามระยะทางทั้งในอดีตและป๎จจุบัน เมืองแช่สักอยู่ท่ีเวียง ปุาเปูาแน่นอน ซ่ึงยงั คงความเป๐นไปไดแ้ ละสอดคลอ้ งกบั หลักฐานในการอ้างองิ ของคุณวลัยลักษณ์ ทรงศิริ นัก มานษุ ยวทิ ยาและนักโบราณคดี ที่เข้ามาเกบ็ ข้อมูลและศึกษาเวียงปาุ เปูาเปน๐ อยา่ งดี ส่งิ ทีย่ ังจะยนื ยันวา่ แชส่ ักอยู่ท่เี วียงปาุ เปาู ก็คือ อาจารยศ์ รีศักดิ์ วัลลิโภดม ผู้เช่ียวชาญทางด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดี ได้ลงพ้ืนท่ีเวียงปุาเปูา วิเคราะหใ์ หเ้ ห็นว่า เวียงปาุ เปาู มี ๒ ตาํ นาน คอื เมืองเกา่ แตเ่ ดมิ และเวียงกาหลง บางตําราบอกว่า เมืองแช่สัก เป๐นเมอื งทอี่ ยใู่ นหบุ เขาระหวา่ งเชยี งรายและเชียงใหม่ เป๐นเมอื งที่ผลติ เครอ่ื งถ้วยและสนั นิษฐานวา่ จะอยู่ท่ีเวียง กาหลง เพราะดูลักษณะทางกายภาพแล้ว พบว่าเป๐นเวียงขนาดใหญ่ และพบเตาเผาอยู่ริมกับนํ้าแม่ลาว ประมาณ ๒๐ เตา แต่ที่เวียงปุาเปูา มีข้อมูลพ้ืนฐานพอท่ีจะเห็นได้ชัด จากภาพหลักฐานทางโบราณคดีเวียง ท้งั หลายท่เี กดิ ขึ้นในทรี่ าบลุ่มนา้ํ แม่ลาว ซึ่งเป๐นที่ราบแคบๆ กลางหุบเขานี้ มชี มุ ชนขนาดเล็ก มีความสัมพันธ์ เชื่อมโยงกัน และอีกอย่างหนึ่งเมืองแช่สักก็อยู่ในที่ราบลุ่ม และมีน้ําแม่ลาวไหลผ่าน ท่ีต้ังของเมืองจะอยู่ ทางด้านทศิ ตะวันออกเฉียงเหนือของเมืองเชียงใหม่ มีพืน้ ทีเ่ หมาะแกก่ ารอยูอ่ าศัยและการเพราะปลูก และเร่ือง การทําอุตสาหกรรมเครื่องป๎๒นดินเผา ที่สําคัญเรื่องเวียงปุาเปูาทั้งในอดีตและป๎จจุบัน เป๐นจุดเช่ือมหรือจุด ศนู ย์กลางในการเดนิ ทาง (ตํานานพื้นเมืองเชียงใหม่) เช่น เดินทางไป เมืองเชียงราย เมืองเชียงใหม่ เมืองฝาง เมอื งพร้าวเมอื งลาํ ปาง และเมืองพะเยา เป๐นตน้ จากขอ้ สังเกตข้างตน้ ของนักประวัติศาสตร์ให้เหตุผลว่า เมือง แช่สักคงเป๐นเมืองที่อยู่ในเขตของเวียงเก่า หรือตัวเวียงปุาเปูาในป๎จจุบันมากท่ีสุด ส่วนเวียงกาหลงน้ันไม่พบ
33 ส่ิงก่อสร้างหรือซากศาสนสถานหรือร่อยรอยท่ีอยู่อาศัยแต่อย่างใด แต่พบว่านอกคูเมืองออกไปทางด้านทิศ ตะวันออก ริมฝ๎๑งน้ําแม่ลาวและลําห้วยสาขา จึงพบแต่เตาเผาภาชนะแบบเวียงกาหลง หรือถ้วยแช่สักในสมัย พญากอื นาอยอู่ ยา่ งหนาแน่น ส่วนคูเวียงหรอื คูคนั ดนิ นั้นอาจสรา้ งขึน้ เพื่อปูองกันช้างปุาหรอื สัตว์ปาุ กเ็ ปน๐ ไปได้ อาจารยศ์ รีศกั ดิ์ วลั ลโิ ภดม ยังกล่าวไวอ้ กี ว่า เขตชมุ ชนหรือเขตเมืองจะมีศูนย์กลางด้านการเมืองการ ปกครองในพน้ื ท่ีราบแมล่ าว อยทู่ เ่ี วียง หรอื เมอื งแชส่ กั เพราะว่า จากหลักฐานที่มีการค้นพบคูเมืองหรือคูเวียง จะกระจายอยู่รอบๆ เมืองเก่า แห่งน้ี ซง่ึ มอี ยู่หลาย แหง่ ดว้ ยกนั คอื ๑.บรเิ วณวัดมอ่ นจอมผอ่ ซ่งึ เปน๐ เวียงจากการขดุ คูนาํ้ คันดินล้อมรอบบนยอดเขา ๒. ดงเวียง ใกล้กับม่อนจอมผอ่ พบว่ามีการขุดคูคันดนิ ๓ ชัน้ มรี ัศมคี วามกว้างไม่เกนิ ๑๒๐ เมตร ๓. เวียงมน มีการขุดคูนํ้าคันดินล้อมรอบ ๔. เวียงฮ่อ เป๐นเวยี งทีม่ ีคูน้ําคันดินชน้ั เดยี ว ขดุ ล้อมรอบเนนิ เขาสองลูกไมไ่ กลจากเมอื งเก่านกั ๕. เวยี งบนดอย หรอื ยอดดอยท่ีบ้านบวกขอน แม่เจดยี ์ ๖. เวียงกาหลง สว่ นที่เวยี งกาหลงนั้นจะเป๐นศูนย์กลางหรือแหล่งผลิตอุตสาหกรรม เครื่องป๎๒นดินเผา(หรือเคร่ืองถ้วย เมืองแช่สัก) เพราะมีพื้นท่ีติดกับนํ้าแม่ลาว และสามารถขนย้ายหรือสามารถติดต่อค้าขายตามเมืองต่างๆ ได้ อยา่ งสะดวกเหมอื นทก่ี ล่าวมา อยา่ งไรก็ดี มกั จะมีคนคน้ ควา้ เกยี่ วกบั เรอ่ื งเวยี งกาหลงอยู่มากมาย ทั้งเร่ืองราว เก่ียวกับตํานานท่ีสอดคล้องหรือแต่งให้เหมือนกับตํานานแม่กาเผือก(อานิสงส์ตีนกา) คือพระพุทธเจ้าท้ัง ๕ พระองค์ หรอื มีอกี หลายตําราทีเ่ ขียนขึน้ มาและหักรา้ งกนั เองก็มีเชน่ พระยานครรามท่ีบอกว่าเครื่องป๒๎นดินเผา เวยี งกาหลงน้นั อาจเกิดขนึ้ ในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๕ แต่ นายเรจินาลด์ เลอเมย์ ได้คัดค้านว่า เคร่ืองป๎๒นดินเผา หรือเตาเวียงกาหลงอาจมีอายุเก่าไม่เกิดพุทธศตวรรษที่ ๒๑ ซ่ึงถ้ากล่าวถึงเมืองแช่สัก และเคร่ืองถ้วยเวียง กาหลงสมยั พญากือนากจ็ ะอยู่ในช่วงพทุ ธศตวรรษที่ ๑๙-๒๐ ซง่ึ มคี วามใกล้เคียงกันมากทสี่ ุด เอกสารอ้างองิ ที่จะบอกได้อีกอย่างหน่ึงวา่ เมืองเกา่ แห่งน้เี ปน็ เมืองเก่าทีเ่ กิดขึ้นใน พ.ศ. ไหนกนั แน่ ลองมาศกึ ษาจากบนั ทกึ ประวัตศิ าสตร์ในปั๊บสาของวัดศรีสทุ ธาวาส เครือ่ งเคลือบเวียงกาหลง มลี กั ษณะเหมือนกับเครื่องถว้ ยเมอื งแชส่ กั ทเ่ี ป๐นเครือ่ งบรรณาการพญาฮอ่ (เจ้าลุ่มฟาู )
34 เตาเผาเวยี งกาหลง และพนื้ ทีก่ ารขดุ พบเตาเวียงกาหลง
35 เวียงปา่ เปา้ เมืองเก่าตามจารกึ จนั ทรอาราม กอ่ นท่จี ะเชือ่ มโยงหลักฐานที่เปน๐ ในสว่ นของการบันทึกหรือจารกึ เรอื่ งราวในแผ่นศิลาจารึกนัน้ ตอ้ ง ยอ้ นกลบั ไปดูจากบันทึกประวัตศิ าสตรพ์ ระแกว้ มรกตจาก พงศาวดาร ตอนทีพ่ ระแก้วมรกตได้ถูกอัญเชญิ ไป ประดษิ ฐานท่วี ดั พระธาตุดอนเตา้ นครลาํ ปาง เป๐นเวลา ๓๒ ปี ถึง พ.ศ. ๒๐๑๑ พระเจ้าตโิ ลกราช ได้โปรดให้ อญั เชิญพระแก้วมรกตไปประดิษฐานท่ีเมอื งเชยี งใหม่ ซงึ่ เปน๐ ปีเดียวกนั กับการสร้างวัดจันทรอาราม หรือวัดศรี สทุ ธาวาสในป๎จจุบนั จากศลิ าจารกึ พ.ศ. ๒๐๑๑ การสรา้ งวดั จนั ทรอาราม ในชว่ งตน้ พทุ ธศตวรรษท่ี ๒๐ จากหลักฐานของ แผ่นศลิ าจารึก นั้น วา่ วดั ศรีสทุ ธาวาสสร้างข้ึนในชว่ งสมยั ของราชวงศ์มงั รายและมอี ายุเก่าแก่ถึง ๕๓๙ ปี หรือ อาจจะเปน๐ ได้ว่าเมืองเกา่ แห่งน้ีจะมอี ายุยาวนานถงึ ๖๔๒ ปคี ือในชว่ งของพญากอื นา ทก่ี ล่าวถึงเรื่องสว่ ยเครอ่ื ง ถ้วยเมืองแชส่ ัก หรือในสมยั ของพระเจา้ ตโิ ลกราชทมี่ ีอายุ ๕๗๕ ปี จากการสํารวจตวั เมืองเกา่ ท่ีผ่านมาทบี่ อกวา่ พบวัดร้างอยหู่ ลายวัดดว้ ยกัน อาจมีความเปน๐ ไปได้วา่ วัดศรสี ุทธาวาสนั้นอาจจะมกี ารสรา้ งวัดในพ.ศ. ๒๐๑๑ ดังปรากฏในแผน่ ศิลาจารกึ ซง่ึ หลักศลิ าจารกึ ในชว่ งพ.ศ. ๒๐๑๑ ห่างจากชว่ งสมยั พญากือนาประมาณ ๑๐๓ ปี แต่ห่างจากสมัยพระเจ้าตโิ ลกราชเพยี ง ๓๖ ปี ช่วงพ.ศ. ท่ีห่างกนั ในช่วง หนงึ่ ร้อยกว่าปี ย่อมแสดงใหเ้ ห็นว่า เวียงปาุ เปูาเป๐นเมอื งเกา่ เมืองแกท่ ่มี ีอายมุ ากกวา่ ๕๓๙ ปีอย่างแน่นอน เพราะว่าเท่าที่มหี ลกั ฐานอ้างองิ วา่ เปน๐ เมืองเกา่ กค็ อื วัดศรีสุทธาวาสนน้ั เป๐นวดั ทอี่ ยู่ในเขตคเู มืองหรอื คคู นั ดนิ ของเมืองเกา่ ทม่ี ีความกว้างประมาณ ๔ กโิ ลเมตร จากหลักฐานของแผ่นศิลาจารึก ซ่ึงเป๐นแผ่นศิลาจารึกท่ีทางวัดได้เก็บรักษาไว้ในพิพิธภัณฑ์วัดศรี สทุ ธาวาส ชร.๑ การสรา้ งวหิ ารวดั จนั ทรอาราม มกี ารบนั ทกึ ว่า เรมิ่ มกี ารก่อสรา้ งวนั อาทติ ย์ท่ี ๓๐ ตุลาคม พ.ศ.๒๐๑๑ ลูกหม่ืนทาวลูกหม่ืนพลางเงินญางกินหัวเมืองวังเหนือ มีความปารถนาที่จะเป๐นโพธิสมภาร พระพทุ ธเจ้าองคห์ นึง่ จงึ ไดเ้ ข้ามาสรา้ งวิหารหลังหน่ึง ชื่อว่า “จันทรอาราม” ในปีเปิกใจ้ เดือน ๑๒ เพ็ง วัน เตาไจเ้ ม็งอาทติ ย์ พรอ้ มกนั นน้ั ไดส้ ร้างพระพุทธรูปองค์ใหญ่ ท่ีชาวบ้านเรียกว่า พระเจ้าตนหลวง และได้สร้าง เสนาสนะจนมีวดั ทีม่ ีความสมบูรณ์ อยู่ต่อมา วัดได้ถูกทิ้งให้เป๐นวัดร้าง เนื่องจากศึกสงครามในสมัยน้ัน มีการ กวาดต้อนผูค้ นไปรบในสงครามเชียงตุงและในช่วงสมยั แรกน้ัน การพอกคาพระเจ้าตนหลวง (ปิดทอง) ๕ สิหาคม พ.ศ.๒๐๓๘ - ๒๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๐๓๙ มี การปิดคํา หรือการปิดทองพระเจ้าตนหลวง ตาม ชร.๒ จารึกปี ศักกา ๘ วัดอื่น ๆ ชร. ๕ ปี พ.ศ. ๒๐๔๕ พบมกี ารสรา้ งพระเจ้ามากท่สี ดุ ในเชยี งราย มีการแต่งต้ังให้คนเป๐นข้าพระเจ้าตนหลวง (เป๐นข้าพระ หมายถึง การเปน๐ คนท่คี อยดูแล และมีหน้าท่ีกราบไหว้บูชาห้ามไม่ให้ย้ายถ่ินฐานไปไหน) การแต่งต้ังให้คนเป๐นข้าพระ เจา้ ตนหลวง ก็เหมอื นการแตง่ ต้งั ใหค้ นยอง หรอื ไทยล้ือทมี่ าจากเมืองยอง เปน๐ ข้าพระธาตุ ๙ หมู่บ้าน ไม่มีการ เสียภาษีอากร ดงั เช่น มีการค้นพบ ล๊ัวะ ท่ีเวียงปุาเปูาให้รักษาดูแลพระธาตุนาเหลียว ซึ่งป๎จจุบันเป๐นกลุ่ม สุดท้ายในตําบลสันสลี อําเภอเวียงปุาเปูา ส่วนที่มีการจารึกที่วัดศรีสุทธาวาส ได้มีการบันทึกไว้คือ สุภมสุ ศกั ราชได้ อาทิตย์ ๑๒ กุนาสบื อดสร้างวิหารสุข แม่เจ้าเอ้ย พ่อลอย บ่าลุน บ่าใส อ้ายหลวง คําเก่ิง อ้ายน้อย กางลาย ให้รักษาพระเจา้ ตนหลวง ไมไ่ หไ้ ปทางไหน
36 ชร.๒ จารกึ พอกคาํ พระเจา้ ตนหลวง พ.ศ. ๒๐๓๙ ด้านที่ ๑ ชร.๕ จารึกวดั ศรีสุทธาวาส พ.ศ. ๒๐๔๕ ด้านท่ี ๑ สว่ นลา่ ง จากจารกึ ชร. ๑ การสรา้ งวดั วหิ ารจนั ทรอาราม ของวัดศรีสทุ ธาวาส และเมอื งเกา่ จะอยใู่ นชว่ งพุทธ ศตวรรษ ท่ี ๑๙ – ๒๑ และคาดว่าเป๐นเหตุผลของสงครามและความเส่ือมของบ้านเมืองในอาณาจักรล้านนาใน สมยั ราชวงศม์ งั ราย เพราะวา่ ตกไปเปน๐ เมอื งข้ึนของประเทศพมา่ ในพ.ศ. ๒๑๐๑ ซง่ึ กอ่ นทอ่ี าณาจกั รลา้ นนา จะตกไปเปน๐ เมอื งขน้ึ ของพม่า กไ็ ด้ถูกรกุ รานจากราชอาณาจักรอยุธยา และหวั เมืองไทยใหญ่ ดงั เชน่ ปรากฏใน ตาํ นานพน้ื เมืองเชยี งใหม่ ชี้ให้เหน็ ถงึ สภาพความแตกแยกวุ่นวายไปท่วั ล้านนา บา้ นเมืองแตกแยกและวนุ่ วาย อยา่ งหนกั พระเจ้าบเุ รงนองยกทพั มาตีล้านนาโดยเดนิ ทัพจากเมอื งฝางมาลอ้ มตีเชียงใหม่ใช้เวลาเพยี ง ๓ วนั ๓ คืน กต็ ีเชียงใหมไ่ ดเ้ ป๐นผลสําเรจ็ (นับเวลามาจนถึงป๎จจบุ ัน มอี ายุ ได้ ๒๐๒ ปี) ความพ่ายแพ้ท่ีเกิดขนึ้ แสดง ใหเ้ หน็ ว่าอาณาจกั รลา้ นนามคี วามอ่อนแอที่ตอ้ งตกเป๐นเมอื งข้ึนของพมา่ ไดอ้ ยา่ งง่ายดาย
37 พม่าปกครองล้านนานานกว่า สองร้อยกว่าปี นับวา่ เปน๐ ยุคของความออ่ นแอและเป๐นความสูญเสียครั้ง ยิ่งใหญ่ของประวัติศาสตร์ล้านนา ส่งผลทําให้ล้านนาไม่สามารถฟ๒ืนคืนกลับไปเป๐นอาณาจักรท่ีอิสระเหมือน สมยั ราชวงศม์ ังราย ลา้ นนาเคยได้มีการรวบรวมเมอื งเล็กเมืองนอ้ ยไวด้ ้วยกันอยา่ งหลวม ๆ และตอ่ มาได้เส่ือม สลายลง เงื่อนไงดังกล่าว ทําให้เมืองต่าง ๆ ในล้านนา ซึ่งมีพื้นฐานทางกายภาพ มีท่ีต้ังเป๐นหุบเขา แ ละ การเมืองการปกครองพร้อมที่จะแยกตัวออกห่างจากล้านนาทม่ี ีจุดศนู ยก์ ลางอยู่เชยี งใหม่ ช่วงพม่าปกครองลา้ นนา นน้ั จะมีลักษณะการปกครองแบบ แว่น แคว้น ตามเดิม การควบคุมไพรใ่ น ล้านนา เป๐นประโยชน์ต่อกองทัพพม่า เพราะวา่ ไดแ้ รงงานชว่ ยเหลอื ในราชการสงคราม กาํ ลงั พลจากล้านนาได้ ถูกพม่าเกณฑเ์ ข้ามาทาํ สงคราม เช่น สงครามพมา่ กับอยธุ ยา ลาว หรอื แม้กระทงั่ การสญู เสียกรุงศรีอยธุ ยาครง้ั ท่ี ๒ กไ็ ดเ้ กณฑ์คนจากล้านนาดว้ ยเช่นกนั ดังเช่น ปี พ.ศ. ๒๑๑๒ กองทัพพระเจ้าบุเรงนองได้กวาดตอ้ นไพร่ ลา้ นนาและลาวเข้ารว่ มสงครามถึง ๙ แสนคน ถือว่าเป๐นกองทัพครั้งยิ่งใหญ่ท่สี ดุ ของเอเชียอาคเนย์ ลา้ นนา ในสมยั การปกครองของพมา่ มักจะเกณฑไ์ พรพ่ ลเพ่ือการครอบครองชัยชนะ เมอื งบางแห่งอาจจะถกู การ เกณฑ์ไปรบในสงคราม ทําใหบ้ ้านเมอื งกลายไปเปน๐ เมอื งรา้ ง หรอื ชาวบ้านถกู กดดนั และถูกบีบบังคับเพิม่ ข้นึ เปน๐ ทอด ๆ เดือนรอ้ นกันเป๐นอยา่ งมาก ชว่ งนอ้ี าจทาํ ให้บ้านเมืองในพ้นื ท่ีราบคงไมม่ คี วามมนั่ คงนัก ชาวบา้ น อาจถกู เกณฑไ์ ปรบหรอื หลบหนีไปอย่ใู นปุา หรอื พน้ื ทีส่ ูง ทําให้เมืองท่อี ยใู่ นท่ีราบซ่งึ ได้รับผลกระทบตอ่ ความ เปล่ียนแปลงไดโ้ ดยง่ายจงึ พากันยา้ ยหนไี ป ปล่อยใหเ้ ป๐นเมอื งรา้ งในท่ีสุด ชร.๕ จารึกวัดศรีสทุ ธาวาส พ.ศ. ๒๐๔๕ เวยี งปา่ เป้าตามการบนั ทกึ ของเมืองมหนิ ทะชรุ าช จากบนั ทกึ สมดุ ขอ่ ยวดั ศรีสทุ ธาวาส เหตผุ ลอีกอยา่ งทท่ี าํ ใหบ้ า้ นเมอื งตอ้ งกลายเป๐นเมอื งร้างไปเช่นเหตุผลที่ว่าบางเหตุการณไ์ ด้มีการบันทึก การต่อต้านพมา่ ในแถบลุ่มนาํ้ แม่ลาวแห่งน้ีด้วยเหมือนกัน ซึ่งตรงกับตํานานของเมืองมหินทะชุราช ของเวียง ปาุ เปูา คอื พ.ศ. ๒๒๗๑ องค์คํา หรือองค์นก เป๐นเจ้าเมืองเชื้อสายล้านช้างยึดครองเชียงใหม่จากเทพสิงห์ในปี พ.ศ. ๒๒๗๐ และได้มีการต่อต้านที่พม่าได้มาคุกคามเชียงใหม่ได้สําเร็จ ซ่ึงองค์คําหรือองค์นก ข้ึนปกครอง
38 เชียงใหม่ในช่วงปี พ.ศ. ๒๒๗๐ – ๒๓๐๖ เปน๐ ระยะเวลา ๓๖ ปแี ละหลงั จากปี พ.ศ. ๒๒๗๑ ซ่ึงตรงกบั ตํานาน เมอื งมหนิ ทะชุราชในเวียงปุาเปูา คือ ความเป๐นมาของชื่อวัด ผู้สร้าง และการบูรณะพัฒนาวัด เหตุการณ์ต่าง ๆ ที่สําคัญซึ่ง เกย่ี วกับการตัง้ วัดแตแ่ รกเร่มิ สรา้ งวดั จนถึงปจ๎ จุบัน สมัยน้ัน เจ้าแผ่นดินเมืองพม่ามีอํานาจครอบงําและรบกวนแคว้นล้านนาไทย และเป๐นใหญ่ในเมือง เชยี งแสน เมืองเชยี งรายในสมัยนั้นข้นึ แก่เมืองเชยี งแสน พมา่ รามัญ รังควานแคว้นล้านนามิได้หยุด ในปี พ.ศ.๒๒๗๑ พม่าช่ือสะแคงพญายกกองทัพจากกรุงอังวะมาตีเชียงใหม่ เจ้าองค์คําเชียงใหม่ได้ต่อสู้พม่า จนพม่าแตกหนีไปทางเมืองหนองขวาง แล้วไปตั้งทัพอยู่ที่เมืองพะเยา พ.ศ. ๒๒๗๕ เจา้ องค์คาํ ยกทพั ไปตพี มา่ จนแตกหนจี ากเมืองพะเยา หนีไปอยูเ่ มืองเชยี งแสน พ.ศ. ๒๒๗๖ ปีฉลู พระ เจ้าอังวะให้เม็งจักกายเป๐นแม่ทัพ เข้าปล้นเมืองเชียงใหม่แต่ไม่สําเร็จ จึงถอยทัพไปอยู่เมืองเชียงแสน พ.ศ. ๒๒๘๓ ปีวอก เม็งจักกายได้เป๐นเมย้ี วหว่นุ เจา้ เมอื งเชียงแสน และปวุ ยถงึ อนิจกรรม พระเจ้าอังวะจึงตั้งน้อยชิน วงศเ์ ปน๐ เมย้ี วหวนุ่ เจา้ เมอื งเชียงแสนขนานนามวา่ “เพยี นรรักษ์ (พญานรรักษ)์ ” พ.ศ. ๒๒๘๘ ปีฉลู สมิงทอกวยน่ังเมืองหงสาวดี(เมืองมอญ)ขอนางองค์ ทพิ ย์ ธิดาเจ้าองคค์ าํ เชยี งใหม่ไปเปน๐ พระชายา ต่อมาสมิงทอกวยเสียเมืองหงสาวดี จึงได้พานางองค์ทิพย์ กลับ ส่งคนื ใหเ้ จ้าองคค์ าํ และเลยหนไี ปกรงุ ศรอี ยธุ ยา ตามท่ไี ด้อา้ งประวตั ิของบ้านเมอื งมาแทรกน้ี เพื่อใหเ้ หน็ วา่ สมยั น้นั เมื่อสร้างวดั น้เี ป๐นสมยั ของพมา่ ซ่ึงมี อาํ นาจในการปกครอง ดงั นัน้ สง่ิ ทีป่ ลูกสร้างตลอดจนพระพุทธรปู สถูปเจดยี ์ในสมัยนั้นจึงเป๐นไปตามพม่า แต่ใน ประวัติของวัดศรีสุทธาวาสซึ่งเขียนไว้ในสมุดข่อย โดยผู้เรียบเรียงหลายท่านด้วยกัน กล่าวว่าในปี จุลศักราช ๑๑๐๕ ปีก่าไก๊ คือปีกุน ตรงกับ พ.ศ.๒๒๘๖ เป๐นสมัยพระยาเม็งราย และวัดนี้สร้างขึ้นในสมัยราชวงศ์มังราย พ.ศ. ๒๒๘๖ เพราะตามจลุ ศกั ราช ๑๑๐๕ ก็ดี บอกนามปกี ุนก็ดี เป๐นหลักฐานตรงกัน คือว่าจํานวนศักราชกับ นามปีกุนถูกต้องตามปฏิทินจึงเชื่อได้แน่นอน การที่เอาประวัติมาแทรกน้ีก็เพราะว่ามีความสัมพันธ์กันกับ ประวัตวิ ัดศรีสทุ ธาวาสดังมกี ารบันทกึ การสร้างวดั เอาไว้ พระเจา้ องคค์ าํ หรือองค์นก ปกครองเชียงใหม่ในชว่ งพ.ศ. ๒๒๗๐ – ๒๓๐๖ และวัดนี้น่าจะสร้างใน สมยั ราชวงคม์ ังรายถา้ นบั จากความรงุ่ เรืองของล้านนา และเมอื งแช่สัก อายุของวันน้ีประมาณ ๕๓๙ ปี แต่ถ้า มกี ารเรียบเรียงและจารกึ อยู่ในสมดุ ขอ่ ยของวัดศรีสุทธาวาส ประวัติของวัดน้ีเม็งจักกายแม่ทัพพม่า คงจะมี การสรา้ งเมอ่ื พ.ศ. ๒๒๘๖ เพราะวา่ ตรงตามจลุ ศักราช ๑๑๐๕ ปีกา่ ไก๊ คอื ปีกุน ตรงกบั พ.ศ. ๒๒๘๖ คือจํานวน ศักราชกับนามปีกุนถูกต้องตามปฏิทิน แต่ถ้าย้อนกลับไปเปรียบเทียบกับแผ่นศิลาจารึก ในปีพ.ศ. ๒๐๑๑ มี อายหุ ่างกนั ถงึ ๑๗๕ ปี ถอื วา่ มรี ะยะเวลาห่างกันพอสมควร อาจเปน๐ ไปไดว้ ่า ช่วงปี พ.ศ. ๒๒๘๖ จะเป๐นการ บรู ณะวัดครง้ั ท่ี ๑ หลังจากทสี่ ร้างขน้ึ ครั้งแรกในปี พ.ศ. ๒๐๑๑ แต่เท่าที่มีการค้นคว้าและจากการวิเคราะห์ จากผู้ทเ่ี รยี บเรยี งตาํ นานและหลักฐานเท่าท่มี มี า ให้เหตุผลว่า เมืองมหินทะชรุ าชมลี ักษณะเหมือนเป๐นตํานาน มากกว่าเป๐นประวัติศาสตร์ที่สามารถอ้างอิงถึงแห่งท่ีมาได้ อย่างไรก็ดี ตํานานบางตํานานก็ถือว่าเป๐นการ ถ่ายทอดข้อมลู สืบต่อกันมาเป๐นรุน่ ๆ ได้ ถ้าไม่มีประวัตศิ าสตร์และไมม่ ีตาํ นาน ก็ไมส่ ามารถสบื ค้นหาขอ้ มูลได้
39 สมุดข่อยบันทกึ เก่ยี วกับเมืองมหนิ ทะชรุ าช ที่ผา่ นการปริวรรตเสรจ็ แล้ว โชติกาละลุวะราชไถง ไทยภาษาวา่ ปใี บวีโท คอื ปีก่าไก๊ (ปีกุน) ได้บังเกิดเหตุแต่ศักราชได้พ้นห้าร้อย ปี มเี หนุตกิ ะเกดิ แต่เมอื งมหนิ ทะชุราช พระบาทเจ้าเม็งราย จึงใช้แสนณรงค์ และหม่ืนธน ท้าวเทเวนทร์ และ แสนนรินทร์ เป๐นอคั รราชเสนาบดีผใู้ หญห่ ื้อ(ให้)สูไต่ตาม(ดําเนินการ) รวิสุราราชอาชญาเราด้วยรีบห้ือไปผ่อ (ดู) เขตเสมาเมืองมหินธะชุราชฝุายใต้ ว่ามีจอมปลวกใหญ่เกิดเป๐นควันไฟในเวลากลางคืน กันสูหันแล้ว(คร้ันเจ้า เห็นแลว้ ) จุ่งมาบอก (มาแจ้ง)แกเ่ ราทกุ ประการ ยามนนั้ แสนณรงค์ หมื่นธน ท้าวเทเวนทร์ แสนนรินทร์ก็ลงไป ตามอาชญา แล้วสงั เกตว่ามจี อมปลวกแทจ้ ริงขดุ ลงเลิ๊ก(ลึก) ๕ ศอก ได้ขวดแกว้ ขาวเอาเมือ (ไป) ถวายพระเจ้า เมง็ รายที่เมืองเชียงราย ท่านก็ยื่นพระหัตถามือเบ้ิง(เบื้อง)ขวาไข (เปิด)ดูก็หัน (เห็น) ธาตุพระพุทธเจ้า ๘ ดวง กับแก้ววฑิ รูย์(วิฑูรย์วัชร) รัศมีแจง้ ไปซาววา (๒๐ วา)แลว้ ท่านก็มีราชาอนุมัติยินดีจึงห้ือ(ให้) ตัดกวาดตั้งอาวาส อารามยามนน้ั ลูกสะใภ้พระยาเม็งราย ก็มีมโนญภาคจึงเสด็จลงมาสร้างอารามวาส ทั้งพระวิหาร และหอสรง โรงสมาธิ วิหารยาว ๙ วา หอสรงยาว ๗ วา โรงสมาธิยาว ๗ วา หอธรรมยาว ๓ จ๋มขม (จงกรม) ยาว ๗ วา อโุ บสถยาว ๕ วา สร้างน้ําบ่อเลิ๊ก ๖ วา เสย้ี ง (ส้นิ ) แก้วติด(ประดับ)วิหาร ๙ ถังเส้ียง(สิ้น) คําแสนปาย ๓ พัน (ทองคําหนักหน่ึงพันสามสิบบาทตามพิกัดชั่งทองคํา) ติด(ปิด) หอสรงและหอสมาธิ เส้ียง(สิ้น)แก้วสิบถัง คํา (ทองคํา)สองแสนหา้ ร้อยแผ่น ตดิ (ปดิ ) สร้างพระพุทธรูปเจ้าองคห์ นึง่ หนา้ ตาสารรูปร่างหื้อ(ให้)เหมือนตัวนาง ปะมะรา(ภมรา) แลว้ นางกเ็ อาขอ้ แขน (กาํ ไล) และแหวน ๒๗ วง ใส่หัวใจ สร้อยคอ ๓ สาย สร้อยข้าง ๖ สาย กับผมนางและแก้วคนท้งั หลายรวมใส่มีร้อยปาย (รอ้ ยกว่า) ๗ แกน่ (ลูก)คาํ (ทองคํา) คนทั้งหลายรวมมีน้ําหนัก พันปาย ๓ บาท(เป๐นมาตรช่ัง) คําและผมทั้งหลายรองพ้ืนที่น่ังพระเจ้ามีจ๊อง (ซ้อง) ๗ ร้อยดูก (อัน)สร้าง พระพุทธรูปแล้วติด (ปิด)คําเส้ียง (สิ้น) ๙ หมื่นแผ่น แล้วขุดลงไปที่จอมปลวกก้นตู (ด้านหลัง)วิหารเล๊ิก (ลึก) สถี่ ว้ ม (ลกึ ส่ีวา)แล้วเอาธาตุใส่ขวดแก้วแล้วใส่ขวดคําสูงศอก หนึ่ง แล้วใส่ขวดเงินสูงศอกคืบ หน่ึง แล้วใส่โกฏิ ทอง(ครอบทองเหลอื ง)สงู ๓ ศอก แล้วเอาเงนิ ดอก (ดอกไม้เงนิ ) ๗ พันนํ้าหนักกับคํา (ทองคํา) สองพันนํ้าหนัก ลงไปกับธาตุ และฟ๎๓ดปฺาวจ๋าวมอน (พัดโบกจ่ามร)เสี้ยงคํา (ส้ินทองคํา) ๙ พัน ลงไว้กับธาตุขุม(หลุม)กว้างสี่ ศอก แล้วก่อเจดีย์ก๋วม (ครอบ) สูงสี่วา หมื่นธนและแสนณรงค์ ท้าวเทเวนทร์ แสนนรินทร์ ใส่เงินไว้สายตา (ตรงท่ีทอดสายตาตก)หา้ หมืน่ ดอก ลกึ ๗ ศอก ถวายบูชา ปฐมอารญั ญวาสี ตุ๊เจ้าอิสระวัดยางแลมาเป๐นสล่าต่อ (แม่งาน)คอื วา่ ราชครู ศรัทธา (พวกสปั บุรุษ) หมายมเี จา้ เมืองเมง็ รายเป๐นเค้า (เปน๐ ตน้ ) และแม่เทวีเป๐นเค้า และ นางปมราเป๐นเค้า ภกิ ขุชินบตุ รสมานวสั สมี ๖ ร้อยตน สามเณร ๗ ร้อยปาย ๙ ตน (๗๐๙ รูป)ตุ๊เจ้าวัดตุ่งผา (ทุ่ง ผา) และตุ๊เจ้าวัดหนองบัวและตุ๊เจ้าวัดตุ่งย้าง(ทุ่งยั้ง)และตุ๊เจ้าวัดพันธุมดี เป๐นเค้า สิสสานุศิษย์ทั้งหลายแสน เมืองมาหลวง เจ้าเมอื งมหนิ ธะชรุ าช เปน๐ เคา้ เจ้านายหม่นื แสน ลา่ ม(ตาํ แหนง่ คนประกาศของผู้ใหญ่บ้าน) แก่ บา้ น (ผใู้ หญ่บ้าน) กุลบตุ ตา กุลธดิ า ชายหญิงพร้อม ๕ พนั คน ได้อบรมในปกี กุ กรุสังวัจฉร คอื วา่ ปีกาบเส็ด (ปี จอ) เดือน ๗ เปง๐ (กลางเดอื น ๕) เป๐งวันอังคารได้ทานเป๐นทานเป๐นมหา ปราจะสิสายะตาน (ปราชวิสัยทาน) ปลูก (แต่งต้ัง) ท้าวฤาใชยลกร (นครลําปาง) ก็วันน้ัน ปลูก(แต่งตั้ง)ท้าวปาลก แม่เจดีย์ ก็วันนั้นแล คําไหว้ อหลํ วโก ปูชโส ปชู าวตสฺส ปูเชมิ วตะเมทานํ อหํวทาสสฺ มหาภมมฺ า ปฎิปธึสุ วติเมทานํ นมามิหํ ศักราชได้ ๑๑๑๖ ตัว นามบญั ญตั วิ ดั น้ชี ื่อสธุ าวาส แลฯ ขตภยรโิ ป ขุนมี ๑๑๑ ขุน เจตมโภ เจ้ามี ๑๕๖ สเภตเสไพร่มี ๑๐๑๖ ได้ริรังสภังวิหาร และหอสรง และหอธรรม หอสมาธิ ทง้ั มวล ได้ ๓ ปี เจา้ มังรายลงไปรบลาวสา และลาวยงุ ได้ ๘ ปี ท่านปิ๓กมา (กลับมา) จึง ไดฉ้ ลองพระวิหารน้จี ังพงั ทลายไปไดร้ อ้ ยซาวห้าปี (๑๒๕) จักมผี ู้สร้างแหม (อีก)ร้อยเจ็ดปี หาผู้เอาใส่บ่อได้ทํา ช่ือว่า ครูบามโน ได้ยินเทพดามาบอกแจ้งแล้วจึงได้แต้มไว้ในกระดานน้ี เป๐นที่น้อยใจด้วยเทพดามาบอกว่า ซ้วย (เสื่อม)ไป หาผปู้ ฎิบัตบิ อ่ ได้แล ฯ (ประวตั ิตอนนเี้ ขา้ ใจวา่ ครูบามโนเป๐นผเู้ รยี บเรียง)
40 อนึ่ง ถ้าอ้างองิ ประวตั กิ ารสร้างวัดนี้ เชื่อได้ว่ามกี ารบันทึกข้ึนภายหลังจากมีการบูรณะวัดแล้วเม่ือครั้ง พ.ศ. ๒๔๒๖ เพราะว่าในบันทึกอา้ งวา่ ครูบามะโน บอกวา่ เทวดาพยากรณ์ไวว้ ่าวดั น้จี ะร้างไปถึง ๑๒๕ ปี จะมี การปฏิสังขรณข์ ึน้ มาอกี และอยไู่ ด้ ๑๐๗ ปี แลว้ จะถูกปล่อยร้างไปอีก ถา้ หากการบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งสุดท้าย เมือ่ พ.ศ. ๒๔๒๖ ยอ้ นกลบั ไปอกี ๑๒๕ ปี ตรงกับพ.ศ. ๒๓๐๑ กห็ มายความวา่ วดั นีร้ า้ งมาตั้งแตป่ ีพ.ศ. ๒๐๓๑ ดังนนั้ ถ้าเปรยี บเทยี บกบั ตาํ นานเมอื งมหินทะชุราชท่ีสร้างขึ้นในปีพ.ศ. ๒๒๘๖ และปล่อยให้วัดร้างไป ในปี พ.ศ. ๒๓๐๑ ก็เท่ากับว่าอายุของวัดนี้สร้างมาได้เท่ากับ ๑๕ ปีเท่านั้นเอง แล้วก็กลายเป๐นเมืองร้างไปใน ทส่ี ดุ หมายเหตุ บันทึกท่ีนําเป๐นหลักในการเรียบเรยี งครงั้ นี้เปน๐ การบนั ทกึ เมอ่ื พ.ศ.๒๔๘๘ สมัยเจ้าอธิการ อนิ ป๔น๎ พรหฺมปํฺโญ (พ.ศ. ๒๔๗๗ – ๒๔๙๑) ยอ้ นกลับไปเลา่ ถึงพระอธกิ ารของวดั น้ี บนั ทึกกล่าวว่า สร้างวัด คร้งั แรกเมอื่ จ.ศ. ๑๑๐๕ ตรงกบั พ.ศ. ๒๒๘๖ นั้น ธุเจ้าชื่ออิสสะ อยู่วัดยางแล เป๐นผู้มาจัดการสร้างวัด เมื่อ สร้างเสร็จแลว้ กค็ รองเป๐นพระอธกิ ารอยู่ในวัดนั้น จากนั้นก็มีพระภิกษุ – สามเณรจากวัดอ่ืน ๆ มาสมทบ เช่น วัดทุ่งผา วัดหนองบวั วดั ทุ่งย้งั วดั พนั ธวุ ดี (เมอื งเชียงราย ตราตงั้ ของจงั หวดั เชยี งรายในสมัยนั้นเป๐นตราท่ีบอก ว่าเมืองพันธุวดี) พร้อมศิษย์มาอยู่ในวัดนี้ ท่านอิสสะคงอยู่ที่วัดนี้ และคงก่อสร้างขยับขยายต่อไปจนสําเร็จ บริบูรณ์ การก่อสร้างใช้เวลา ๑๑ ปี ในปี ๒๒๙๗ ธุเจ้าอิสสะได้จากวัดนี้ไปโดยไม่ปรากฏในบันทึกว่าท่าน กลับไปวัดเดิมหรือมรณภาพ ต่อมาพระครูบามโนได้ทําหน้าท่ีเป๐นเจ้าอาวาสต่อ จาก พ.ศ. ๒๒๙๗ ถึงพ.ศ. ๒๓๐๑ ส่ปี ีเศษวดั นกี้ ็ร้างต้งั แตน่ ัน้ มา จากการบันทึกของพระอธิการอินป๔๎น พรหฺมปํฺโญ ที่วัดและเมืองเก่าถูกปล่อยร้างไปในปี พ.ศ. ๒๓๐๑ เปน๐ ตน้ มา ซ่ึงถือวา่ เป๐นชว่ งที่เกิดสงครามระหวา่ งพมา่ กับล้านนาขึ้นอีกคร้ังหน่ึง เพราะว่าหลังจากที่ องค์คําหรือองค์นกขับไล่พม่าออกจากเชียงใหม่และครองเมืองเชียงใหม่เป๐นเวลา ๓๖ ปี นับว่าเชียงใหม่เป๐น นครรัฐอิสระไดน้ านกวา่ ทุกครัง้ และไดถ้ ูกพม่ายึดครองได้อกี ครัง้ ในพ.ศ. ๒๓๐๖ หลงั จากท่พี มา่ ได้ยดึ ครองเชียงใหม่ไดอ้ ีกคร้ัง ทําให้การต่อสู้แตกกลุ่มออกไปมาก สันนิษฐานว่า เป๐น เพราะว่าพม่าพยายามเขา้ ครอบคลมุ ตําแหน่งเจ้าเมืองมากขึ้น หลังจากปล่อยให้ใช้การปกครองแบบจารีตเดิม ของแต่ละทอ้ งถิน่ และภายหลังได้กําหนดให้ชาวพม่าเข้ามาควบคุมในตําแหน่ง เมียวหวุ่น เจ้าเมือง เชคคาย นาซา้ ยและนาขวา หลงั จากนีค้ วามเคลือ่ นไหวจากขา้ งบนลงสู่ข้างล่าง คือ ความเคล่ือนไหวทางการเมือง ของกลุ่มต่างๆ เกิดขน้ึ เพ่อื ปอู งกันปกปูองทอ้ งถน่ิ ให้ปลอดภยั เป๐นสําคญั บางครัง้ กส็ รู้ บกันเองระหว่างเมือง บางครั้งก็สู้รบกัน กับพม่า ทําให้ล้านนาในช่วงนี้ เกิดจลาจล เป๐นศึกไปท่ัวทุกหนทุกแห่ง ดังน้ันเหตุการณ์ตามการอ้างอิงของ ล้านนาอาจจะตรงกับการปล่อยให้บ้านเมืองในแถบลุ่มนํ้าแม่ลาวกลายเมืองร้างไป ด้วยเหตุผลของการสู้ศึก สงครามตง้ั แตน่ ัน้ เปน๐ ตน้ มา หลังจากท่ีล้านนาได้ถูกพม่ายึดครองในสมัยพระเจ้าบุเรงนอง ในปี พ.ศ. ๒๑๐๑ เป๐นคร้ังแรก และ ต่อมาในช่วงปี พ.ศ. ๒๓๐๖ – ๒๓๑๙ ซ่ึงอยู่ในช่วงสมัยของพระเจ้ามังระได้ยึดครองเมืองต่าง ๆ รวมถึง เชยี งใหม่ และในการยดึ ครองเชียงใหม่ ในพ.ศ. ๒๓๐๖ พม่าได้กวาดต้อนชาวเชียงใหม่ไปมาก จนตํานานบอก ว่าหมดท้งั เมอื ง และได้ตเี มอื งอยุธยาได้สําเรจ็ และทาํ ลายไดใ้ นปี พ.ศ. ๒๓๑๐ พม่าปกครองล้านนาในคร้ังนี้ได้ เพียง ๑๑ ปี ล้านนากห็ นั ไปสวามิภักดติ์ อ่ สยามและร่วมกนั ขบั ไล่กองทพั พม่าออกจากเชียงใหม่สําเร็จในปี พ.ศ. ๑๓๑๗ ใช้เวลาอีก ๓๐ ปี ในปี พ.ศ. ๒๓๔๗ สามารถขับไลพ่ มา่ ออกจากเชียงแสนได้ อิทธิพลทางการปกครอง ของพมา่ ในลา้ นจึงสิ้น
41 แนวกําแพงวหิ ารโบราณ วัดศรสี ุทธาวาส ตําบลเวยี ง อาํ เภอเวียงปาุ เปูา
42 ไม้ตา๊ วหลักคา จากพระเจา้ กาวิโลรสสรุ ยิ ะวงค์ เจา้ เมืองเชยี งใหม่ ถึงพญาไชยวงศเ์ จา้ เมอื งเวียงป่าเป้าปี พ.ศ. ๒๓๙๙ อะตุละป๎๔ญญาปุญญะสําภาละกัตฺวาธิก๋าร ในเราพระองค์อักคะวาระมหาบพิตรตรามหาอิส ราธิปฏิพระองค์เจ้ากาวิโลรสสรุ ยิ ะวงค์ ดํารงคอ์ ภศิ รนี ครสุนทรธัสสะลักขณะเศษวาระริทธิเดชมหาโยนาคกะ ราราชวงคส์ าธิบดี เจ้าหอคาํ พระนครเชียงใหม่องค์อัน ได้กัตฺว๋าธิก๋ารป๏๑าเป๐งสมปานมามากอันต้ังอยู่ในทะสะ ราชธรรม๑๐ ประก๋ารมีพระราชหฤทัยรํ๋าเปิงหันยังอานารัฐฐะราชสันถาน บ้านเมืองนิกํามะประจันตะ และดวงมาดอาชญาโบราณราชประเวณีอันมมี าแต่ก่อน อันพระองคเ์ จ้ามโหตรประเทศราชาธิบดีพระเจ้าชีวติ พระราชบิดาเจา้ หาก ต้ังไว้เป็นไม้เต้าหลักคาแก่ พญาไชยวงศ์ ผเู้ ปน๐ เคล้าท้าวขนุ ไพรไ่ ทยและล๊ัวะเมอื งเฟือยไฮท้ังมวลตนกลัวจักเป๐นจริพิจะลัยหว่ันไหวกลัวบ่ เปน๐ บา้ นเปน๐ เมืองไปจง่ิ มีหนังสอื พระราชอาชญาขณุ ณา (กรณุ า )จากเหนอื เกลา้ เหนือหัวพญาไชยวงศ์ผู้เป๐นเจ้า เมืองเฟือยไฮ รับทูลเอาออกมาเป๐นไม้เต้าหลักคําและบรบัดตามพระราชอาชญาพระองค์เจ้าชีวิตหากต้ังไว้ และซงึ่ ปะดาต๊าวขุนไพร่ราษฎรลัวะไทยเมืองเฟือยไรตังมวลอย่าห้ือสะเด็นเต้นแตกแยกย้ายคดค้ายไปตางใด แสนจนั ทร์ และทา้ วบงั เงนิ ทา้ วสทิ ธไิ พรไ่ ตอันข้ึนไปอยู่บา้ นปูากบอ้ งและหม่นื แกว้ เป๐นเก๊าไพร่ลวั ะตัง 5 เซ้ิง (ซึ่ง )ข้ึนไปอยู่หว้ ยดินดาํ กห็ ือ้ กลบั คืนลงมาอยเู่ มอื งเฟอื ยไฮตเ่ี กา่ นับเสี้ยงหื้อพญาไชยวงค์ได้พาท้าวขุนไพร่ กด็ ีลําก๋ารบ่หยกั (ทํา)ตามเดิมตามอาชญาพระองคเ์ จา้ ชีวติ หากตงั้ ไวห้ ื้อไดห้ ยกั (ทํา)เข่ายืนถวายทุกสะนําปีจัก ไว้เปน๐ ของสําหรับกลับบ้านเมืองหื้อพญาไชยวงคไ์ ด้ระวังรกั ษาปุาเมืองดวง ของสมบัติส่วยเจ้าเป็นต้นว่าเผิง ตน้ เผิงผาตี่อนั เกยตเี๋ อาก็หอ้ื ไดต้ แ๋ี ละเอาตามเดมิ ต่อเหมอื ดปา่ เหมือดเมืองเหมือดบ้าน เหมือดจองค่าหัว ไรห่ วั สวนเปน็ ต้นวา่ ฝา้ ยพรกิ ยางาถั่วอันควรเก็บก็ห้ือเก็บตามโบราณกันเถิง(ถึง)เทศกาลรุ้งปีก็หื้อพญาไช ยวงคน์ าเอาหยัก(ทา)ขี้เผิงเหมือดป่าเหมือดบ้านของสมบัติส่วยเจ้าเข้าเมือยืนถวายเข่ามังมูลราชโกดทุก สนามปอี ย่าหอ้ื ได้เห่ียวแหง้ หา่ งสูญเสียด้วยการคาด กระเวณประจําอันนั้นขอห้ือได้ทําทุกวันไว้แต่เศิ้กเข้าบ่ ละเมืองข้าเศิ้กมากระทํากลับบ้านเมืองเชียงรายเม่ือใดห้ือยกขึ้นไปก้ํากัน(ช่วย )แล้วห้ือใช้เร่งลงไปไหว้สาตัง กลางวนั ตังกลางคืนด้วยท้าวขนุ ไพร่ไตและลวั ะซึ่งอย่เู มืองเฟอื ยไฮตงั มวลอย่าหื้อไดอ้ ้าง ว่าขุนบอกนายต่อมยี ัง รัวยังเวยี งอย่าไดอ้ ้างหอ้ื เป๐นตี่สําเร็จเสร็จการกับพญาไชยวงศ์หื้ออยู่ ในบังคับพญาไชยวงศ์โดยชอบราชการ อนั ๑ เจ้านายตา๊ วพญาท่องเตียวไปมาจักหื้อได้ส่งหาบส่งความบ่หื้อส่งจักมาเก็บริบกินพริกยา งาถ่ัวอย่าหื้อ การต้อนรับด้วยสกู่ นั ตามโบราณนน้ั บข่ ดั การสง่ หาบส่งความนน้ั มีแตข่ า้ หลวง การส่งตามระยะหนา้ เมอื งอนั ๑ เจา้ นายสิงสาดราชบตุ รตา๊ วพญาคนใช้นายแถวท่องไปเตียวมาอย่าได้ ข่มเหงขะเนงร้ายลักลกู ครัวบา้ นจองกร คีวลูกร้าง หลานสาวต๋ีกินไก่ ไล่กินหมูอย่าหื้อได้กระทําห้ามขาด ปุก คละ(บุคคล)ผู้ใดบ่ฟ๎งยังกระทําห้ือพญาไชยวงศ์จับยับเอาตัวหื้อได้ตอกไม้จําคากุมลงไปถึงราชสํานักสักก๋า ๑๒๑๘ ตวั เดือน ๗ ขึ้น ค่ํา ๑ วนั ๕ ได้ประทานหนังสือดวงมาดอาชญาราชธรรมวางเหนอื เกล้าเหนือหัวพญา ไชยวงศเ์ จา้ เมืองเฟือยไฮรับจาํ ทลู ออกมาเปน๐ ไมเ้ ตา๊ หลกั คําหือ้ บรบัดตามสันนี้ (กฎเกณฑ์)
43 หนังสือตราตัง้ หรอื ไมเ้ ตา๊ หลกั คาํ ถงึ พญาไชยวงศ์ พ.ศ. ๒๓๙๙ อนสุ าวรีย์ เจา้ เมอื งผปู้ กครองเวียงปุาเปูา ในอดีต
44 ภาพเก่าเลา่ อดตี พิธีลากปราสาทศพ ครบู าตา คุณาโภ และสภาพถนนสมยั น้ัน ปี พ.ศ. 2507
45 เจา้ แม่นาง ณ เชียงใหม่ มารดาของแม่อุ้ยสม ทาอปุ รงค์ แม่อุย้ สม ทาอุปรงค์ เป๐นมารดาของ คุณพอ่ เฉลิม ทาอปุ รงค์ พญาเทพณรงค์ เปน๐ ตน้ ตระกูลนามสกุล “ ทาอปุ รงค์”
46 เจ้าแม่นาง ณ เชยี งใหม่ นัง่ ล่างซ้าย อนุเคราะหภ์ าพจาก ครอบครัว คุณพอ่ เฉลมิ ทาอุปรงค์
47 บรรณาณกุ รม เกริก อัครชโิ นเรศ. สรรพ์นพิ นธ์ล้านนาคดี. เชียงใหม่ : สนั ติภาพ. (๒๕๔๕). เกริก อคั รชโิ นเรศ. (๒๕๕๐). ปกณิ กะกวนี ิพนธ์ วันตามความเช่อื ลา้ นนา. เชยี งใหม่ : สนั ติภาพ. เต๋จา. ประเพณลี านนาไทยและพธิ ีกรรมต่างๆ. เชยี งใหม่ ประเทืองวิทยา. (๒๕๒๐). ตํานานพ้ืนบา้ น ภาคเหนือ. บรษิ ทั สํานกั พมิ พ์บา้ นหนังสอื ๑๙ อําเภอ มิถุนายน (๒๕๔๘) ผลงานศึกษาวิจัย (การศึกษาความสบื เนื่องและการเปลี่ยนแปลงทางสงั คม – วฒั นธรรมผา่ นประวัตศิ าสตร์ ศรีศกั ดิ์ วัลลโิ ภดม. ล้านนาประเทศ. กรุงเทพฯ. มติชน. (๒๕๔๔). บัตรข้อมูลคัมภีร์ใบลาน.วัดศรีสทุ ธาวาส โครงการศูนยส์ ง่ เสรมิ ศิลปวฒั นธรรม. มหาวิทยาลัยเชยี งใหม.่ (๒๕๓๕) ท้องถิน่ กรณีศึกษาลุ่มนํ้าแม่ลาวตอนบน อาํ เภอแม่สรวย - เวยี งปุาเปูา จังหวดั เชยี ง พ.ศ. ๒๕๔๗ มณี พะยอมยงค.์ ล้านนาไทย. เชยี งใหม่ : ทรพั ยก์ ารพิมพ์. (๒๕๓๗). เมอื งโบราณเวยี งกาหลง มอี งคพ์ ระธาตแุ ม่แมเ่ จดีย์ นา้ํ พรุ อ้ นดี ทุ้งทวแี ละโปุงน้าํ ร้อน ทร่ี ะลึกการ ประชมุ คณะ สงฆจ์ ังหวัดเชียงราย ณ วดั ปุามว่ ง ๒ มิถนุ ายน ; ๒๕๔๖ มณี พะยอมยงค.์ ลา้ นนาไทย. พิมพค์ รัง้ ท่ี ๔ พ.ศ. ๒๕๔๓ พมิ พท์ ี่ ส. ทรพั ย์การพมิ พ์ เชียงใหม.่ เลก็ วริ ยิ ะพนั ธ.์ุ เมอื งโบราณ. กรงุ เทพฯ : วริ ยิ ะธุรกิจ. (๒๕๔๔). สรัสวดี อ๋องสกุล. ประวตั ศิ าสตรล์ ้านนา. พิมพ์ครงั้ ท่ี ๓ กนั ยายน พ.ศ. สํานกั พมิ พ์อมรนิ ทร์; (๒๕๔๔) ประวตั ศิ าสตร์เมอื งเชียงราย – เชยี งแสน มูลนิธิส่งเสรมิ สถาบันอดุ มศกึ ษาจังหวัดเชยี งราย พมิ พค์ รั้งท่ี ๒ โรง พมิ พ์มิ่งเมอื งเชียงใหม่ ; พ.ศ. ๒๕๔๖
48
Search
Read the Text Version
- 1 - 48
Pages: