Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยการเรียนที่ 1 ความปลอดภัยในการทำงานและการใช้เครื่องมือ

หน่วยการเรียนที่ 1 ความปลอดภัยในการทำงานและการใช้เครื่องมือ

Published by วิศณุ, 2023-06-27 05:47:29

Description: ความปลอดภัยในการทำงานและการใช้เครื่องมือ

Search

Read the Text Version

31 แผนการจัดการเรียนรมู้ ุ้งเน้นสมรรถนะ หนว่ ยที่ 1 ช่ือหน่วย ความปลอดภัยในการทำงานและการใช้เครื่องมือ สอนคร้ังท่ี 1-2 ชว่ั โมงรวม 1-14 ช่ือเรอื ง การใช้เครื่องมืองานเคร่ืองยนต์ จำนวน 14 ช่ัวโมง 1. หัวข้อเร่อื ง 1. ความหมายของเคร่ืองมือ 2. เครื่องมือทัว่ ไป 3. เคร่อื งมือชา่ งยนต์ท่ัวไป 4. เครื่องมือวดั 5. เครือ่ งมือพเิ ศษ 6. ความปลอดภัยในการใชเ้ คร่อื งมือ 2. สาระสำคัญ เครอื่ งมือ เป็นอุปกรณ์ท่ีมีความสำคญั มากในการทำงาน ผูป้ ฏิบตั ิงานจะเป็นต้องเลอื กใชเ้ คร่ืองมือ ให้ ถกู ต้อง และเหมาะสมกับงาน เครอ่ื งมือช่างยนตท์ ี่ใช้งานท่ัว ๆ ไป ได้แก่ ประแจ ไขควง คีม ค้อน สกัด เหล็กส่ง เหลก็ นำศูนย์ และ เคร่ืองมือทำความสะอาด สำหรบั เคร่ืองมอื แตล่ ะชิน้ จะต้องมีการบำรุงรักษาและเกบ็ รักษาให้ ถูกวิธี 3. สมรรถนะหลัก 1. ใชเ้ ครอ่ื งมือได้อย่างถูกต้องตาม ประเภทของงาน 2. ใชเ้ คร่อื งมือพเิ ศษได้ตาม ประเภทช้ินส่วนและอุปกรณ์ 3. ใช้เครื่องมือวัดชิน้ ส่วนตาม ประเภทชิ้นงาน 4. สมรรถนะย่อย (สมรรถนะการเรยี นรู)้ สมรรถนะทั่วไป (ทฤษฎี) แสดงความร้เู กยี่ วกับ 1. ใชเ้ ครอ่ื งมือได้อย่างถูกต้องตาม ประเภทของงาน 2. ใช้เครอ่ื งมือพิเศษไดต้ าม ประเภทช้ินสว่ นและอปุ กรณ์ 3. ใช้เครื่องมือวัดชิ้นส่วนตาม ประเภทชิ้นงาน สมรรถนะทพ่ี ึงประสงค์ (ทฤษฏ)ี เลือก 1. ใชเ้ ครื่องมือได้อยา่ งถูกต้องตาม ประเภทของงาน 2. ใชเ้ ครือ่ งมือพเิ ศษได้ตาม ประเภทชิ้นสว่ นและอปุ กรณ์ 3. ใช้เครอื่ งมือวัดชน้ิ ส่วนตาม ประเภทชิ้นงาน สมรรถนะทพ่ี ึงประสงค์ (ปฏบิ ตั ิ)สามารถ 3.2.1 ใชเ้ ครอ่ื งมือไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งตาม ประเภทของงาน 3.2.2 ใช้เครือ่ งมือพเิ ศษไดต้ าม ประเภทช้ินสว่ นและอปุ กรณ์ 3.2.3 ใช้เคร่อื งมือวัดชิน้ สว่ นตาม ประเภทช้ินงาน

32 แผนการจัดการเรยี นรู้ม้งุ เนน้ สมรรถนะ หนว่ ยท่ี 1 ชอื่ หน่วย ความปลอดภัยในการทำงานและการใช้เครือ่ งมอื สอนครง้ั ท่ี 1-2 ชว่ั โมงรวม 1-14 ชอ่ื เรอ่ื ง การใช้เคร่ืองมืองานเคร่อื งยนต์ จำนวน 14 ชั่วโมง กิจกรรมการเรยี นการสอน ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชางานเครื่องยนต์เล็กได้กำหนดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะเชิงรุก ( Active Learning Competency Based) ดา้ นเทคนคิ การจดั การเรยี นการสอนแบบ MAIP โดยมีข้ันตอนในการดำเนินกจิ กรรมการเรียนการสอน ดังน้ี กิจกรรมการเรียนการสอน (สอนครงั้ ท่ี 1 ) เวลา 7 ช่ัวโมง/สปั ดาห์ 1. ผสู้ อนชีแ้ จงรายละเอยี ดเกี่ยวกับจุดประสงค์รายวชิ า สมรรถนะรายวิชา และคำอธบิ ายรายวชิ า การ วัดและประเมนิ ผลการเรียนรายวิชา คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคข์ องรายวชิ า และข้อตกลงในการจัดการเรียน การสอนในรายวชิ า 2. ผสู้ อนกล่าวนำเก่ียวกับการใช้เคร่ืองมือทว่ั ไปและเครอ่ื งมือพเิ ศษท่ีใชใ้ นงานเคร่ืองยนตเ์ ลก็ 3. ผ้สู อนถา่ ยทอดความรใู้ น เรือ่ ง การใชเ้ ครื่องมอื ทว่ั ไปและเคร่ืองมือพเิ ศษท่ใี ชใ้ นงานเครือ่ งยนต์เลก็ 4. ผสู้ อนแสดงใบงานเรื่องการใช้เครือ่ งมือทัว่ ไป และอธบิ ายข้นั ตอนวธิ กี ารในการปฏิบัติงานตามใบงาน 5. ผูส้ อนให้ผเู้ รียนปฏบิ ัติงานตามใบงานเรื่องการใช้เคร่ืองมือทัว่ ไปและเคร่ืองมือพิเศษที่ใช้ในงาน เครื่องยนต์เล็ก 6. ผูส้ อนประเมนิ ผลการปฏิบัติงานของผเู้ รียนและใหผ้ ้เู รียนสรปุ สาระสำคัญของเร่ืองทีเ่ รียนประจำ สัปดาห์ กจิ กรรมการเรียนการสอน (สอนครง้ั ท่ี 2 ) เวลา 7 ชัว่ โมง/สปั ดาห์ 1. ผูส้ อนชแี้ จงรายละเอียดเก่ียวกบั จดุ ประสงคร์ ายวชิ า สมรรถนะรายวิชา และคำอธิบายรายวิชา การ วัดและประเมนิ ผลการเรียนรายวชิ า คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของรายวชิ า และข้อตกลงในการจัดการเรยี น การสอนในรายวชิ า 2. ผสู้ อนกลา่ วนำเกี่ยวกบั การใชเ้ ครอื่ งมือวดั ช้ินส่วน 3. ผู้สอนถา่ ยทอดความรูใ้ น เรือ่ ง การใชเ้ คร่ืองมอื วดั ชนิ้ ส่วน 4. ผู้สอนแสดงใบงานเร่ืองการใช้เครือ่ งมือวัดชน้ิ สว่ น และอธบิ ายขนั้ ตอนวธิ กี ารในการปฏบิ ัติงานตาม ใบงาน 5. ผสู้ อนใหผ้ ูเ้ รียนปฏิบตั งิ านตามใบงานเร่ืองการใช้เคร่ืองมือทั่วไปและเครื่องมือพเิ ศษทีใ่ ช้ในงาน เครอ่ื งยนต์เล็ก 6. ผสู้ อนประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้เรียนและให้ผูเ้ รียนสรุปสาระสำคญั ของเรื่องที่เรียนประจำ สัปดาห์

33 แผนการจดั การเรยี นรู้ม้งุ เน้นสมรรถนะ หน่วยท่ี 1 ชื่อหน่วย ความปลอดภยั ในการทำงานและการใชเ้ ครือ่ งมอื สอนครัง้ ท่ี 1-2 ชั่วโมงรวม 1-14 ชอ่ื เร่ือง การใช้เครื่องมอื งานเคร่อื งยนต์ จำนวน 14 ชั่วโมง ส่อื การสอน เกณฑ์ - ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 60 1.เอกสารประกอบการสอน - ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 80 2.เอกสารประกอบการเรยี น 3.สื่อนำเสนอ PowerPoint งานท่ีมอบหมาย/กจิ กรรม ใหน้ ักเรยี นทำแบบฝึกเสรมิ ทักษะตามใบงานทา้ ยหน่วยการเรียนท่ี 1 การวัดและประเมินผล วดั ผล/ประเมินผล วิธีการ เครอ่ื งมือ ๑.สมรรถนะท่ีพึง - ทำแบบฝกึ เสริมทักษะ - แบบฝึกเสรมิ ทักษะ ประสงค์ ท้ายหนว่ ย ท้ายหน่วย ๒.คณุ ลักษณะอันพึง - ประเมนิ คุณลักษณะ - แบบประเมนิ ประสงค์ (Attitude) อันพงึ ประสงค์ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

34 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 1 ช่ือวิชา งานเคร่ืองยนต์เล็ก เวลาเรียนรวม 126 ช่ัวโมง ช่อื หน่วย ความปลอดภยั ในการทำงานและการใชเ้ ครื่องมือ สอนครงั้ ที่ 1-2 หนว่ ยท่ี 1 ความปลอดภยั ในการทำงานและการใชเ้ ครื่องมือ จำนวน 14 ชว่ั โมง เน้ือหา เคร่ืองมือช่างยนต์ (Auto Mechanic hand tools) เคร่ืองมือ เป็นอุปกรณ์ที่มีความสำคัญมากในการทำงาน ผ้ปู ฏบิ ตั ิงานจำเปน็ ตอ้ งเลือก ใชเ้ ครอื่ งมือให้ ถูกต้อง และเหมาะสมกับงานเคร่อื งมือเป็นอปุ กรณ์ทใ่ี ช้ในงานโดยการใช้แรงจากคน ซ่งึ อาจจะใช้ สำหรบั ขนั ตอก ตัด ฯลฯ ในการใชเ้ ครื่องมือต่าง ๆ นนั้ ไม่เพยี งแตจ่ ะปฏิบตั ิงานใหเ้ สร็จได้อยา่ งรวดเร็วเพียงอย่าง เดยี วแต่ควรตอ้ ง ปฏบิ ตั ิงานโดยคำนึงถงึ ความปลอดภยั และการปฏบิ ตั ิงานท่ีถกู ต้องตามขั้นตอนการใช้เครอ่ื งมือ ช่างยนต์ ความหมายของเคร่อื งมือ เครื่องมือเรยี กวา่ แฮดทลู (Hand tools) คอื อุปกรณท์ ่ีชว่ ยอำนวยความสะดวก ในการปฏบิ ัติงานให้ได้อยา่ ง รวดเร็วประหยดั เวลาในการทำงาน เครื่องมอื เป็นพนื้ ฐานที่สำคัญมาก สำหรบั งาน ซอ่ มรถยนตไ์ ม่วา่ จะเปน็ การ ถอดแยกชิน้ ส่วนสำหรบั การปรับแต่งเครื่องยนต์ ซึ่งเปน็ งานหลักของงานซ่อม ประกอบรถยนต์ เครื่องมอื มือทั่วไป (แฮนด์ทูล: Hand tools) เครอื่ งมือประเภทน้ี เปน็ เครื่องมอื พนื้ ฐานท่มี ีความจำเปน็ อยา่ งยิ่ง สำหรบั การใชง้ านชา่ งโดยทว่ั ๆ ไปซ่งึ จะมที ง้ั ขนาดเล็กขนาดกลางและขนาดใหญ่ถ้าผ้ปู ฏิบตั ิงานไมม่ ีเคร่อื งมือประเภทนี้ ก็ไม่สามารถทีจ่ ะทำงานได้ สำเรจ็ เช่น ไขควงคมี ค้อน สกัด เหลก็ สง่ เปน็ ตน้ ไขควง (สกรไู ดรเวอร์: Screw driver) รูปที่ 1 ไขควงแบบต่าง ๆ การใช้ไขควง - ไม่ควรนำ ไขควงไปใช้แทนสกดั - ไมค่ วรนำ ไขควงไปใชแ้ ทนเหลก็ งดั - ไม่ควรนำ ไปใชท้ ดลองไฟแบตเตอรี่ - เลอื กขนาดของไขควงใหพ้ อดกี บั ร่องทห่ี ัวสกรู - ถา้ จะลบั ปลายไขควงควรลับใหเ้ ต็มหนา้ อย่าลับใหป้ ลายแหลมเกินไป

35 คีม (ไพรเออร:์ Pliers) คีมเปน็ เคร่ืองมือที่ใชส้ ำหรบั งานทีต่ อ้ งการจับบีบช้ินงานท่ัว ๆ ไป บางชนิดก็ออก แบบให้มีฟันคมเพ่ือใช้ ในการตดั สำหรับใช้ในงานจักรกล และงานทเี่ ก่ยี วกับไฟฟา้ ซง่ึ จะต้องมดี า้ มเปน็ ฉนวนหุม้ ไวเ้ พอ่ื ป้องกนั อนั ตราย จากไฟฟ้าช็อตได้ คมี ปากจ้งิ จก(ลองโน๊ต ไพรเออร:์ Long nose pliers) คมี ปากจ้ิงจกจะมที ั้งปากแบนและปากกลม จะใช้สำหรบั งานขนาดเล็ก ๆ เชน่ การถอดประกอบแหวนล็ อกใน หรือสลกั รูปท่ี 2 คมี ปากจิ้งจก คมี ตดั (ไดอะโกนลั คัตเตอร์ ไพรเออร์: Diagonal cutter pliers) คมี ตัดจะใชส้ ำหรับงานตัดเสน้ ลวดหรอื สายไฟ เท่าที่จะตดั ไดซ้ ึง่ อาจจะเป็นดา้ มเหล็กลว้ นหรอื มีพลาสติก ห้มุ ทด่ี ้ามคมี เพ่ือเปน็ ฉนวนป้องกนั ไฟฟา้ ช็อต รปู ที่ 3 คีมตดั คมี ปากขยายหรือคมี ปากเลื่อน (คอมบิเนช่นั ไพเออร:์ Combination pliers) คีมปากขยายหรอื คมี ปากเลื่อน จะใชส้ ำหรับจับงานทัว่ ๆ ไปปากคมี จะสามารถเล่อื นไดซ้ ึ่งอาจจะใช้แทน ประแจเลอ่ื น หรือประแจ ปากตายในกรณีที่รีบดว่ นเท่าน้นั รูปที่ 4 คีมปากขยาย

36 คีมถอดแหวนลอ็ ก(สแนปริงไพรเออร์: Snap ring pliers) คมี ถอดแหวนล็อกจะมีท้ังแบบถอด แหวนลอ็ กในและแหวนลอ็ กนอกกตรงส่วนปลายของคมี จะเป็นแบบ แบนหรอื แบบกลมไดโ้ ดยมที ้งั แบบปาก ตรงและปากงอ มหี ลายขนาดใหเ้ พียงพอต่อความตอ้ งการของผู้ปฏิบตั ิงาน รปู ท่ี 5 คมี ถอดแหวนลอ็ ก คมี ลอ็ ก(ล็อกก้งิ ไพรเออร: Locking plier) คมี ลอ็ กจะใชส้ ำหรับชิ้นงานให้แนน่ จะมที ัง้ ขนาด ชนดิ ปากตรงและปากโค้ง เพ่ือใชจ้ ับบีบชน้ิ งานทีเ่ ป็น แผน่ หรอื แบบทรงกลมให้แน่น ซ่ึงสามารถลอ็ กการบีบไวไ้ ด้ โดยไมต่ อ้ งออกแรงในการบบี ตลอดเวลาในขณะจับ ชิ้นงาน รูปที่ 6 คีมลอ็ ก การใชค้ ีม - ควรเลือกใช้คีมให้เหมาะสมกบั ชิ้นงาน - ไม่ควรใชค้ ีมทดลองไฟจากแบตเตอร่ี - ไม่ควรนำ คมี ไปตดั เสน้ ลวดในขณะร้อน - ไม่ควรลับปากคีมใหม้ ีความคมมากจนเกินไป - ไมค่ วรนำ คมี ไปขันสลักเกลียว - ไมค่ วรนำ คมี ไปตอกแทนค้อน

37 ค้อน (แฮมเมอร์: Hammer) คอ้ นเป็นเครอ่ื งมือท่ใี ชส้ ำหรับตอกช้ินสว่ นของเคร่ืองจักรกลตา่ ง ๆ และอาจจะใชส้ ำหรบั ตีข้นึ รูป หรือตดี ดั ชิ้นงานใหไ้ ดต้ ามความต้องการของผ้ปู ฏิบตั งิ าน ค้อนหวั กลม (บอล พลี แฮมเมอร:์ Ball peen hammer) ค้อนหวั กลมมหี ลายขนาดแต่ทีใ่ ช้งานทัว่ ๆ ไป คือ ขนาด1 ปอนด์เพ่ือใชส้ ำหรับตอกเหล็กส่ง หรือเหลก็ นำ ศนู ย์ รปู ที่ 7 คอ้ นหัวกลม ค้อนทองเหลอื ง (แบช แฮมเมอร์: Brass hammer) ค้อนทองเหลือง ซ่งึ ทำจากวัสดุท่ีออ่ นเพอื่ ใช้ สำหรับตีช้นิ งานหรอื เคาะช้ินงานทไี่ ม่ต้องการให้บุบสลาย รูปที่ 8 ค้อนทองเหลือง คอ้ นพลาสติก (พลาสตกิ แฮมเมอร:์ Plastic hammer) คอ้ นพลาสตกิ จะมีทง้ั แบบเปล่ียนหัวพลาสตกิ ได้และแบบที่เปลย่ี นไม่ได้ใชส้ ำหรบั ตอกหรือเคาะชิน้ งานที่ อ่อนและบอบบาง รปู ท่ี 9 ค้อนพลาสตกิ

38 คอ้ นหัวตัด (ครอซพลี แฮมเมอร์: Cross peen hammer) ค้อนหัวตดั ใช้สำหรับงานทวั่ ๆ ไป รูปที่ 10 คอ้ นหัวตดั การใชค้ ้อน - ไม่ควรนำ คอ้ นทมี่ หี ัวคลอนมาใช้งาน - ในขณะท่ีตอกหวั ค้อนจะต้องขนานกบั ชน้ิ งาน - ควรเลือกใช้ค้อนใหเ้ หมาะสมกับงาน - ไม่ควรใช้ด้ามค้อนสำหรับงดั - ไม่ควรใช้ด้ามค้อนกระทุ้งชน้ิ งานทเี่ ปน็ โลหะ - ด้ามคอ้ นต้องสะอาดอย่เู สมอไม่เป้ือนนำ้ มนั หรอื จาระบี สกัด (โคว ชเิ ชล: Cold chlisel) สกัดใชส้ ำหรบั ตดั โลหะ หวั หมุดย้ำ ตดั โลหะแผน่ ฝา่ หัวน๊อตทเี่ ป็นสนมิ ซงึ่ ใช่ประแจถอดไมไ่ ดแ้ ล้ว โดย ปากของสกัดจะมหี ลายแบบ เชน่ ปากแบน เซาะร่องลมิ่ ปากจง้ิ จกครึ่งวงกลม และปากกลม สำหรับงานช่างยนต์ จะใช้อยู่ 2 ชนดิ คือ สกัดปากแบน และปากจิ้งจก รปู ท่ี 11 สกดั

39 การใช้สกัด - ควรเลือกใชส้ กัดใหเ้ หมาะสมกบั งาน - ไม่ควรใชส้ กัดที่มีก้นเยิน ต้องลบั กน้ ใหเ้ รียบร้อยกอ่ นที่จะนำ มาใช้งาน - ในขณะที่ปฏิบตั ิงานควรระมัดระวังผู้ท่ีอยู่ข้างเคียงดว้ ย - ในขณะทำ การลับสกัดจะต้องสวมใส่แว่นตานริ ภยั ทุกคร้งั เหล็กส่ง (พัลส์ : Punch) เหลก็ ส่งมหี ลายแบบ เชน่ เหล็กสง่ สลกั เหล็กสง่ เรียวและเหล็กปรบั รเู หล็กสง่ เป็นเครื่องมือทีใ่ ชส้ ำหรับ สง่ ในการถอดประกอบชนิ้ สว่ นต่าง ๆ ของเครอื่ งยนต์ รูปท่ี 12 เหล็กสง่ การใช้เหล็กสง่ - ควรเลือกใช้เหลก็ สง่ ให้เหมาะสมกบั งาน - ไมค่ วรใชเ้ หลก็ สง่ ที่มีก้นเยนิ เหลก็ นำศนู ย์(เซ็นเตอร์ พัลส์ : Center punch) เหล็กนำศูนย์จะใชส้ ำหรบั ตอกนำก่อนการเจาะของโลหะ ปากจะทำมมุ 90 องศา ซ่งึ จะทำให้ไดต้ ำแหน่ง ในการเจาะท่ถี ูกต้อง รูปที่ 13 เหลก็ นำศูนย์

40 เคร่ืองมือช่างยนต์ท่วั ไป เครอ่ื งมอื ช่างยนต์ทวั่ ไป เป็นเครอื่ งมือที่ใช้สำหรบั ทำงานโดยใช้แรงจากคน อาจจะใช้ในการขัน ตอก ตัด ฯลฯ ซ่งึ เปน็ เครื่องมือพนื้ ฐานสำหรับงานซอ่ มทัว่ ๆ ไป ประแจ ((เวน้ ท์: Wrench) ประแจเปน็ เครื่องมือหลกั ท่มี ีความสำคัญทสี่ ดุ สำหรบั การซ่อมเคร่ืองยนต์หรือเคร่ืองจักรกลท่วั ๆ ไป การ นำ ประแจมาใชง้ านจะต้องเลือกขนาดของประแจใหต้ รงกับขนาดนอ็ ต สกรหู กเหลยี่ ม ประแจปากตาย (โอเพน่ เอ็น เว็นท์ : Open end wrench) รูปที่ 14 ประแจปากตาย ประแจแหวน (บ๊อก เว้นท์: Box Wrench) ประแจแหวนจะมีคอท่งี อใชส้ ำหรบั ขัน หรือคลายน็อต สกรูและงานทั่ว ๆ ไป เหลี่ยมของประแจแหวนจะ เต็ม หน้าสมั ผสั จึงทำให้เหลย่ี มไม่มนขันได้แนน่ รูปท่ี 15 ประแจแหวน ประแจรวม (คอมบิเนชัน่ เว้นท:์ Combination wrench) ประแจรวมจะถูกออกแบบขา้ งหนง่ึ เป็นประแจปากตาย ส่วนอีกขา้ งหน่ึงจะทำเป็นประแจแหวน ประแจ รวมจะใชข้ นั หรอื คลายนอ็ ต แทนประแจ แหวนในบรเิ วณทีแ่ คบ ๆ รูปที่ 16 ประแจรวม

41 ประแจแหวนหัวผา่ (แฟรน์ ทั เวน้ ท์: Flare not wrench) ประแจแหวนหัวผา่ จะมีลักษณะคล้าย ประแจแหวนแตผ่ า่ ปลายออกเพ่ือใช้สำหรับขันน็อตท่อไอเสยี หรอื ท่อน้ำมนั ตา่ ง ๆ รปู ท่ี 17 ประแจหวั ผา่ ประแจแหวนโค้ง (ฮารฟ มนู บอ๊ ก เวน้ ท:์ Haif moon box wrench) ประแจแหวนโคง้ ใชส้ ำหรบั งานขนั ตรงไมไ่ ด้ประแจแบบน้ี จะใช้สำหรบั งานเฉพาะท่ีเทา่ น้ัน รูปท่ี 18 ประแจแหวนโค้ง ประแจกระบอก (ซ๊อกเกต็ เว้นท:์ Socket wrench) ประแจกระบอกเป็นประแจที่ใช้รว่ มกับดา้ มประแจใชส้ ำหรับขนั หรอื คลายน็อต และโบลทไ์ ด้ดีท่ีสดุ ขัน แนน่ ได้และหวั น็อตไมเ่ ยนิ หรือชำรุด รูปท่ี 19 ประแจกระบอก ด้ามขนั แบบสวา่ น (สปีดแฮนท:์ Speed Handle) ดา้ มขันแบบสวา่ นใชต้ ่อกบั ประแจกระบอกเพอื่ ใช้สำหรบั ขนั หรือคลายน็อต หรือโบลท์ เพ่ือความรวดเรว็ แต่ไมส่ ามารถขันน็อตให้แนน่ ไดแ้ ละไม่สามารถคลายน็อตท่ีแน่นจนเกินไปได้ รปู ท่ี 20 ดา้ มขันแบบสว่าน

42 ด้ามขนั แบบกรอกแกรก (แร็ทเช็ทแฮนด์เดล: Ratchet handle) ด้ามกรอกแกรกเป็นดา้ มประแจใชส้ ำหรับขนั หรือคลายน็อต และโบลท์ในบริเวณแคบ ด้ามขนั ชนิดนี้ไม่ ค่อย แข็งแรงจึงไม่ควรใชง้ านกบั งานที่แนน่ มาก ๆ สามารถปรบั ทศิ ทางการหมุนได้ รปู ที่ 21 ด้ามขันแบบกรอกแกรก ด้ามขันแบบยาวหรอื ดา้ มขันตรง (เฟล็กซ์แฮนดเ์ ดล: Flex handle) ดา้ มขันยาวหรอื ด้ามขนั ตรง จะใช้สำหรบั ต่อกับประแจกระบอกเพอ่ื ขัน หรือคลายน็อต และโบลทท์ ่ีแน่น มาก ๆ ซ่งึ โดยท่วั ๆ ไปจะใชข้ ันแน่นคร้งั สดุ ทา้ ย รปู ที่ 22 ด้ามขนั แบบยาวหรอื ด้ามขันตรง ดา้ มขนั แบบตัวที (สไลดงิ้ ทีแฮนด์เดิล: Sliding T handle) ดา้ มขันแบบตวั ทจี ะใช้สำหรับต่อกบั ประแจกระบอกเพื่อขนั หรอื คลายน็อต และโบลท์ท่ตี ้องการออก แรงดนั ทางดา้ นซ้าย และด้านขวาเทา่ ๆ กัน รปู ท่ี 23 ด้ามขันแบบตัวที กา้ นตอ่ (เอก็ เทนชนั : Extension) กา้ นตอ่ มหี ลายขนาด ใชส้ ำหรับตอ่ กับประแจกระบอกและด้ามขนั เพ่ือขัน หรือคลายน็อตและโบลทท์ อี่ ยู่ ลึก ๆ รปู ที่ 24 ก้านต่อ

43 ขอ้ ตอ่ ออ่ น (ยนู ิเวอร์ซลั จอยส:์ Universal joint) ขอ้ ต่ออ่อน ใช้สำหรบั ตอ่ สำหรับต่อกบั ประแจกระบอกและด้ามขันเพอื่ ขนั หรือคลายน็อต และโบลท์ ทอ่ี ยู่ คนละระนาบกบั ดา้ ม เพ่ือหลีกเล่ยี งชิ้นสว่ นท่ีกดี ขวางขณะทำการขนั รูปที่ 25 ข้อตอ่ ออ่ น ประแจเลื่อน (แอ็ทจทั เทเบิลเว้นท:์ Adjustable wrench) ประแจเลือ่ นจะใช้สำหรบั งานทัว่ ๆ ไป โดยจะใชข้ นั หรือคลายน็อต และโบลท์ทป่ี ระแจปากตายหรอื ประแจ แหวนจบั ไม่ได้ รปู ที่ 27 ประแจเลื่อน ประแจจบั แป๊บ (ไพร์เว้นท:์ Pipe wrench) ประแจจบั แปบ๊ จะใชส้ ำหรบั งานตอ่ ท่อทวั่ ๆไป รปู ที่ 28 ประแจจบั แป๊บ ประแจแอล(อลั เลน เว้นท์: Allen wrench) ประแจแอลเรยี กอีกชอื่ หนึ่ง ประแจหกเหลีย่ ม ใชส้ ำหรบั ขันหรือคลายนอ็ ตที่มีหวั เป็นรู รปู ท่ี 29 ประแจแอล

44 การเลอื กใช้ประแจ 1. เลอื กใช้ประแจให้ถกู ตอ้ งและเหมาะสมกบั งาน 2. การขนั หรอื คลายน็อตและโบลท์ควรใชป้ ระแจกระบอกหรือประแจแหวนไมค่ วรใช้ประแจปาก ตาย นอกจากมคี วามจำเป็น 3. การขนั นอ็ ตหรือโบลท์ใหแ้ น่น ควรใชแ้ รงขัน ที่สม่ำเสมอให้ขนั จนตึงมือไม่ควรใชป้ ระแจต่อ เพระ อาจจะทำใหน้ อ็ ตขาด เครื่องมือวดั (มีสชวั ร่ิง ทูล : Measuring tool) เคร่อื งมือวดั ไฟฟ้าเปน็ เครื่องมือทีม่ ีความสำคัญมาก สำหรบั งานช่างยนต์เพราะว่าช่างยนต์ ทกุ คนจะต้อง ใช้เครือ่ งมือวดั ให้ไดอ้ ย่างถูกต้อง และมคี วามแมน่ ยำ เครื่องมือวัดบางอย่างจะมีความละเอียดพอสมควร เช่น บรรทัดเหลก็ ตลับเมตร เป็นตน้ สำหรบั เคร่อื งมือวดั ทีม่ ีความละเอยี ด มากเช่น ไมโครมิเตอร์ (Micrometer) เวอร์ เนยี แคลปิ เปอร์ (Vernier Caliper) ไดอลั เกจ (Dial gauge) เป็นตน้ ไมโครมเิ ตอร์ (Micrometer) รูปที่ 30 ไมโครมเิ ตอร์ ไมโครมเิ ตอร์ ทำหนา้ ท่ี ใช้สำหรับวัดขนาดของชน้ิ งานต่าง ๆ ท่มี ขี นาดเล็ก ๆ ไม่ใหญ่จนเกินไป การใชง้ าน ผู้ปฏิบัตงิ านชา่ งยนต์ ควรนำไมโครมเิ ตอร์ไปใชใ้ ห้เหมาะสมกับชน้ิ งานและขนาดใหถ้ ูกต้อง ควรใช้อยา่ งระมัดระวงั ในขณะทำการวัด เพราะอาจจะหลุดมือหลน่ ลงบนพ้ืน ทำให้ชำรุดเสียหายได้ การบำรุงรกั ษา หลังจากเลกิ ใชง้ าน ควรทำความสะอาดไมโครมิเตอร์แลว้ ชโลมนำ้ มนั บาง ๆ โดยใชผ้ ้าท่ี ไม่มีขนเช็ด ไม่ควรใช้ลมเป่าทำความสะอาดหรอื ใชน้ ำ้ ยาลา้ ง เวน้ แตก่ รณที ี่ถอดแยกชน้ิ ส่วน ออกมาการเกบ็ รักษา ไมโครมิเตอรจ์ ะต้องเก็บไว้ในกล่องหรือภาชนะที่ป้องกันความช้ืนและบริเวณที่ไมร่ ้อนจดั เวอรเ์ นยี รแ์ คลปิ เปอร์ (Vernier caliper) รูปท่ี 31 เวอรเ์ นียรแ์ คลิปเปอร์ เวอร์เนยี ร์แคลปิ เปอร์ ทำหนา้ ท่ี ใช้สำหรบั วดั ความโตด้านนอก ด้านใน และความลึกของชิ้นงาน เวอร์เนยี ร์ทีใ่ ช้งานทวั่ ๆ ไป แบง่ ออกได้ 3 ประเภท คือ 1. เวอร์เนยี รแ์ คลปิ เปอร์ 2. เวอรเ์ นยี ร์วดั ความลึก

45 3. เวอร์เนยี ร์วัดความสูง การใช้งาน เวอรเ์ นยี รแ์ คลิปเปอร์ เป็นเครื่องมือวดั ท่ีสามารถอา่ นคา่ ทวี่ ัดได้ละเอยี ด โดยอาศยัการแบ่งเส้นให้เหลอ่ื ม กนั การอ่านค่าท่ีได้จากการวัดจะตอ้ งอ่านให้ตรงกับขนาดทวี่ ดั ได้จริง ๆ เช่น 12.04 มลิ ลิเมตร ไมค่ วรอ่านวา่ 12 มิลลิเมตรกว่า ๆ เพราะถ้าอ่านเชน่ นั้นจะไมท่ ราบว่า “กวา่ ” อกี เท่าไร ข้อควรระวงั ในการใช้เวอร์เนยี ร์ 1. อย่านำเวอรเ์ นยี ร์ไปวดั ช้ินงานท่กี ำลงั ร้อน 2. อย่านำเวอร์เนียร์ไปวัดชิ้นงานทก่ี ำลังเคลอ่ื นท่ี 3. วางหรือถือเวอร์เนียร์ดว้ ยความระมดั ระวงั 4. อย่าลากเวอร์เนยี ร์ไปมาในขณะทำการวดั ชน้ิ งาน 5. กดปากเวอร์เนียร์ในขณะทำการวัดช้นิ งานด้วยแรงพอประมาณ 6. ชิ้นงานทจ่ี ะนำมาวดั จะต้องทำการลบคมหรอื ครีบก่อน 7. อย่านำเวอรเ์ นยี รไ์ ปวางไวร้ ่วมกบั เคร่ืองมือทีม่ ีคม เช่น ตะไบ ใบเลื่อย คีม เป็นต้น ควรวางเวอรเ์ นยี รไ์ ว้ บนผ้าท่สี ะอาดหรอื วางไวบ้ นแผ่นยางสำหรับวางเครื่องมอื วัด 8. หลังจากเลกิ ใช้งานเวอรเ์ นียร์แล้วควรเลอื่ นปากเวอรเ์ นยี ร์ให้สนิทกันไว้ การบำรงุ รักษาเวอร์เนียร์แคลิปเปอร์ หลงั จากเลิกใชง้ าน ควรทำความสะอาดทุกคร้งั โดยการเชด็ ด้วยผา้ สะอาดและควรเก็บ เวอร์เนยี ร์ไว้ให้เรยี บร้อย ซ่ึงอาจจะเก็บเข้าตู้เคร่ืองมือ หรือเกบ็ ไว้ในกลอ่ งที่มีความแข็งแรง ไดอัลเกจ (Dial gauge) รปู ท่ี 32 ไดอัลเกจ ไดอัลเกจ ใช้สำหรับวดั หาคา่ ความสกึ หรอของชนิ้ ส่วนตา่ ง ๆ ของเครื่องจะมีหนา้ ปดั ซ่ึงมีลกษั ณะคลา้ ยกับ นาฬกิ าไว้สำหรับอา่ นคา่ ขาแม่เหลก็ ของไดอัลเกจ โดยปกติแล้วไดอัลเกจจะตดิ ต้งั ไว้กับขาแมเ่ หลก็ เพื่อให้ใชไ้ ด้ อยา่ งสะดวกและปลอดภัย ซึ่งทข่ี าแม่เหลก็ อาจจะมีสวติ ช์เปิด-ปิด เพ่ือให้เกิดความสะดวกในการตดิ ตงั้ และ สามารถถอดออกจากชนิ้ งานได้ วธิ ีการวัดช้นิ งาน 1. ก่อนจะทำการวดั จะต้องทำความสะอาดชนิ้ งานทุกครงั้ 2. นำขาแมเ่ หลก็ ติดต้ังในตำแหน่งทจี่ ะทำการวัดช้นิ งาน 3. ปรบั สเกลท่ีหนา้ ปัดให้อยู่ในตำแหน่ง 0 ก่อนทำการวดั ชนิ้ งาน 4. หมนุ หอื ขยบั ชิ้นงานท่จี ะทำการวัดอย่างช้าๆ 5. จดบนั ทึกคา่ ที่อ่านได้จากการวัด

46 การใช้งาน 1. ควรยึดไดอัลเกจกับขาแมเ่ หลก็ ใหแ้ นน่ 2. อย่าใหไ้ ดอลั เกจหลน่ ตกพ้ืน เพราะอาจจะทำให้แตกหรือชำรุดเสยี หายได้ 3. ควรใช้ไดอลั เกจวัดชนิ้ งานอยา่ งระมดั ระวงั เพราะเปน็ เครื่องมือทช่ี ำรุดง่าย 4. การวดั ชน้ิ งานของไดอลั เกจ จะต้องทำการวัดให้อยู่ในแนวขนานกับการเคลื่อนท่ีของช้ินงานเสมอ การบำรุงรักษาไดอัลเกจ หลังจากใช้ไดอัลเกจเสรจ็ ควรเช็ดทำความสะอาดแลว้ เก็บไวใ้ นตเู้ ครอ่ื งมือ หรือเก็บไวใ้ น กลอ่ งท่ีมีความ แขง็ แรง ฟลิ เลอรเ์ กจ (Feeler gauge) รปู ที่ 33 ฟิลเลอร์เกจ ฟิลเลอรเ์ กจ ทำหนา้ ท่ใี ช้สำหรบั วดั ระยะห่างช่องว่างของอุปกรณต์ ่าง ๆ ในเคร่ืองยนต์ ตัวอย่าง เชน่ ระยะหา่ งของเขยี้ วหวั เทียน ระยะห่างของหนา้ ทองขาว ระยะหา่ งของปากแหวน ลูกสบู และใชส้ ำหรบั งานปรับต้งั ล้ินไอดี–ไอเสีย เปน็ ตน้ การใชง้ าน ผู้ปฏบิ ตั คิ วรนำฟลิ เลอรเ์ กจไปใชก้ ารวัดระยะหา่ งใหเ้ หมาะสมกับช้ินงาน และขนาดที่ต้องการจะวดั โดยดู คมู่ อื ซ่อมประกอบ จงึ จะได้ค่าทีว่ ัดไดต้ รงตามคา่ มาตรฐานท่ีกำหนดไว้ การบำรงุ รกั ษาฟิลเลอร์เกจ เม่อื ใช้งานฟิลเลอร์เกจเสร็จแล้ว ควรเชด็ ด้วยผ้าให้สะอาดแลว้ ชโลมนำ้ มนั ไว้เสมอควรเก็บ ไวใ้ นกลอ่ ง เคร่อื งมือให้เรียบร้อย เครือ่ งมอื พิเศษ (สเปเชยี ล ทูล : Special Tools) เครื่องมอื พเิ ศษ หมายถึง เครื่องมือทม่ี ีความสำคัญอีกอย่างหน่ึงกบั งานชา่ งยนตซ์ ่ึง เครอ่ื งมือชนดิ อืน่ ไม่ สามารถจะนำ มาใช้ได้แลว้ จงึ ต้องใช้เครอื่ งมอื พิเศษเหลา่ น้ี เพอื่ อำนวยความสะดวกในการปฏิบัตงิ านช่างยนต์ ใน การใช้ทุกคร้ังต้องระมัดระวงั ในการใช้เป็นพิเศษ และคำนึงถึงความปลอดภยั ในการใชด้ ้วย ซ่ึงประกอบดว้ ย ประแจปอนด์หรือประแจวัดแรงบดิ (ทอร์ก เว้นท์ : Torque Wrenches) ประแจปอนด์ ทำหน้าท่ี ใช้สำหรบั ขันสลักเกลยี วหรือการขันน็อตยดึ ชน้ิ งานทีจ่ ำเป็นตอ้ งขนั ใหแ้ นน่ ตามค่า พกิ ดั ที่กำ หนด เช่น นอ็ ตยึดฝาสบู นอ็ ตยึดประกบั กา้ นสบู น็อตยึดประกบั เพลาข้อเหว่ยี ง เปน็ ต้น ประแจ ปอนดแ์ บง่ ออกได้ 3 ประเภท คอื

47 1. ประแจปอนด์แบบหน้าปัทม์ รูปท่ี 34 ประแจปอนดแ์ บบหน้าปัทม์ ประแจปอนดแ์ บบหนา้ ปัด จะมีลกษั ณะทโี่ คนด้ามเปน็ หนา้ ปัดพรอ้ มเข็มชี้ เข็มหมนุ ได้สองทาง คือ ด้าน ขันและด้านคลาย ซง่ึ ในขณะทำการขัน เข็มจะชบ้ี นสเกล แบง่ ขีดที่หนา้ ปัทมข์ องประแจปอนด 2. ประแจแบบเข็มช้ี รูปที่ 35 ประแจปอนด์แบบเข็มช้ี ประแจปอนดแบบเขม็ ช้ี จะมีการออกแบบใหว้ ัดโดยตรงซึ่งดูจากเข็มชี้ ถา้ ออกแรงในการขนั มากดา้ ม ประแจปอนดจ์ ะบิดไปจากเข็มช้ีมาก แล้วจงึ อ่านค่าตัวเลขท่สี เกลโคนดา้ ม เน่ืองจากว่าเขม็ ของประแจปอนด์แบบ เข็มช้ี ติดตงั้ อยภู่ ายนอกโอกาสคดจึงมีมาก การใชจ้ ึงควรตอ้ งระมัดระวัง และเก็บบำรงุ รักษาใหด้ ี 3. ประแจปอนด์แบบไมโครมเิ ตอร์ รปู ท่ี 36 ประแจปอนดแ์ บบไมโครมเิ ตอร์ ประแจปอนดแ์ บบไมโครมิเตอร์ จะไม่มเี ข็มแตจ่ ะอ่านค่าท่ีดา้ ม ซงึ่ จะมสี เกลคล้ายกับไมโครมิเตอร์ เมื่อขนั ถึงค่าที่ตัง้ ไว้ที่ด้ามประแจ จะมีเสียงดังแก๊กดังข้นึ วิธกี ารใช้ประแจปอนด์ 1. จะต้องทราบค่าพกิ ดั ทกี่ ำหนดในการขนั เสยี ก่อน 2. เลือกใชป้ ระแจปอนด์ใหเ้ หมาะสมกับงาน 3. ควรใช้วธิ กี ารขนั โดยการดงึ เขา้ หาตนเองเสมอ

48 4. การขันควรใช้แรงขัน ทีส่ ม่ำเสมอ อย่ากระชากประแจ 5. ค่าพกิ ัดทก่ี ำหนดไว้ควรขนั ด้วยแรงบิดเทา่ ๆ กนั ประมาณ 2-3 ครงั้ อยา่ ขนั ครั้งเดยี วเสร็จ การบำรุงรักษาประแจปอนด์ ควรทำความสะอาดประแจปอนด์ทุกครงั้ หลงั จากเลิกใชง้ าน โดยการเช็ดด้วยผา้ สะอาด แล้วควรเกบ็ ไว้ใน หอ้ งเคร่ืองมือ หรือเกบ็ ไว้ในกล่องที่มีความแข็งแรง ปลอกรัดแหวนลกู สบู รปู ที่ 37 ปลอกรัดแหวนลกู สบู ปลอกวัดแหวนลกู สบู ทำหนา้ ที่ ใช้สำหรบั บีบรัดแหวนลูกสูบ เพือ่ ใช้งานการประกอบ ลูกสบู กับกระบอก สูบของเครื่องยนต์ การใชง้ าน นำปลอกรัดแหวนลูกสูบมา แล้วใชด้ ้ามขนั ใหป้ ลอกรัดแหวนลูกสูบขยายตวั ออกให้โตกวา่ ลูกสบู แล้ว นำไปครอบลูกสบู ไว้จึงใช้ด้ามขนั บบี รัดแหวนลูกสูบให้แนน่ ตอ่ จากน้ันก็ใช้ท้อนไม้ เคาะหรือกระแทก ส่งลูกสบู เข้า ไปในกระบอกสูบของเครอ่ื งยนต์ การบำรงุ รกั ษาปลอกรดั แหวนลูกสูบ ควรเลือกใช้ให้เหมาะสมกับขนาดความโตของลูกสบู เม่ือใช้งานเสรจ็ แลว้ ควรทำความสะอาดแล้วชโลม นำ้ มันไว้ เพ่ือปอ้ งกันการเปน็ สนิม และควรเก็บไวใ้ นหอ้ งเครอ่ื งมือใหเ้ รยี บรอ้ ย หรือเกบ็ ไว้ในกล่องท่ีมคี วาม แขง็ แรง คีมถ่างแหวนลูกสูบ รูปที่ 38 คมี ถ่างแหวนลูกสูบ คีมถ่างแหวนลกู สูบ ใชส้ ำหรบั ถอดและประกอบแหวนลูกสบู เข้ากับรองแหวนลูกสูบ

49 การใช้งาน ในการถอดแหวนลูกสบู ออกมาแต่ละครงั้ อาจจะทำการเปลีย่ นแหวนลูกสูบใหม่ หรือ อาจจะถอดออกมา เพ่อื เซาะร่องแหวนลูกสูบ แหวนลูกสูบเป็นชิ้นส่วนที่เปราะจงึ ควรใชค้ มี ถา่ งแหวนลกู สูบด้วยความระมดั ระวัง มิฉะนนั้ แหวนลูกสบู อาจจะหักได้ง่าย การบำรงุ รักษาคีมถ่างแหวนลูกสบู ควรใช้ดว้ ยความระมัดระวงั หลงั จากเลกิ ใช้งานควรเช็ดทำความสะอาดด้วยผา้ แหง้ แลว้ ชโลมน้ำมนั ไว้ และเก็บไว้ในหอ้ งเคร่ืองมือให้เรียบรอ้ ย เครอ่ื งมอื กดสปรงิ ล้ิน รปู ที่ 39 เคร่อื งมือกดสปรงิ ล้ิน เครอ่ื งมอื กดสปรงิ ลน้ิ ใช้สำหรับกดสปรงิ ล้ินเพื่อถอดหรือประกอบลิน้ ไอดีและล้ินไอเสีย ของเครื่องยนต์ การใช้งาน เมอื่ นำเครื่องมอื กดสปริงลน้ิ มาใชง้ านควรกดตัวล็อกเสมอหลังจากกดสปรงิ ล้ินเข้าไปเพื่อปอ้ งกนั อนั ตราย ที่อาจจะเกดิ ขึ้นได้และในขณะเอาประกับเกือกมา้ ออกมาแล้ว ควรคอ่ ย ๆ ปล่อย ใหส้ ปรงิ คนื ตัวอย่างช้าๆ การบำรงุ รกั ษาเคร่ืองมือกดสปริงล้นิ หลังจากเลิกใชง้ านแลว้ ควรเชด็ ทำความสะอาดเครื่องมอื กดสปรงิ ล้นิ ให้เรยี บรอ้ ย แล้วชโลมนำ้ มันไวต้ รง จุดท่ีเคลือ่ นท่ี และเกบ็ ไวใ้ นห้องเคร่ืองมือ กฎความปลอดภัยในการใช้เครื่องมือ 1. ควรเลอื กใช้เคร่ืองมือให้ถูกต้องและเหมาะสมกบั งาน 2. อย่านำเคร่ืองมือท่ีมปี ลายแหลมหรอื มคี มไวใ้ นกระเป๋าเสอ้ื หรอื กระเปา๋ กางเกง 3. เครอ่ื งมือบางชนดิ ในโรงงาน จะต้องมีอปุ กรณ์ป้องกันอันตรายดว้ ย 4. ควรใช้แวน่ นิรภัย เมอื่ ใช้เคร่ืองมอื ท่ีมเี ศษโลหะพุ่งกระจายออกมา 5. ควรจบั ยดึ ชนิ้ งานให้แนน่ กบั ปากกาจับงาน หรอื ซีแค้มป์ (C-Clamp) 6. ในบริเวณท่ีปฏิบตั ิงานจะตอ้ งมแี สงสวา่ งเพียงพอและมกี ารระบายอากาศท่ีดี 7. แต่งกายให้รดั กมุ ไม่รุม่ ร่าม 8. ควรตรวจสอบและบำรุงรักษาเครือ่ งมอื ท่ีเกีย่ วกบั ระบบไฟฟ้า เพ่อื ป้องกัน กระแสไฟฟ้าร่วั

50 9. หลงั จากเลิกใช้งาน ควรทำความสะอาดเคร่ืองมือให้เรยี บร้อย แล้วเกบ็ ไว้ในห้อง เคร่ืองมือ หรอื เกบ็ ไว้ในกลอ่ งท่ีมีความแขง็ แรง 10. ในโรงฝึกงานจะต้องมีอปุ กรณ์ในการปฐมพยาบาล และมปี ้ายเตอื นอันตรายจากการ ใช้เครอ่ื งมือ รายการเอกสารอา้ งอิงเพิ่มเตมิ - ข้อมลู เพ่ิมเติมจากอินเตอร์เน็ต เร่ือง เครื่องมือช่างยนต์ - ส่อื มลั ตมิ ีเดยี YouTube

51 ใบแบบฝึกหัด รหัสวชิ า 20101-2101 ช่อื วิชา งานเครอื่ งยนตเ์ ล็ก ช่อื หน่วย ความปลอดภัยในการทำงานและการใชเ้ คร่ืองมือ หวั ขอ้ เรื่อง/งาน การใช้เครือ่ งมืองานเครือ่ งยนต์ เวลา 10 นาที ------------------------------ ตอนท่ี 1 คำสั่ง จงตอบคำถามต่อไปน้ีให้ถูกต้องและสมบรู ณ์ทสี่ ุด 1. เครื่องมือ หมายถึง ……………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………… ……………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………… 2. เครือ่ งมือทัว่ ไป คือ ……………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………… ……………………………………………………….……………………………………………………………………………………….…………… 3. เครื่องมือทีใ่ ช้สำหรับ งานทต่ี อ้ งการจับบีบช้ินงาน คือ ……………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………… ……………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………… 4. ค้อนชนดิ ใดทีเ่ หมาะสำหรับงานเคาะชนิ้ งานท่ีออ่ น และบอบบาง ………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………… ……………………………………………………….……………………………………………………………………………………….……………. 5. เครอ่ื งมือชนดิ ใดใชต้ ัดหวั น็อตทีเ่ ป็นสนมิ ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………… ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………

52 ใบเฉลยแบบฝึกหัด รหสั วชิ า 20101-2101 ช่ือวิชา งานเคร่อื งยนต์เล็ก ชอื่ หน่วย ความปลอดภยั ในการทำงานและการใชเ้ ครื่องมือ หวั ข้อเร่ือง/งาน การใชเ้ ครอื่ งมืองานเคร่อื งยนต์ เวลา 5 นาที ------------------------------ ตอนท่ี 1 คำสั่ง จงตอบคำถามต่อไปน้ใี หถ้ ูกตอ้ งและสมบูรณ์ทส่ี ุด 1. เครื่องมอื หมายถึง ตอบ อุปกรณท์ ่ีช่วยอำนวยความสะดวกในการปฏิบตั งิ านใหไ้ ด้อยา่ งรวดเรว็ ประหยดั เวลาในการทำงาน 2. เครื่องมอื ทว่ั ไป คือ ตอบ เคร่ืองมือพนื้ ฐานที่มีความจำเปน็ อยา่ งย่ิง สำหรับการใช้งานชา่ งโดยทว่ั ๆ ไป ซึง่ จะมที ั้งขนาดเลก็ ขนาดกลางและขนาดใหญ่ถ้าผู้ปฏิบัตงิ านไม่มเี ครือ่ งมือประเภทนก้ี ็ไมส่ ามารถท่จี ะทำงานได้สำเร็จ 3. เครื่องมอื ที่ใช้สำหรับ งานท่ตี ้องการจบั บบี ช้ินงาน คือ ตอบ คีม 4. คอ้ นชนิดใดท่เี หมาะสำหรับงานเคาะชิ้นงานท่ีอ่อน และบอบบาง ตอบ ค้อนพลาสติก 5. เครื่องมือชนิดใดใชต้ ัดหัวน็อตที่เปน็ สนิม ตอบ สกดั

แบบทดสอบ 53 รหัสวชิ า 20101-2101 ช่ือหน่วย ความปลอดภยั ในการทำงานและการใช้เครื่องมือ ชื่อวชิ า งานเคร่ืองยนต์เล็ก หัวขอ้ เรอ่ื ง/งาน การใช้เครอื่ งมืองานเคร่ืองยนต์ เวลา 10 นาที ------------------------------ คำสงั่ จงเลอื กคำตอบทีถ่ ูกต้องท่ีสดุ 1. ขอ้ ใดไมใ่ ชเ่ คร่ืองมือซ่อมท่ัวป ก. ประแจแหวน ข. ประแจปากตาย ค. ประแจปอนด์ ง. ประแจรวม 2. ข้อใดเปน็ เกบ็ เคร่ืองมือซ่อมเครือ่ งยนตเ์ ล็กได้อย่างถูกต้อง ก. เกบ็ ไว้ในกล่อง ข. เก็บไว้บนโตะ๊ ทำงาน ค. เก็บไว้ในรถ ง. เก็บไวใ้ นบลอ็ กของเคร่ืองมือ 3. หลกั การเลือกใชเ้ ครอ่ื งมอื ที่ถกู ต้อง ก. เครื่องมือทเ่ี หมาะสมกับงาน ข. เคร่อื งมือคุณภาพดี ค. เคร่อื งมือที่ใช้แทนกันได้ ง. เคร่ืองมือท่ีใช้ประจำ 4. ประแจชนิดใดที่ไม่ควรใช้ขันหรอื คลายนัตแนน่ ๆ ก. ประแจกระบอก ข. ประแจแหวน ค. ประแจปากตาย ง. ประแจเลอื่ น 5. นัตทไ่ี มม่ ปี ระแจอ่นื ใชไ้ ด้ควรใช้เครอ่ื งมือชนดิ ใด ก. คมี เล่อื นล็อค ข. คมี ลอ็ ค ค. คมี ปากจิ้งจก ง. คีมปากแหลม

54 แบบทดสอบ(ต่อ) ช่ือวิชา งานเครอ่ื งยนต์เล็ก รหัสวชิ า 20101-2101 เวลา 10 นาที ช่อื หน่วย ความปลอดภัยในการทำงานและการใชเ้ คร่ืองมือ หัวขอ้ เรอ่ื ง/งาน การใช้เครอื่ งมืองานเครอื่ งยนต์ ------------------------------ 6. เครือ่ งมือพิเศษชนดิ ใดใช้ขันฝาสูบ ก. ประแจปอนด์ ข. ไดอลั เกจ ค. ซลิ นิ เดอรเ์ กจ ง. ประแจบลอ๊ ก 7. การใช้ไมโครมเิ ตอร์วดั งานที่ถูกต้อง ก. เชค็ ศูนยว์ ัดชน้ิ งาน อ่านค่า ข. เช็คศนู ยว์ ัดช้ินงาน ดึงออกอ่านคา่ ค. ปรับตัง้ วดั ชนิ้ งาน อา่ นค่า ง. ปรับตง้ั วดั ชนิ้ งาน ดงึ ออกอ่านคา่ 8. คณุ สมบตั ขิ องเวอรเ์ นียร์คาลเิ ปอรค์ ือ ก. วัดขนาดภายในของชน้ิ งานไดถ้ ูกต้อง ข. วดั ขนาดภายนอกชิน้ งานไดด้ ี ค. วัดขนาดช้นิ ได้หลายลักษณะ ง. วดั ความลึกของชิ้นงานได้ 9. ถา้ หมุนปลอกหมุนวัด 1 ช่องของไมโครมเิ ตอร์ช่องสเกลวัดระยะจะเคลอ่ื นทีเ่ ทา่ ใด ก. 1.00 มม. ข. 0.10 มม. ค. 0.01 มม. ง. 0.001 มม. 10. ตอ้ งการวดั ช่องว่างระหว่างชิ้นงาน เชน่ งานตั้งลิน้ ควรใชเ้ คร่อื งมือชนิดใด ก. ฟิลเลอร์เกจ ข. นาฬกิ าวดั ค. ไมโครมเิ ตอรว์ ัดนอก ง. ไมโครมิเตอรว์ ัดใน

55 ใบงานท่ี 1 รหัสวิชา 20101-2101 ชอื่ วชิ า งานเครอื่ งยนตเ์ ล็ก ชือ่ หน่วย ความปลอดภยั ในการทำงานและการใชเ้ ครื่องมือ หวั ข้อเร่ือง/งาน การใช้เคร่ืองมือท่วั ไป เวลา 4 ชัว่ โมง ------------------------------ จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม 1. ปฏิบัติงานเครื่องมือในงานเคร่อื งยนตเ์ ล็ก 1.1 ใชเ้ คร่ืองมือท่วั ไปได้อยา่ งถกู ต้องตามคู่มือ สมรรถนะ 1. แสดงความรเู้ กี่ยวกบั การใช้เคร่อื งมือตามลักษณะการใช้งาน 2. เลือกใชเ้ คร่ืองมืออย่างถูกต้องตามประเภทของงาน ครุภัณฑ์ / เครื่องมอื / วัสดุฝึก / อุปกรณ์ 1. เคร่อื งยนตเ์ ล็กแกส๊ โซลีน, เครือ่ งยนตเ์ ล็กดีเซล 2. เครื่องมือประจ าตัวช่างยนต์, เคร่ืองมือท่ัวไป ลำดับขัน้ ตอนในการปฏบิ ตั ิงาน คำสง่ั ให้นกั เรียนฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารใชง้ านเครื่องมอื แตล่ ะชนิดให้ถกู ต้อง 1. เตรียมเครอื่ งมือ-วสั ดแุ ละอุปกรณ์ 2. การใชป้ ระแจแหวน ประแจรวม ประแจ ปากตาย ขันและคลายนอ๊ ต รปู ที่ 1 แสดงการใชป้ ระแจ 3. การใชป้ ระแจบล็อก ขนั และคลายนอ๊ ต รูปท่ี 2 แสดงการใชป้ ระแจบลอ็ ก ขนั และคลายน๊อต

56 4. การใชไ้ ขควงปากแบน ไขควงหัวปากแฉก ขันและคลายสกรู รูปท่ี 3 แสดงการใช้ไขควงปากแบน ไขควงหัวปากแฉก ขนั และคลายสกรู 5. การใชค้ มี จับชิ้นสว่ น ชิน้ งาน รปู ที่ 4 แสดงการใช้คีม จับช้นิ ส่วน ชิ้นงาน

57 แบบวิเคราะห์ การประเมินผลตามสภาพจรงิ หนว่ ยท่.ี ..................ชือ่ หน่วย................................................................ชื่อเรอ่ื ง ........................... ลำดบั หัวข้อที่ประเมิน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน 1 การเตรยี มเคร่ืองมือ วัสดุ อุปกรณ์อย่างครบถ้วน 3 = ปฏิบตั ิอยา่ งสม่ำเสมอโดยไมต่ ้องมีการ 2 การเลือกใช้อุปกรณ์เครื่องมือทีเ่ หมาะสมกับงาน ชี้นำหรอื ตักเตือน 3 ลำดับขั้นตอนในการปฏิบตั ิงาน 2 = ปฏบิ ตั ิงานในบางครง้ั จากการเชญิ ชวน 4 การตรวจสอบช้นิ งานอยา่ งถูกวิธี ตักเตอื น หรือช้ีนำ 5 ความปลอดภยั ในการปฏิบตั ิงาน 1 = ว่ากลา่ วหรือตักเตอื นถงึ จะ ปฏิบัตหิ รือ 6 ระยะเวลาในการปฏิบตั งิ าน มกั จะปฏิบัติในทางท่ผี ดิ ในบางคร้ัง 7 การจัดเกบ็ และบำรุงรักษาอปุ กรณเ์ คร่ืองมือ 0 = บงั คบั ว่ากลา่ วหรือตักเตือน และ 8 การทำความสะอาดสถานที่ ปฏิบัติ ในทางทีผ่ ิดทุกครง้ั

58 แบบตรวจผลงาน รหัส.....20101-2101........วิชา งานเครือ่ งยนตเ์ ล็ก หนว่ ยที่.........................ชอ่ื หนว่ ย.........................................................ชอื่ เรอื่ ง ....................................... วันท.่ี ...........เดือน............................พ.ศ................ เวลา................น. ถึง เวลา................น. ช่ือ – นามสกลุ นักเรียน หรือ กลุ่มนกั เรยี น..........................................ชน้ั ...................แผนก................ ข้อท่ี รายการประเมนิ /หัวข้อประเมิน ระดบั คะแนน 3210 1 การเตรยี มเคร่ืองมือ วัสดุ อปุ กรณอ์ ย่างครบถว้ น 2 การเลือกใชอ้ ุปกรณเ์ ครื่องมือท่ีเหมาะสมกับงาน 3 ล าดับขั้นตอนในการปฏิบตั ิงาน 4 การตรวจสอบช้ินงานอย่างถูกวิธี 5 ความปลอดภยั ในการปฏบิ ตั ิงาน 6 ระยะเวลาในการปฏิบตั งิ าน 7 การจดั เก็บและบ ารงุ รกั ษาอุปกรณ์เคร่ืองมือ 8 การท าความสะอาดสถานท รวม รวมทั้งหมด (.............................................................) ผ้ปู ระเมนิ หมายเหตุ เกณฑก์ ารประเมิน 17 – 24 คะแนน = ดมี าก 13 – 16 คะแนน = ดี 9 – 12 คะแนน = พอใช้ 0 – 8 คะแนน = ปรับปรุง

59 ใบงานที่ 2 รหสั วิชา 20101-2101 ช่ือวิชา งานเครือ่ งยนตเ์ ล็ก ช่ือหน่วย ความปลอดภัยในการทำงานและการใชเ้ ครื่องมือ หวั ข้อเรือ่ ง/งาน การใช้เครอ่ื งมอื พเิ ศษ เวลา 2 ช่ัวโมง ------------------------------ จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม 1. ปฏิบตั งิ านเคร่อื งมอื ในงานเครื่องยนต์เล็ก 1.1 ใชเ้ ครอ่ื งมือพิเศษได้อยา่ งถูกต้องตามประเภทชนิ้ ส่วนและอปุ กรณ์ สมรรถนะ 1. แสดงความร้เู ก่ียวกบั การใชเ้ ครอื่ งมือพเิ ศษตามคู่มือ 2. เลือกใชเ้ ครื่องมือพเิ ศษได้อยา่ งถกู ต้องตามประเภทชิน้ ส่วนละอปุ กรณ์ ครภุ ณั ฑ์ / เครื่องมอื / วัสดุฝึก / อปุ กรณ์ 1. เคร่อื งยนต์เลก็ แกส๊ โซลนี , เคร่อื งยนตเ์ ล็กดเี ซล 2. เครอ่ื งมือพเิ ศษ ลำดบั ขน้ั ตอนในการปฏบิ ัติงาน คำสง่ั ใหน้ กั เรยี นฝึกปฏิบตั ิการใชง้ านเครื่องมอื แตล่ ะชนิดใหถ้ ูกต้อง 1. เตรยี มเครื่องมือ-วัสดุและอปุ กรณ์ 2. การใช้ชุดดดู สลักลกู สบู A : ชุดดดู สลักลูกสูบ B : ลูกสบู รปู ท่ี 1 แสดงการใชช้ ุดดูดสลักลกู สบู 3. การใชเ้ กจวดั กำลังอัดกระบอกสบู A : เกจวัดกำลงั อัด B : หัวตอ่ วดั กำลังอัด รูปท่ี 2 แสดงการใช้เกจวดั กำลงั อดั กระบอกสบู A : เกจวดั กำลังอดั B : หวั ตอ่ วดั กำลังอัด

60 4. การใช้คีมถา่ งแหวนลกู สบู รูปที่ 3 แสดงการใชช้ ุคีมถา่ งแหวนลกู สบู 5. การใช้เคร่อื งมือถอดสปริงวาล์ว A : ฝาสบู เคร่ืองยนต์ 4 จังหวะ B : เครอื่ งมือถอดสปรงิ วาลว์ รปู ท่ี 4 แสดงการใชเ้ ครื่องมอื ถอดสปริงวาล์ว A: ฝาสูบเครอ่ื งยนต์ 4 จงั หวะ B: เครื่องมือถอดสปริงวาลว์ 6. การใชป้ ระแจวดั แรงบิด ขันน๊อตตาม ค่าทก่ี ำหนด รปู ท่ี 5 แสดงการใช้ประแจวดั แรงบดิ ขนั น๊อตตาม ค่าทีก่ ำหนด 7. การใชป้ ระแจขันน๊อตล้อช่วยแรง รปู ท่ี 6 แสดงการใช้ประแจขันน๊อตล้อช่วยแรง

61 8. การใช้เหลก็ ดดู ปลอกสบู รปู ที่ 7 แสดงการใช้เหล็กดูดปลอกสูบ

62 แบบวิเคราะห์ การประเมินผลตามสภาพจรงิ หนว่ ยท่.ี ..................ชือ่ หน่วย................................................................ชื่อเรอ่ื ง ........................... ลำดบั หัวข้อที่ประเมิน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน 1 การเตรยี มเคร่ืองมือ วัสดุ อุปกรณ์อย่างครบถ้วน 3 = ปฏิบตั ิอยา่ งสม่ำเสมอโดยไมต่ ้องมีการ 2 การเลือกใช้อุปกรณ์เครื่องมือทีเ่ หมาะสมกับงาน ชี้นำหรอื ตักเตือน 3 ลำดับขั้นตอนในการปฏิบตั ิงาน 2 = ปฏบิ ตั ิงานในบางครง้ั จากการเชญิ ชวน 4 การตรวจสอบช้นิ งานอยา่ งถูกวิธี ตักเตอื น หรือช้ีนำ 5 ความปลอดภยั ในการปฏิบตั ิงาน 1 = ว่ากลา่ วหรือตักเตอื นถงึ จะ ปฏิบัตหิ รือ 6 ระยะเวลาในการปฏิบตั งิ าน มกั จะปฏิบัติในทางท่ผี ดิ ในบางคร้ัง 7 การจัดเกบ็ และบำรุงรักษาอปุ กรณเ์ คร่ืองมือ 0 = บงั คบั ว่ากลา่ วหรือตักเตือน และ 8 การทำความสะอาดสถานที่ ปฏิบัติ ในทางทีผ่ ิดทุกครง้ั

63 แบบตรวจผลงาน รหัส.....20101-2101........วิชา งานเครือ่ งยนตเ์ ล็ก หนว่ ยที่.........................ชอ่ื หนว่ ย.........................................................ชอื่ เรอื่ ง ....................................... วันท.่ี ...........เดือน............................พ.ศ................ เวลา................น. ถึง เวลา................น. ช่ือ – นามสกลุ นักเรียน หรือ กลุ่มนกั เรยี น..........................................ชน้ั ...................แผนก................ ข้อท่ี รายการประเมนิ /หัวข้อประเมิน ระดบั คะแนน 3210 1 การเตรยี มเคร่ืองมือ วัสดุ อปุ กรณอ์ ย่างครบถว้ น 2 การเลือกใชอ้ ุปกรณเ์ ครื่องมือท่ีเหมาะสมกับงาน 3 ล าดับขั้นตอนในการปฏิบตั ิงาน 4 การตรวจสอบช้ินงานอย่างถูกวิธี 5 ความปลอดภยั ในการปฏบิ ตั ิงาน 6 ระยะเวลาในการปฏิบตั งิ าน 7 การจดั เก็บและบ ารงุ รกั ษาอุปกรณ์เคร่ืองมือ 8 การท าความสะอาดสถานท รวม รวมทั้งหมด (.............................................................) ผ้ปู ระเมนิ หมายเหตุ เกณฑก์ ารประเมิน 17 – 24 คะแนน = ดมี าก 13 – 16 คะแนน = ดี 9 – 12 คะแนน = พอใช้ 0 – 8 คะแนน = ปรับปรุง

64 ใบงานท่ี 3 รหสั วชิ า 20101-2101 ชือ่ วชิ า งานเคร่ืองยนตเ์ ล็ก ชื่อหน่วย ความปลอดภัยในการทำงานและการใช้เครื่องมือ หัวข้อเรื่อง/งาน การใช้เครื่องมอื วดั เวลา 7 ช่วั โมง ------------------------------ จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม 1. ปฏิบตั งิ านเครอื่ งมือในงานเครอ่ื งยนตเ์ ล็ก 1.1 ใชเ้ ครอ่ื งมือวัดช้ินส่วนได้อยา่ งถูกต้องตามลักษณะช้นิ งาน สมรรถนะ 1. แสดงความรูเ้ กย่ี วกับการใช้เครอ่ื งมือวดั ช้นิ สว่ นไดต้ ามคู่มือ 2. เลือกใช้เคร่ืองมือวัดชนิ้ สว่ นอย่างถกู ต้องตามประเภทของงาน ครภุ ณั ฑ์ / เครอื่ งมอื / วัสดุฝกึ / อปุ กรณ์ 1. เคร่ืองยนต์เลก็ แกส๊ โซลีน, เคร่อื งยนตเ์ ล็กดีเซล 2. เวอรเ์ นียรคารลปิ เปอร์ 3. ไมโครมเิ ตอร์ 4. เกจวัดกระบอกสบู 5. ไดอัลเกจ 6. ฟลิ เลอรเ์ กจ 7. มลั ตมิ ิเตอร์ ลำดับขนั้ ตอนในการปฏิบัติงาน คำสง่ั ให้นักเรียนฝึกปฏบิ ัตกิ ารใชง้ านเครอื่ งมอื แต่ละชนิดใหถ้ ูกต้อง 1. เตรียมเครอื่ งมือ-วัสดุและอปุ กรณ์ 2. การใชเ้ วอรเ์ นียคารล์ ิปเปอร์ วัด ช้ินสว่ นเครอื่ งยนต์แล้วอา่ นค่า รูปที่ 1 แสดงการใช้เวอรเ์ นียคาร์ลปิ เปอร์

65 3. การใชไ้ มโครมิเตอร์ วัดชิน้ สว่ น เคร่อื งยนตแ์ ลว้ อ่านค่า รูปท่ี 2 แสดงการใช้ไมโครมิเตอร์ 4. การใช้เกจวดั ความโตกระบอกสูบ A : เกจวคั วามโตของกระบอกสบู B : เส้อื สบู รูปท่ี 3 แสดงการใช้เกจวดั ความโตกระบอกสูบ 5. การใช้ไดอลั เกจ A : ไดอลั เกจ B : เพลาข้อเหว่ยี งและกา้ นสูบ รปู ท่ี 4 แสดงการใช้ไดอลั เกจ 6. การใชฟ้ ิลเลอร์เกจ วดั ความโก่งของ เส้อื สบู รูปที่ 5 แสดงการใช้ฟิลเลอร์เกจ

66 7. การใชม้ ลั ตมิ เิ ตอร์ วดั ค่าความ ตา้ นทานอุปกรณท์ างไฟฟ้า เชน่ คอยล์ จุดระเบดิ รูปท่ี 6 แสดงการใช้มัลติมเิ ตอร์ 8. เกบ็ ทำความสะอาดเคร่ืองมือ-อุปกรณ์ และ พ้นื ท่ีปฏิบัติงาน

67 แบบวิเคราะห์ การประเมินผลตามสภาพจรงิ หนว่ ยท่.ี ..................ชือ่ หน่วย................................................................ชื่อเรอ่ื ง ........................... ลำดบั หัวข้อที่ประเมิน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน 1 การเตรยี มเคร่ืองมือ วัสดุ อุปกรณ์อย่างครบถ้วน 3 = ปฏิบตั ิอยา่ งสม่ำเสมอโดยไมต่ ้องมีการ 2 การเลือกใช้อุปกรณ์เครื่องมือทีเ่ หมาะสมกับงาน ชี้นำหรอื ตักเตือน 3 ลำดับขั้นตอนในการปฏิบตั ิงาน 2 = ปฏบิ ตั ิงานในบางครง้ั จากการเชญิ ชวน 4 การตรวจสอบช้นิ งานอยา่ งถูกวิธี ตักเตอื น หรือช้ีนำ 5 ความปลอดภยั ในการปฏิบตั ิงาน 1 = ว่ากลา่ วหรือตักเตอื นถงึ จะ ปฏิบัตหิ รือ 6 ระยะเวลาในการปฏิบตั งิ าน มกั จะปฏิบัติในทางท่ผี ดิ ในบางคร้ัง 7 การจัดเกบ็ และบำรุงรักษาอปุ กรณเ์ คร่ืองมือ 0 = บงั คบั ว่ากลา่ วหรือตักเตือน และ 8 การทำความสะอาดสถานที่ ปฏิบัติ ในทางทีผ่ ิดทุกครง้ั

68 แบบตรวจผลงาน รหัส.....20101-2101........วิชา งานเคร่ืองยนตเ์ ล็ก หนว่ ยที่.........................ชอ่ื หนว่ ย.........................................................ชอ่ื เรอื่ ง ....................................... วันท.่ี ...........เดือน............................พ.ศ................ เวลา................น. ถงึ เวลา................น. ช่ือ – นามสกลุ นักเรียน หรือ กลุ่มนกั เรยี น..........................................ชน้ั ...................แผนก................ ข้อท่ี รายการประเมนิ /หัวข้อประเมิน ระดบั คะแนน 3210 1 การเตรยี มเคร่ืองมือ วัสดุ อุปกรณ์อย่างครบถ้วน 2 การเลือกใชอ้ ุปกรณเ์ ครื่องมือทเ่ี หมาะสมกบั งาน 3 ล าดับขั้นตอนในการปฏิบตั ิงาน 4 การตรวจสอบช้ินงานอย่างถูกวธิ ี 5 ความปลอดภยั ในการปฏบิ ตั ิงาน 6 ระยะเวลาในการปฏิบตั งิ าน 7 การจดั เก็บและบ ารงุ รกั ษาอุปกรณ์เครื่องมือ 8 การท าความสะอาดสถานท รวม รวมทั้งหมด (.............................................................) ผูป้ ระเมนิ หมายเหตุ เกณฑก์ ารประเมิน 17 – 24 คะแนน = ดมี าก 13 – 16 คะแนน = ดี 9 – 12 คะแนน = พอใช้ 0 – 8 คะแนน = ปรับปรุง