Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore AD140E26-D213-4B2D-B36C-503BE1C0AA8D

AD140E26-D213-4B2D-B36C-503BE1C0AA8D

Published by Guset User, 2022-06-27 13:04:31

Description: AD140E26-D213-4B2D-B36C-503BE1C0AA8D

Search

Read the Text Version

๔๗ เหี้ยมนั้น เหตุนั้น อนัตถื ไม่เป็นประโยชน์ อนุกรม ตามลำดับ อภิเผ้า ผู้เป็นใหญ่ อาคม มา มาถึง อุปเฉทไมตรี ตัดไมตรี อุรส โอรส ลูกชาย อุฬุมป์เวฬุ แพไม้ไผ่ เอาชูร เอาใจใส่เป็นธุระ เอาภาร รับภาระ รับผิดชอบ อนาวรณญาณ ความรู้อื่นไม่มีสิงใดเป็นเครื่องชัดข้อง

๔๘ คุณค่าของวรรณคดี คุณค่าด้านวรรณศิลป์ -แต่งเป็นคำประพันธ์ประเภทฉันท์ โดยใช้ฉันท์ชนิดต่างๆ ถึง ๑๘ ชนิด โดยลีลาของฉันท์แต่ละชนิดที่นำมาแต่งนั้นล้วนแต่เหมาะสมกับ เนื้อเรื่องเป็นอย่างยิ่ง เช่น ตอนที่บรรยายเนื้อเรื่องถึงการดำเนินอุบาย ของวัสสการพราหมณ์ ซึ่งมีความหมายว่า ฉันท์ที่มีลีลาประดุจการคืบ คล้ายของพระพยานาค เป็นฉันท์ทีมีจังหวะจะโคนที่สม่ำเสมอ เสมือนมี การเคลื่อนไหวที่ฟังนุ่มนวล เหมาะแก่การบรรยายเรื่อง ส่วนฉันท์อื่น ที่ นำมาใช้สลับกันไปแต่ละฉันท์นั้นล้วนแล้วแต่ไพเราะและเหมาะสมทั้งสิ้น -อุปมาโวหาร เช่น กุมารลิยฉวีขัตติย์ ก็รับอรรถอออือ กสิกเขากระทําคือ ประดุจคําพระอาจารย์ ก็เท่านั้นธเชิญให้ นิวัตในมิช้านาน ประสิทธิศิลป์ประศาสน์สา รสมัยเลิกลุเวลา -การสรรคำ เป็นการเลือกใช้คำที่สื่อความคิดและอารมณ์ได้อย่าง งดงามการเลือกใช้คำโดยคำนึงถึงเสียง กวีได้ดัดแปลงฉันท์บางชนิด ให้มีความแตกต่างไปจากเดิม ทำให้มีความไพเราะมากขึ้น สามัคคีเภท คำฉันท์มีการใช้คำที่มีเสียงเสนาะ เช่น กุมารราชมิตรผอง ก็สอดคล้องเเละเเคลงดาล พิโรธกาจวิวาทการณ์ อุบัติขึ้นเพราะขุ่นเคือง พิพิธพันธไมตรี ประดามีนิรันดร์เนือง กะองค์นั้นพลันเปลือง มลายปลาตพินาสปรง

๔๙ คุณค่าด้านสังคม -สะท้อนภาพการปกครองโดยระบอบสามัคคีธรรม เน้นโทษของการ แตกความสามัคคี ในหมู่คณะ และเน้นถึงหลักธรรมริหานิยธรรม 7 ประการ ซึ่งเป็นหลักธรรมที่ส่งผล ให้เกิดความเจริญของหมู่คณะ ปราศจากความเสื่อม เช่นบทสาลินีฉันท์11 พราหมณ์ครูรู้สังเกต ตระหนักเหตุถนัดครัน ราชาวัชชีสรร พจักสู่พินาศสม ยินดีบัดนี้กิจ จะสัมฤทธิ์มนารมณ์ เริ่มมาด้วยปรากรม เเละอุตสาหเเห่งตน ให้ลองตีกลองนัด ประชุมขัตติย์มณฑล เชิญซึ่งส่ำสากล กษัตริย์สู่สภาคาร วัชชีภูมีผอง สดับกลองกระหึมขาน ทุกไท้ไปเอาภาร ณกิจเพื่อเสด็จไป ต่างทรงรับสั่งว่า จะเรียกหาประชุมไย เราใช่เป็นใหญ่ใจ ก็ขลาดกลัวบกล้าหาญ ท่านใดที่เป็นใหญ่ และกล้าใครมิเปรียบปาน พอใจใคร่ในการ ประชุมชอบก็เชิญเขา ปรึกษาหารือกัน ไฉนนั้นก็ทำเนา จักเรียกประชุมเรา บแลเห็นประโยชน์เลย รับสังผลักไสส่ง และทุกองค์ธเพิกเฉย ไป่ได้ไปดังเคย สมัครเข้าสมาคมฯ

๕๐ คุณค่าด้านเนื้อหา มีการใช้ฉันทลักษณ์ในการดำเดินเรื่องได้เหมาะสม กวีเลือกฉันท์ชนิดต่างๆ มาสลับใช้กะนอย่างเหมาะสมกับเนื้อเรื่องเเต่ละ ตอน เช่น ใช้วสันตดิลกฉันท์ ๑๔ ซึ่งมีลีลานุ่มนวลมาเเต่งบทชมต่างๆเพื่อ พรรณนาภาพอัดงดงาม เช่น สามยอดตลอดระยะระยับ วะวะวับสลับพรรณ ช่อฟ้าตระการกลจะหยัน จะเยาะยั่ว การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน -การขาดวิจารณญาณในการตริตรอง พิจารณาในสิ่งต่างๆ อาจนำ หายนะมาได้ เช่น กษัตริย์เมืองลิจฉวีเเห่งเเคว้นวัชชีถูกวัสสการพราหมณ์ ใช้อุบายยุเเหย่ ทำให้โกรธเคืองกัน พระเจ้าอชาตศัตรูจึงโจมตียึดครอง เเคว้นวัชชีสำเร็จ -ความสามัคคี ของคนในชาตินำมาซึ่งความมั่นคง เเม้มากผิกิ่งใบ ผิวใครจะใคร่ลอง มัดกำกระนั้นปอง พลหักก็เต็มทัน

๕๑ บรรณานุกรม ปิยะฤกษ์ บุญโกศล. “อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้ : https://krupiyarerkwordpress.com/ 2011 / 10 /02.๒๕๕๔.สืบค้น ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๖๕. ปิยะฤกษ์ บุญโกศล. “อินทรวิเชียรฉันท์ ๘” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:https://krupiyarerkwordpress.com /2011/ 08/02.๒๕๕๔.สืบค้น ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๖๕. Teat01. “ประวัติผู้เเต่ง นายชินบุรทัต”[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:https://steps.com/site/samakhikhchanth.๒๕๕๗. สืบค้น ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๖๕. Unknown.”กษัตริย์ลิจฉวีเเตกสามัคคี”[ออนไลน์].เข้าถึงได้ จาก:https://samakkeepeatchant.Glogap.com/2013/12.๒๕๕๖. สืบค้น ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๖


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook