โดย นางสาวณฐั สุดา จานงค์ฤทธ์ิ
เซลล์และส่วนประกอบ ของเซลล์ เมนู เซลล์ ( Cell ) โครงสรา้ งของเซลล์ ส่วนประกอบของเซลล์ สว่ นห่อหมุ้ เซลล์ ไซโตพลาซึม นวิ เคลียส ความแตกต่างระหว่างเซลลพ์ ืชและเซลลส์ ตั ว์
1 เซลล์ ( cell ) เซลล์ (Cells) คือ หน่วยท่ีเล็กท่ีสุดของส่ิงมีชีวิต ซ่ึงทาหน้าท่ีเป็น สว่ นประกอบในโครงสร้างตา่ งๆของ สง่ิ มีชีวิต ในปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์ ได้ค้นพบเซลล์ที่มีรูปร่างและหน้าท่ีต่างกันจานวนมาก แต่ในทุกๆเซลล์ จะมี โครงสร้างที่เป็นองค์ประกอบพ้ืนฐานเหมือนกัน คือ เย่ือหุ้มเซลล์ นิวเคลียส และไซโทพลาสซมึ เซลล์ของสง่ิ มชี วี ติ มสี ่วนประกอบท่เี ปน็ โครงสร้างพื้นฐานอยู่ 3 สว่ นใหญๆ่ เซลล์ สว่ นหอ่ หมุ้ เซลล์ ไซโตพลาซึม นวิ เคลยี ส เยอ่ื หุ้มเซลล์ ออรแ์ กเนลล์ เยื่อหมุ้ นวิ เคลียส ผนงั เซลล์ มีเยอื้ หุ้ม ไมม่ เี ยื้อห้มุ นิวคลโี อลสั โครมาทิน รา่ งแหเอ็นโดพลาสซมึ , กอลจิคอมเพลกซ์, ไรโบโซม, เซนตรโิ อล, ไมโครทูบล,ู ไมโตคอนเดรยี , คลอโรพลาส,์ ไลโซโซม, ไมโครฟลิ าเมนท์ แวควิ โอ
2 โครงสร้างและสว่ นประกอบของเซลลพ์ ชื โครงสร้างและส่วนประกอบของเซลลส์ ตั ว์
ส่วนประกอบของเซลล์ 3 (Cell component) 1 ส่วนทหี่ อ่ หุม้ เซลลล์ 1.1 ซยอ่ื หุม้ เซลลล์ (cell membrane) เยื่อหุ้มเซลล์ หรือบางคร้ังเรียกว่า พลาสมาเมมเบรน (Plasma membrane)เปน็ เย่อื บาง ๆ ประกอบดว้ ยสารประกอบสองชนิด คือ ไขมัน ชนิดฟอสโฟลิปดิ (Phospholipid) กับ โปรตนี เย่ือหุ้มเซลล์จะประกอบไป ด้วย ไขมัน เป็นส่วนใหญ่เรียงตัว 2 ชั้น โดยหันส่วนของฟอสเฟส หรือ ส่วนที่มีข้ัว (ชอบน้า) ออกด้านนอก และหันส่วนที่เป็นลิพิด หรือ ส่วนที่ไม่ มีขั้ว (ไม่ชอบน้า) เข้าด้านใน โดยใน ช้ันฟอสโฟลิพิด (พวกไขมัน) จะมี โปรตนี (Protein)และคลอเลสเทอรอล (Cholesterol) แทรกอย่ดู ้วย เยื่อหุ้มเซลล์มีหน้าที่ห่อหุ้มส่วนประกอบต่างๆ ภายในเซลล์ไว้ ทาให้แต่ละเซลล์แยกออก จากกัน และสามารถทาให้เซลล์คงรูปร่างอยู่ได้ นอกจากนี้ยังทาหน้าท่ีเป็นเย่ือเลือกผ่าน (Semipermeable membrane) ท่ยี อมใหส้ ารบางชนิดผ่านเข้าออกระหว่างเซลล์
1.2 ผนงั ซลลล์ 4 (Cell wall) ผนังเซลล์ (Cell wall) คือ ช้ันที่ล้อมรอบเยื่อหุ้มเซลล์ ทาหน้าที่เป็นตัวค้า จุนโครงสร้าง ปกป้องเซลล์ และกลไกคัดกรองสาร เป็นส่วนท่ีอยู่ภายนอก สุดของเซลล์ พบได้เฉพาะในพืช สาหร่าย รา และ แบคทีเรีย แต่ไม่พบใน สัตว์และโพรทิสต์ ผนังเซลล์ทาหน้าท่ีป้องกันและเพ่ิมความแข็งแรงให้แก่ เซลล์ ผนังเซลล์ ของพืชจะมีรูไว้แลกเปล่ียนสารระหว่างเซลล์พืชสองเซลล์ เรียกว่า พลาสโมเดสมาตา (Plasmodesmata) ซรอื่ งน่ารู้ สารเคลือบเซลล์ (Cell coat) เป็นสารที่เคลอื บเย่อื หุ้มเซลล์ไวอ้ ีกชั้นหน่ึง ทาหน้าท่ี เพ่ิม ความแขง็ แรง ลดการสูญเสียนา้ และทาใหเ้ ซลล์คงรูปอยู่ได้ ในสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกันจะมี สารเคลือบเซลล์ต่างกันไปด้วย เช่น ในเซลล์สัตว์จะเป็นพวกไกลโคโปรตีน ในเห็ด รา จะเปน็ พวกไคตนิ (Chitin) และในไดอะตอม จะเป็นพวกซิลิกา
2 5 ไลโตพลาลมึ เ เป็นสารกึ่งของเหลวอยู่ภายในของเซลล์ทั้งหมด เป็น ส่วนที่อยู่ภายในเย่ือหุ้ม เซลล์ท้ังหมด ทาหน้าท่ีเก่ียวข้องกับกระบวนการต่างๆ ภายในเซลล์ เช่น การ เจรญิ และ การดารงชวี ิตของเซลล์ ออร์แกซนลล์ (Organell) ซป็นองค์ประกอบทท่ี าหนา้ ทคี่ ลา้ ยอวยั วะของซลลล์ สามเารถ แบ่งออกได้ซป็นสองชนดิ ดงั ต่อไปน้ี มเี ย้อื หมุ้ 1. ไมเโตคอนซดรยี (Mitochondria) ออร์แกแนลล์ท่ีมีรูปร่างกลมรีคล้ายรูปไข่ โครงสร้างของไมโทคอนเดรียจะ มีเมมเบรนหุ้ม 2 ชั้น โดยชั้นนอกจะเรียงเรียบ แต่ช้ันในจะพับทบไปมาเข้า ด้านใน เรียกว่า คริสตี (Cristae)นอกจากนี้ภายในไมโทคอนเดรียมี ของเหลวซึ่งประกอบด้วยสารหลายชนิด เรียกว่า เมทริกซ์ (Matrix) โดย หน้าที่ของไมโทรคอนเดรียเปรียบว่าเป็นแหล่งพลังงานของเซลล์ เพราะ มี เอมไซม์ที่สาคัญที่ใช้ในกระบวนการหายใจระดับเซลล์ และยังมีการพบเอม ไซม์ท่ีทาหน้าที่เกี่ยวข้องกับการขนส่ง อิเลคตรอน บนคริสตีของเย่ือหุ้ม ช้นั ใน
2. ซอนโดพลาสมเกิ ซรตคิ ูลมัเ 6 (Endoplasmic reticulum) เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม หรือเรียกย่อๆว่า ER เป็นออร์แกแนลล์ท่ีมีผนังบาง 2 ช้ัน มีความหนาน้อยกว่าเย่ือหุ้มเซลล์ โครงสร้างเป็นระบบท่อเชื่อมประสานกัน นอกจากน้ีส่วนของท่อยังติดต่อกับเย่ือหุ้มเซลล์ เย่ือหุ้มนิวเคลียสและกอลจิบอดี อกี ด้วย สามารถแบ่งเอนโดพลาสมิกเรติคูลัมได้เปน็ 2 ชนดิ คือ เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมชนิดเรียบ (Smooth endoplasmic reticulum) หรือ SERเป็นชนิดที่ไม่มีไรโบโซมเกาะ พบมากในเซลล์ที่มีหน้าท่ีกาจัด สารพิษ และสรา้ งสารสเตอรอยด์ จึงพบใน เซลล์ทต่ี อ่ มหมวกไต เซลล์คอร์ ปัสลูเทียมในรังไข่ และในเซลล์ของตับ และยังทาหน้าที่ ลาเลียงสารต่างๆ เช่น RNA ไขมัน โปรตนี เนอ่ื งจากผนังของ ER ยอมให้สารประกอบโมเลกุล ใหญ่บางชนดิ รวมท้ัง ไขมนั เอนไซม์ และโปรตนี ผ่านเขา้ ออกได้ เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมชนิดขรุขระ (Rough endoplasmic reticulum) หรอื RER เป็นชนิดที่มไี รโบโซมมาเกาะ ทาหน้าท่ีในการสังเคราะห์โปรตีน ชนดิ ขรขุ ระ ชนิดเรยี บ
3. กอลจบิ อดี 7 (Golgi body) กอลจิบอดี หรือ กอลจิคอมเพลกซ์ หรือ กอลจิแอพพาราตัส เป็นออร์แกแนลล์ที่มี ลักษณะเป็นทุกแบนๆซ้อนกันเป็นช้ัน ทา หน้าท่ีเก็บสะสม สารท่ีเซลล์สร้างขึ้นก่อน จะปล่อยออกนอกเซลล์ ซ่ึงส่วนใหญ่มักจะ เป็นสารพวกโปรตีน นอกจากน้ีกอลจิบอดี ยัง ทาหน้าท่ีตัดแต่งโปรตีนให้มีสภาพที่ เหมาะสมกับการใชง้ านอกี ด้วย 4. ไลโลโลมเ (Lysosome) ออร์แกแนลล์ ที่มีเมมเบรนห่อหุ้ม เพียงชั้น เดียว ซ่งึ ไม่ยอมให้เอนไซม์ต่างๆ ผ่านออก แต่ เป็นเย่ือที่สลายตัว หรือร่ัวได้ง่าย ขณะที่มีการ เจริญเติบโต เย่ือหุ้มนี้มีความทนทาน ต่อ ปฏิกิริยาการย่อยของเอนไซม์ ที่อยู่ภายในได้ เป็นออร์แกแนลล์ท่ีพบเฉพาะในเซลล์สัตว์ เท่าน้ันภายในไลโซโซมยังประกอบไปด้วยเอม ไซม์หลายชนิดท่ีทาหน้าที่ในการย่อยสาร ตา่ งๆ เช่น หางของลูกอ๊อด เช้ือโรค หรือเซลล์ ทต่ี ายแลว้ เป็นต้น
5. แวควิ โอล 8 (Vacuole) แวคิวโอล เป็นช่องๆ ล้อมรอบด้วยเมมเบรนชนิดเยื่อยูนิตช้ันเดียว อยู่ ภายใน เซลล์ยูแคริโอต (eukaryotic cell) บางชนิด พบในเซลล์พืชส่วน ใหญแ่ ละสัตว์หลายชนดิ โดยแวคิวโอลในสัตว์ มักเล็กกว่าในพืช แวคิวโอล สามารถทาหนา้ ที่เป็นทเี่ ก็บ หล่งั และถา่ ยของเหลวภายในเซลล์ 6. คลอโรพลาสส์ (chloroplast) พบเฉพาะในเซลล์ที่มีสีเขียวของพืชและเซลล์ของโพรทิสต์บางชนิด เช่น สาหร่าย คลอโรพลาสต์ประกอบด้วยเย่ือหุ้ม 2 ชั้น ชั้นนอกทาหน้าท่ี ควบคุมชนิดและปริมาณของสารท่ีผ่านเข้าและออกจากคลอโรพลาสต์ ส่วนช้ันในจะมีลักษณะย่ืนเข้าไปภายในและมีการเรียงกันเป็นช้ันๆ อย่างมี ระเบียบ ภายในเยื่อหุ้มชั้นในจะมีโมเลกุลของสารสีเขียว เรียกว่า คลอโรฟลิ ล์ (chlorophyll) และมเี อนไซมท์ ีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั การสรา้ งอาหาร
ไม่มีเย้อื หุ้ม 9 1. ซลนทรโิอล (centriole) เป็นส่วนท่ีอยู่ใกล้นิวเคลียส พบในเซลล์สัตว์และโพรทิสต์บางชนิด มีขนาด เล็ก ใส มีรัศมีแผ่ออกมาโดยรอบมีรูปร่างคล้ายท่อทรงกระบอก ในแต่ละ เซลล์จะมีเซนทริโอล 2 อัน เรียงในลักษณะตั้งฉากกัน หน้าท่ีช่วยในการ เคลื่อนที่ของโครโมโซมในขณะท่ีมีการแบ่ง เซลล์ ช่วยในการเคล่ือนที่ของ เซลลบ์ างชนดิ 2. ไรโบโลมเ (Ribosome) เป็นออร์แกแนลล์ขนาดเล็กท่ีสุดไม่มีเย่ือหุ้ม รูปร่างเป็นก้อน ประกอบดว้ ยโปรตนี และ RNA สัดสว่ นเท่ากันโดยน้ าหนัก ประกอบด้วย หน่วยย่อยสองหน่วยคือ หน่วยย่อยขนาดเล็กและหน่วยย่อยขนาด ใหญ่ หน่วยย่อยทั้งสองชนิดของไรโบโซมอยู่แยกกัน และจะประกอบติดกัน ขณะทมี่ ีการสงั เคราะหโ์ ปรตนี
3. ไมเโครทูบูล 10 (Microtubule) ไมโครทบู ลู เปน็ ออรแ์ กเนลลท์ มี่ ีโครงสร้างลักษณะเป็นท่อกลวงขนาดยาว มีพบท้ัง ในไซโทพลาสซึม และ ในโครงสร้างอื่นๆ ของเซลล์ ประกอบด้วยโปรตีน \"ทูบูลิน (Tubolin)\"มีเส้นผ่าน ศูนย์กลาง 25 nm. ทาหน้าท่ีรักษารูปทรงและพยุงเซลล์ ช่วยในการเคลื่อนท่ี (Cilia& Flagella) เกี่ยวข้องกบั การแยกโครโมโซมในขณะเซลลแ์ บง่ ตัว 4. ไมเโครฟิลาซมเนต์ (Microfilament) ไมโครฟลิ าเมนต์มโี ครงสร้างเปน็ เส้นใยทึบ 2 สาย พันกันเป็นเกลียว ที่ มีลักษณะเป็นระบบท่อ เช่นเดียวกับไมโครทูบูลแต่มีขนาดเล็กกว่า ไมโครฟิลาเมนตม์ ีขนาดยาวและไม่แตกแขนง เส้นใยประกอบด้วย กลุ่ม ของโปรตีน ที่เรียกว่า \"แอคติน (Actin)\" หน้าที่ ค้าจุนและให้ความ แข็งแรง เกี่ยวขอ้ งกับกระบวนการไซโคลซิส (cyclosis)
3 11 นวิ ซคลยี ส มีรูปร่างค่อนข้างกลม มีเย่ือหุ้มนิวเคลียส เป็นส่วนที่แบ่งนิวเคลียสออกจาก ไซโทพลาซึม เซลล์ท่ัวไปมีนิวเคลียสเพียงหนึ่งนิวเคลียสภายในมีสารพันธุกรรมซ่ึง กาหนดลักษณะทางพันธุกรรมที่สามารถถ่ายทอดจากพ่อแม่ไปสู่ลูกได้ นิวเคลียสมี หน้าทคี่ วบคมุ การทางานและกิจกรรมต่างๆ ของเซลล์ เช่น การเจริญเติบโตของเซลล์ การสังเคราะห์สารภายในเซลล์ 1. นวิ คลโีอลสั (Nucleolus) นิวคลีโอลัสมีความสาคัญต่อการเจริญพัฒนาของเซลล์ หรือตัวอ่อนที่ ขาดส่วนน้ีไปจะทาให้ ชีวิตไม่ยืนยาว โปรตีนในนิวคลีโอลัสจะมีปริมาณ มากกว่า RNA อย่างมาก นิวคลีโอลัสมีหน้าที่ในการสังเคราะห์ RNA ชนิดต่างๆ และถูกนาออกทางรูของเยื่อหุ้มนิวเคลียส เพ่ือสร้างเป็น ไรโบโซมตอ่ ไป ดงั นั้นนิวคลีโอลัสจึงมีความสาคัญต่อการสร้างโปรตีน 2. โครมเาตนิ (Chromatin) เป็นเส้นใยเล็กๆ พันกันเป็นร่างแห เรียกว่า ประกอบด้วย โปรตีนหลายชนิด และ DNA เป็นที่อยู่ของยีนต่างๆ ของ เซลล์ ในขณะที่เซลล์กาลังแบ่งตัว ส่วน ของโครโมโซมจะหดสั้นเข้า และมีลักษณะ เป็นแท่งเและ โครโมโซมจะจาลองตัวเอง เป็นเส้นคู่ เรยี กวา่ โครมาทิด
12 ความแตกตา่ งของเซลล์พชื และเซลล์สตั ว์ โครงสร้างของเซลล์ เซลล์พชื เซลล์สัตว์ รูปรา่ ง เหล่ยี ม ผนงั เซลล์ กลมหรือรี เยอื่ ห้มุ เซลล์ ไซโทพลาซมึ เซนทรโิ อล ไลโซโซม แวควิ โอล ขนาดใหญ่ ไม่มีหรอื ขนาด คลอโรพลาสต์ เลก็ เซลลส์ ตั ว์ เซลลพ์ ชื
13 แหลง่ อา้ งองิ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยกระทรวงศึกษาธิการ. (2560). วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. (พมิ พค์ รัง้ ที่ 1). กรุงเทพฯ. ดนัย บณุ ยเกยี รติ. (2558). เซลลแ์ ละอวัยวะภายในเซลล์. สืบค้นเมือ่ 6 พฤษภาคม 2563. จากhttp://web.agri.cmu.ac.th/hort /course/359311/PPHY01_cell.htm. อารยี า วชิรเมธีกลุ . (2557). ความหมายและชนิดของเซลล์. สบื คน้ เม่อื 6 พฤษภาคม 2563. จาก https://sites.google.com/site/cell941 tu78/neuxha. เอกสารประกอบการเรยี นรายวชิ าชีววิทยาในระดับเรยี น. (2561). มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.
Search
Read the Text Version
- 1 - 16
Pages: