ก แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2
คานา แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ดาเนนิ การภายใตโ้ ครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล ในสถานศึกษาและสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ และยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต ระยะที่ 3(พ.ศ. 2560-2564) โดยเป็นไปตามแนวทางการจัดทางบประมาณในลักษณะบูรณาการ เชิงยุทธศาสตร์ ประเด็นการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ภายใต้แนวทางหลัก 3 แนวทาง ประกอบด้วย 1) สร้างจิตสานึก และปลูกฝังความซ่ือสัตย์สุจริต 2) สรา้ งกลไกปอ้ งกนั การทจุ รติ และ 3) เสรมิ สร้างประสิทธภิ าพในการปราบปรามการทจุ ริต แผนปฏบิ ัตกิ ารป้องกันการทจุ รติ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 ประกอบด้วยสาระสาคัญ คือ ส่วนท่ี 1 บทนา นาเสนอความเป็นมาการป้องกัน การทุจริต บทวิเคราะห์สถานการณ์ทุจริต ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสการดาเนินงานของ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา (ITA) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ส่วนท่ี 2 บริบทท่ีเกี่ยวข้อง ได้แก่ ยุทธศาสตรช์ าติ นโยบาย และคาสัง่ ทีเ่ กีย่ วข้อง สว่ นท่ี 3 แผนปฏบิ ตั ิการป้องกันการทจุ รติ สานักงานเขตพ้ืนที่ การศกึ ษา ประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 แสดงรายละเอียดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ของแผนปฏิบัติการฯ ดังกล่าว ความเช่ือมโยงของการจัดทาแผน และข้อมูลช่ือโครงการ ตวั ชว้ี ัดและคา่ เป้าหมาย และงบประมาณ ขอขอบพระคณุ หนว่ ยงานและผมู้ ีส่วนเกี่ยวข้องทใ่ี หค้ วามร่วมมือในการจัดทาแผนปฏิบัติการป้องกัน การทุจริต สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จนสาเร็จ เพ่ือเป็นกรอบทิศทางในการดาเนินการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ท่ีสอดคล้องกับ ยุทธศาสตรช์ าติและนโยบายสาคัญ อนั จะส่งผลใหก้ ารทจุ ริตในการปฏบิ ตั ริ าชการลดน้อยลง สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 2 ก แผนปฏิบัติการปอ้ งกนั การทุจริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2
สารบญั หน้า คานา................................................................................................................................ ก สารบัญ ............................................................................................................................ ข ส่วนท่ี 1 บทนา ............................................................................................................... 1 ความเป็นมา ........................................................................................................ 1 ข้อมลู ของสานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษา............................................................... 3 การวเิ คราะห์ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงาน ของสานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาออนไลน์ (Integrity and Transparency Assessment Online : ITA Online) ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ............ 9 การนาผลการประเมนิ ITA ไปสกู่ ารปรบั ปรงุ แกไ้ ขการดาเนนิ งาน ...................... 12 แนวทางการจดั ทาแผนปฏิบตั ิการปอ้ งกนั การทจุ ริต สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา ประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564............................. 13 สว่ นท่ี 2 บริบทท่ีเก่ยี วข้อง............................................................................................... 14 รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2560........................................ 14 ยุทธศาสตรช์ าตริ ะยะ 20 ปี................................................................................. 15 แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ ประเด็น การตอ่ ตา้ นการทุจริตและ ประพฤติมิชอบ.................................................................................................... 17 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564)............. 24 โมเดลประเทศไทยส่คู วามม่ันคง มง่ั ค่ัง และยัง่ ยนื (Thailand 4.0)..................... 25 ยุทธศาสตร์ชาตวิ ่าดว้ ยการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจริต ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560-2564) ............................................................................................... 26 นโยบายรฐั บาล พลเอก ประยุทธ์ จนั ทรโ์ อชา ทแ่ี ถลงตอ่ สภานิตบิ ญั ญัติแห่งชาติ… 38 นโยบายรฐั มนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ (นายณฏั ฐพล ทีปสวุ รรณ)................ 38 ข แผนปฏิบตั ิการป้องกนั การทุจริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2
สารบญั (ต่อ) หน้า ส่วนท่ี 3 แผนปฏิบัติการปอ้ งกันการทุจรติ ของสานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา ..................... 39 โครงการเสรมิ สรา้ งคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในสถานศึกษา และสานักงานเขตพืน้ ทศ่ี กึ ษา .............................................................................. 39 แผนปฏิบัติการป้องกันการทจุ รติ ของสานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษา ราชบรุ ี เขต 2 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564.................................................. 41 แบบสรุปโครงการ/กจิ กรรม ................................................................................ 50 ค แผนปฏิบตั ิการป้องกันการทจุ ริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2
สว่ นที่ 1 บทนา ความเป็นมา การทุจริตในสังคมไทยระหว่างช่วงเวลากว่าทศวรรษ ส่งผลเสียต่อประเทศอย่างมหาศาลและ เป็นอุปสรรคสาคญั ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การเมอื ง ในทกุ มติ ิ รูปแบบการทจุ ริตจากเดิมที่เป็นทุจริต ทางตรงไมซ่ ับซอ้ น อาทิ การรับสินบน การจัดซ้ือจัดจ้าง ในปัจจุบันได้ปรับเปล่ียนเป็นการทุจริตท่ีซับซ้อน มากขึ้นตัวอยา่ งเช่น การทุจริตเชงิ นโยบาย การทุจริตข้ามแดนข้ามชาติ ซ่ึงเช่ือมโยงไปสู่อาชญากรรมอื่น ๆ มากมายและสง่ ผลกระทบทางลบในวงกว้าง ปัจจุบัน ทุกภาคส่วนในสังคมมีความตื่นตัวและเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ตามบทบาทและภาระหน้าที่ของตนเองเพ่ิมมากขึ้น อย่างไรก็ตาม การรับรู้การทุจริตของประเทศไทย ยังจาเป็นต้องได้รับการพัฒนา อันสะท้อนได้จากดัชนีการรับรู้การทุจริตของประเทศไทยจากข้อมูลดัชนี วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชัน (Corruption Perceptions Index: CPI) ปี 2563 ประเทศไทยได้ 36 คะแนน โดยมีคะแนนเท่ากับ ปี 2562 โดยในปีน้จี ัดอยใู่ นอนั ดบั ที่ 104 ของโลก จากจานวนทั้งหมด 180 ประเทศทั่วโลก แสดงให้เห็นว่าประเทศไทย ยังมีการทุจริตคอร์รัปชันอยู่ในระดับสูง และสมควรได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน ซึ่งแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ ได้กาหนดเป้าหมาย หลักเพ่ือให้ภาครัฐมีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ ผ่านการพัฒนาคนและการพัฒนาระบบ เพ่ือป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ โดยให้ความสาคัญกับการปรับและหล่อหลอมพฤติกรรม “คน” ทกุ กลุม่ ในสงั คมใหม้ ีจิตสานึกและพฤติกรรมยึดมั่นในความซื่อสัตย์สุจริต และการส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรม ในการ ตอ่ ต้านการทจุ ริตในหน่วยงานภาครัฐ ท่ีเหมาะสมกับบริบท สภาพปัญหา และพลวัตการทุจริตของแต่ละ หน่วยงาน รวมท้ังการเพ่ิมประสิทธิภาพการดาเนินงานของกระบวนการและกลไกที่เกี่ยวข้องในการปราบปราม การทุจริต ประกอบกับยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (2560 – 2564) โดยกาหนดวิสัยทัศน์ว่า“ประเทศไทยใสสะอาด ไทยทั้งชาติต้านทุจริต” (Zero Tolerance & Clean Thailand) และกาหนดพนั ธกจิ “สร้างวฒั นธรรมต่อต้านการทุจริต ยกระดับธรรมาภิบาลในการบริหาร จัดการทุกภาคส่วนแบบบูรณาการและปฏิรูปกระบวนการป้องกันและปราบปรามการทุจริตทั้งระบบ ให้มีมาตรฐานสากล” พร้อมทั้งกาหนดเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ว่า “ระดับคะแนนของดัชนีการรับรู้ การทุจริต (Corruption Perceptions Index: CPI) สูงกว่าร้อยละ 50” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสังคม ท่มี พี ฤติกรรมร่วมต้านการทุจริตในวงกว้าง และมีปัจจัยความสาเร็จในการบรรลุวัตถุประสงค์ คือ ทุกภาค ส่วนร่วมส่งเสริมการกล่อมเกลาทางสังคมและส่งเสริมการเรียนรู้ในทุกช่วงวัยตั้งแต่ปฐมวัย รวมถึงผนึกกาลัง และความร่วมมือทุกภาคส่วนในการเปลี่ยนสภาพแวดล้อมท่ีนาไปสู่สังคมที่มีค่านิยมร่วมต้านทุจริต และมีวัตถปุ ระสงคท์ ส่ี าคัญอีกประการหน่ึง คอื สรา้ งนวตั กรรมในการต่อต้านการทุจริต มีกลไกป้องกันการ ทุจริตและระบบบริหารจัดการ ตามหลักธรรมาภิบาล โดยมีปัจจัยความสาเร็จ คือมีกระบวนการทางาน ด้านป้องกันการทุจริตเปล่ียนแปลงสู่การทางานเชิงรุก สามารถป้องกันการทุจริตได้อย่างเท่าทัน และมีประสิทธิภาพมกี ารบรู ณาการการทางานระหว่างองคก์ รท่เี กี่ยวขอ้ งกับการป้องกันการทุจริตอย่างเป็น รูปธรรม โดยมีกลุ่มเป้าหมายหลัก คือ เด็กและเยาวชน ทั้งน้ี มีความเช่ือมโยงกับ ยุทธศาสตร์ท่ี 1 สร้าง สังคมท่ีไม่ทนต่อการทุจริต โดยดาเนินการผ่านกลยุทธ์การปรับฐานความคิดทุกช่วงวัย ต้ังแต่ปฐมวัย 1 แผนปฏิบตั ิการปอ้ งกนั การทุจริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2
ให้สามารถแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม และส่งเสริมให้มีระบบและ กระบวนการกล่อมเกลาทางสังคมเพ่ือต้านทุจริต พร้อมท้ังเสริมพลังการมีส่วนร่วมของพลเมือง (Civic Participation) และบูรณาการทุกภาคส่วนเพื่อต่อต้านการทุจริต และมีความเช่ือมโยงกับ ยุทธศาสตร์ ที่ 4 พัฒนาระบบป้องกันการทุจริตเชิงรุก โดยดาเนินการผ่านกลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศเพ่ือลดปัญหาการทุจริต อีกท้ังพฒั นา วิเคราะห์และบูรณาการระบบการประเมินด้านคุณธรรมและ ความโปร่งใส ในการดาเนินงานของหน่วยงาน เพื่อเชื่อมโยงกับแนวทางการยกระดับคะแนนดัชนีการรับรู้เร่ือง การทุจรติ (Corruption Perceptions Index : CPI) ของประเทศไทย นอกจากน้ี ทิศทางการพัฒนายุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 ยงั มีความสอดคลอ้ งกับทิศทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) ยุทธศาสตรท์ ่ี 6 ด้านการเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพและธรรมาภบิ าลในภาครฐั ซ่ึงแผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 12 ได้จัดทาขึ้น บนพน้ื ฐานของยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ถือเป็นแผนแม่บทหลักของการพัฒนาประเทศ และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) รวมท้ังการปรับโครงสร้าง ประเทศไทยไปสู่ประเทศไทย 4.0 โดยกาหนดประเด็นการพัฒนา พร้อมทั้ง แผนงาน/โครงการสาคัญ ทีต่ อ้ งดาเนนิ การให้เห็นผลเปน็ รูปธรรมในชว่ ง 5 ปแี รกของการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ชาติ เพ่ือเตรียมความพร้อม ของคน สังคม และระบบเศรษฐกิจของประเทศให้สามารถปรับตัวรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง ได้อย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การปลูกฝัง “คนไทยไม่โกง” และยุทธศาสตร์การป้องกัน ด้วยการเสริมสรา้ งสงั คมธรรมาภบิ าล ของยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี อกี ด้วย สานักงาน ป.ป.ช. ร่วมกับสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานได้กาหนดแนวทางการ จดั ทาแผนปฏบิ ตั ิการป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ เพ่ือให้ส่วนราชการและหน่วยงานภาครัฐแปลง แนวทางและมาตรการตามยทุ ธศาสตร์ชาติฯ ไปสู่การปฏิบัติโดยกาหนดไว้ในแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และ แผนปฏิบัติราชการประจาปี โดยให้ยึดกรอบยุทธศาสตร์หลักที่ใช้ในการจัดทาแผนปฏิบัติการป้องกันการ ทุจริตและประพฤติมิชอบให้คานึงถึงความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ยุทธศาสตรช์ าติ ว่าดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจริต ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) และแผน แมบ่ ทบรู ณาการป้องกนั และปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ จึงนามาสู่การจัดทาแผนปฏิบัติการ ป้องกันการทุจริต สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ฉบับนี้ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 จึงได้จัดทาแผนปฏิบัติการป้องกันการ ทุจรติ สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เพื่อเป็น กร อบทิศทางในก ารดาเนิน การป้อ งกั นและ ปร าบ ปรามก าร ทุจริตท่ี สอ ดคล้อ งกั บยุทธศาสตร์ ชาติและ นโยบายสาคัญ อันจะส่งผลให้การทุจริตในการปฏิบัติราชการของทุกส่วนราชการ สังกัด กระทรวงศึกษาธกิ ารลดน้อยลง 2 แผนปฏิบตั ิการปอ้ งกันการทุจริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2
ขอ้ มลู ของสานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2 สภาพท่ัวไป ท่ตี ั้งและอาณาเขต สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ตั้งอยู่เลขท่ี 56 หมู่ที่ 4 ถนนโพธาราม–บ้าน เลือก ตาบลบ้านเลือก อาเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรีมีพื้นที่ครอบคลุม 4 อาเภอ ประกอบด้วย อาเภอบ้านโป่ง อาเภอโพธาราม อาเภอดาเนินสะดวก และอาเภอบางแพ พื้นที่ทั้งหมดประมาณ 1,756.11 ตารางกโิ ลเมตร ประกอบดว้ ย 54 ตาบล 477 หมู่บา้ น มอี าณาเขตติดต่อกบั จงั หวดั ใกล้เคยี ง ดงั น้ี ทศิ เหนือ ติดต่อกับอาเภอกาแพงแสน อาเภอเมืองนครปฐม จงั หวดั นครปฐม ทิศใต้ ติดต่อกับอาเภอเมืองราชบุรี จงั หวดั ราชบุรี อาเภอบางคนที จังหวดั สมทุ รสงคราม ทศิ ตะวันออก ตดิ ตอ่ กับอาเภอบา้ นแพ้ว จงั หวัดสมทุ รสาคร อาเภอเมอื งนครปฐม จงั หวัดนครปฐม ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ตอ่ กบั อาเภอจอมบงึ จังหวดั ราชบุรี อาเภอท่ามว่ ง อาเภอท่ามะกา อาเภอเมอื งกาญจนบรุ ี จงั หวดั กาญจนบรุ ี ลกั ษณะภมู ิประเทศ เป็นเขตท่ีมีพ้ืนที่เป็นทั้งที่ราบลุ่ม เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยและทามาหากินของประชาชนและมี บาง พื้นท่ีเป็นภูเขา ป่าไม้ ซ่ึงมีประชาชนอาศัยอยู่น้อย โดยส่วนใหญ่ลักษณะพื้นที่ท่ัวไปเป็นที่ราบลุ่มอุดม สมบรู ณ์ เนื่องจากมแี ม่น้าแม่กลองไหลผ่าน ความสูงประมาณ 1 - 20 เมตร เหนือระดับน้าทะเลปานกลาง สาหรับพื้นท่ีมีประชากรอยู่หนาแน่น จะอยู่ฝั่งตะวันตกของแม่น้า การคมนาคมสะดวก และมีความพร้อม ดา้ นสาธารณปู โภค ส่วนฝ่งั ตะวันออกประชากรสว่ นใหญป่ ระกอบอาชพี เกษตรกรรม ลักษณะภูมิอากาศไม่ร้อนจัดและไม่หนาวจัด อุณหภูมิเฉลี่ย 28.7 องศาเซลเซียส ฤดูร้อนเร่ิมต้น ตัง้ แตเ่ ดือนกุมภาพันธ์ถงึ เดือนเมษายน ฤดฝู นเร่ิมต้ังแต่เดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม ฤดูหนาวเร่ิมตั้งแต่ เดอื นพฤศจกิ ายนถงึ เดอื นมกราคม ในฤดฝู นจะมฝี นตกชกุ ในเดือนกันยายน การคมนาคม มเี ส้นทางคมนาคมได้ 3 ทาง คือ 1. ทางเรือ ใช้ในท้องท่ีติดแม่นา้ แม่กลอง 2. ทางรถยนต์ 3. ทางรถไฟ แหล่งวัฒนธรรม/แหล่งเรียนรู้ ศิลปวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณี มีหลากหลายเชื้อชาติ และยังคงธารงรักษาไว้ เช่น ประเพณีสงกรานต์ชาวไทยรามัญวัดคงคาราม ประเพณีสงกรานต์ชาวไทยรามัญตาบลดอนกระเบ้ือง พิธี เสนเรอื น พิธีตรุษจนี สารทจีน ประเพณีแห่องค์เจา้ แม่ทับทิมและลุยไฟ ประเพณีทิง้ กระจาด (ซิวโก) สาหรับ แหลง่ เรียนรทู้ ่ีน่าสนใจมีมากมาย เช่น ณ สัทธา อุทยานไทย ถา้ ค้างคาวร้อยล้านวัดเขาชอ่ งพราน หนังใหญ่ วัดขนอน ตลาดน้าดาเนินสะดวก จิตรกรรมฝาผนังวัดคงคาราม บึงกระจับ ค่ายหลวงบ้านไร่ โบราณคดี บ้านดอนกระเบื้อง โครงการศึกษาวธิ กี ารฟ้ืนฟูท่ีดินเสื่อมโทรมเขาชะงุ้ม อันเนื่องมาจากพระราชดาริ และ วดั ขนุ สหี ์ (รบั น้า) เป็นตน้ 3 แผนปฏิบัติการป้องกนั การทุจริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2
ภาษา ภาษาสว่ นใหญ่ใชภ้ าษาไทยและภาษาอ่ืน ๆ เลก็ นอ้ ย เชน่ ลาว มอญ จีน ศาสนา ประชาชนสว่ นใหญน่ ับถอื ศาสนาพุทธ และมีนบั ถอื ศาสนาครสิ ต์ เลก็ น้อย แผนทจ่ี งั หวดั ราชบุรี ข้อมลู ทางการศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 มีหน่วยงานบุคลากรและนักเรียน ในความรบั ผิดชอบ ครอบคลมุ พ้ืนที่ 4 อาเภอ ประกอบด้วยอาเภอบ้านโป่ง อาเภอโพธาราม อาเภอบางแพ และอาเภอดาเนนิ สะดวกดังน้ี ตารางท่ี 1 จานวนสถานศกึ ษาจาแนกตามอาเภอ อาเภอ โรงเรียน ผบู้ รหิ าร ครู/ครผู ชู้ ว่ ย พนกั งาน นกั เรยี น ครู:นักเรยี น ราชการ บ้านโป่ง 47 31 384 6,721 17.28 โพธาราม 51 47 413 5 7,404 17.71 ดาเนินสะดวก 25 21 258 5 5,123 19.55 บางแพ 24 14 133 4 2,664 19.73 147 113 1,188 2 21,921 18.21 รวม 16 ข้อมูล 18 ก.ค. 2563 4 แผนปฏิบัติการปอ้ งกันการทจุ ริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2
ตารางท่ี 2 จานวนสถานศกึ ษาในสงั กัดจาแนกตามขนาด จานวนสถานศกึ ษาจาแนกตามขนาด รวม อาเภอ 120 คนลงมา 121 - 600 คน 601 - 1,500 คน 1,500 คนขึน้ ไป บา้ นโป่ง 25 22 - - 47 โพธาราม 22 ดาเนินสะดวก ด 13 28 1 - 51 บางแพ 19 79 10 2 - 25 รวม 5- - 24 65 3 - 147 ข้อมูล 18 ก.ค. 2563 ตารางท่ี 4 จานวนนกั เรยี น จาแนกตามชัน้ เรยี นและเพศ ปีการศกึ ษา 2563 ระดบั ช้นั จานวนนักเรียน อนบุ าล1 ชาย หญงิ รวม อนุบาล 2 อนุบาล 3 253 194 447 1,082 รวมระดับกอ่ นประถม 1,160 1,014 2,096 ประถมศึกษาปที ี่ 1 ประถมศึกษาปีที่ 2 2,495 1,107 2,267 ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ประถมศึกษาปที ี่ 4 1,265 2,315 4,810 ประถมศึกษาปที ี่ 5 1,317 ประถมศึกษาปที ี่ 6 1,296 1,160 2,425 1,197 รวมระดบั ประถมศกึ ษา 1,285 1,202 2,519 มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 1,318 มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 1,167 2,463 มธั ยมศึกษาปีที่ 3 7,678 1,151 2,348 รวมระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 466 รวมทั้งสนิ้ 467 1,174 2,459 428 1,361 1,240 2,558 11,534 7,094 14,772 290 756 354 821 325 753 969 2,330 10,378 21,912 ข้อมูล 18 ก.ค. 2563 5 แผนปฏิบัติการปอ้ งกนั การทจุ ริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2
ตารางท่ี 5 จานวนขา้ ราชการครูและบุคลากรตามโครงสร้างทปี่ ฏบิ ัตงิ าน ในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 2 จานวนตามกลุม่ และระดบั การศกึ ษา ข้าราชการครแู ละบคุ ลากร ทางการศึกษา ระดับการศึกษา ท่ีปฏบิ ตั ิงานใน สพป.รบ.2 กลุม่ ตามโครงสร้าง ตามมาตรา ตามมาตรา ตา่ 1. ผอ.สพท. 38 ข 38 ค รวม กวา่ ป.ตรี ป.โท ป.เอก รวม 2. รอง ผอ.สพท. 3. กลุม่ อานวยการ (3), (4) (1),(2) ป.ตรี 4. กลุม่ บริหารงานบุคคล 5. กลุ่มนโยบายและแผน - - ---- - - 6. กลุ่มส่งเสรมิ การจัดการศกึ ษา 7. กล่มุ นิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผล 3 - 3--3 - 3 การจดั การศกึ ษา 8. กลุ่มบริหารงานการเงนิ - 6 6-42 - 6 และสนิ ทรพั ย์ - 9 9-72 - 9 9. กลมุ่ สง่ เสริมการศึกษาทางไกล - 6 6-42 - 6 เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สอื่ สาร - 6 6132 - 6 10. กลุ่มพฒั นาบุคลากรทาง การศึกษา - 13 13 1 - 12 - 13 11. หน่วยตรวจสอบภายใน 12. กลุ่มกฎหมายและคดี - 8 826- - 8 รวม - 1 1-1- - 1 - 1 1-1- - 1 - 3 3-3- - 3 - ---- - - 3 53 56 4 29 23 56 ขอ้ มูลตาม จ. 18 ณ 18 ก.ค. 2563 6 แผนปฏิบัติการปอ้ งกนั การทุจริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2
ตารางท่ี 6 บุคลากรในสถานศกึ ษาสังกัด สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 2 เฉพาะมีตวั บุคลากรในสถานศึกษา จานวน ขา้ ราชการครู - ผ้อู านวยการโรงเรยี น 113 - ครูสายผสู้ อน 1,188 ลูกจ้างประจา 1 - ช่างปนู ระดับ ช.3 9 - ช่างปูน ระดบั ช.๔ 31 - ชา่ งไม้ ระดบั ช.4 1 - ชา่ งไม้ ระดับ ช.3 1 - ช่างสี ระดบั ช.4 2 - พนักงานธุรการ ระดับ 4 ลกู จา้ งช่ัวคราว 49 - ครูอตั ราจา้ งฯ 57 - อตั ราจ้างภารโรง 142 - อัตราจา้ งธุรการโรงเรียน 16 พนักงานราชการ (สายผู้สอน) 1,610 ข้อมูลตาม จ. 18 ณ 18 ก.ค. 2563 รวมบุคลากรในสถานศึกษา 7 แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2
แผนภูมโิ ครงสรา้ งการบริหารงาน สานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 8 แผนปฏิบัติการปอ้ งกนั การทุจริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2
การวเิ คราะห์ผลการประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงาน ของสานักงานเขต พ้ืนท่ีการศึกษาออนไลน์ (Integrity and Transparency Assessment Online: ITA Online) ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 2 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน นอกจากจะเป็นหน่วยงานระดับกรมที่รับการ ประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานจากสานักงาน ป.ป.ช. แล้ว ยังเป็นหน่วยงานท่ีนา เคร่ืองมือการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ไปขยายผลจนได้รับรางวลั ประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใสในการ ดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 (ITA Awards) ในฐานะหน่วยงานท่ีได้นา การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐไปขยายผลเพื่อพัฒนาและ ยกระดับคุณธรรมและความโปรง่ ใสในหน่วยงานจนประสบความสาเรจ็ โดยการประเมินคุณธรรมและความ โปร่งใสในการดาเนนิ งานของสานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา จานวน 225 เขต มาอยา่ งต่อเนือ่ ง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 – 2563 สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ได้พัฒนานวัตกรรม การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาในรูปแบบออนไลน์ โดยมีแนวคิดการพัฒนานวัตกรรมการประเมินด้วยระบบ ITA Online เพื่อความสะดวกในการจัดเก็บข้อมูล รวดเร็วในการวิเคราะห์และประมวลผล โปร่งใสตรวจสอบได้ด้วยระบบเวลาจริง (Real-time system) และการ ประเมินมีประสิทธิภาพ ลดภาระงานด้านเอกสาร (Paperless) ของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาที่รับการ ประเมินโดยปรบั ปรงุ ระบบการเก็บข้อมูลใหเ้ ปน็ แบบออนไลน์เตม็ รปู แบบ สาหรับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ซึ่งถือเป็นการดาเนินการมาอย่างต่อเน่ือง เข้าสู่ปีที่ 6 สานักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ได้ดาเนินการพัฒนาและออกแบบระบบการประเมินในคร้ังน้ีให้ง่ายต่อ การใช้งาน ลดความยงุ่ ยาก ซับซ้อนในการนาเข้าขอ้ มูล และคานงึ ถึงความสะดวกในการตอบคาถามแบบสารวจ ของผ้ทู ่เี กี่ยวขอ้ ง นอกจากน้ี ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของสานักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ยังถูกกาหนดเป็นตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุง ประสทิ ธิภาพในการปฏิบตั ิราชการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ตัวชี้วัดที่ 6.4 การกากับดูแลการ ทจุ ริต ในส่วนของการประเมนิ การกากบั ดแู ลการทุจริตของผบู้ รหิ ารองค์การอีกดว้ ย เ กณฑ์ กา รป ระเ มิ น คุณ ธ รรม แ ล ะค วา มโ ป ร่ ง ใ ส ใ น กา รด า เ นิ น ง า น ขอ งส า นั กง า น เ ข ตพ้ื น ท่ี การศกึ ษาออนไลน์ (Integrity and Transparency Assessment Online: ITA Online) เกณฑ์การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 นัน้ ไดใ้ ห้ความสาคญั ในการพฒั นาเกณฑ์การประเมินให้เกิดการสนับสนุน ต่อการยกระดับค่าคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index: CPI) ของประเทศ ไทยไดอ้ ยา่ งเป็นรปู ธรรมโดยไดศ้ กึ ษาข้อมูลจากผลการวิจัย เร่ือง แนวทางการปรับปรุงและแนวการพัฒนา เคร่ืองมือการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ เพ่ือนาไปสู่ การยกระดับคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริต (CPI) ของประเทศไทยให้สูงขึ้น ซ่ึงการวิจัยดังกล่าว ได้สังเคราะห์ประเด็นการสารวจของแต่ละแหล่งข้อมูลท่ีองค์กรความโปร่งใสนานาชาติ (Transparency International) นามาใช้ในการประเมินดัชนีการรับรู้การทุจริต ประกอบกับการศึกษาข้อมูลทางวิชาการ 9 แผนปฏิบัติการปอ้ งกนั การทจุ ริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2
เพิ่มเติม การเช่ือมโยงให้เกิดความต่อเนื่องกับเกณฑ์การประเมินเดิม และการเช่ือมโยงกับเคร่ืองมืออื่น ท่ีเกี่ยวข้อง ทาให้เกณฑ์การประเมินมีเนื้อหาครอบคลุมหลายด้าน ซ่ึงเกี่ยวข้องกับคุณธรรม ความโปร่งใส และการทุจรติ ทั้งท่ีมลี ักษณะการทจุ รติ ทางตรงและการทุจริตทางอ้อมรวมไปถึงบริบทแวดล้อมท่ีเก่ียวข้อง กับการทุจรติ ซ่ึงจะเปน็ ประโยชน์ต่อหน่วยงาน ในการนาไปสู่การปรับปรุงแก้ไข ลดโอกาสหรือความเสี่ยง ที่จะเกดิ การทจุ รติ ในหนว่ ยงานภาครฐั และส่งผลต่อการยกระดับคะแนน CPI ของประเทศไทยในระยะยาวได้ โดยจาแนกออกเปน็ 10 ตัวช้ีวดั ได้แก่ 1) การปฏบิ ัติหน้าท่ี 2) การใชง้ บประมาณ 3) การใชอ้ านาจ 4) การใชท้ รพั ย์สินของราชการ 5) การแกไ้ ขปญั หาการทจุ ริต 6) คุณภาพการดาเนนิ งาน 7) ประสทิ ธภิ าพการส่อื สาร 8) การปรบั ปรงุ ระบบการทางาน 9) การเปิดเผยข้อมลู 10) การปอ้ งกันการทจุ ริต เครื่องมือในการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของสานักงานเขตพ้ืนท่ี การศกึ ษา ออนไลน์ (Integrity and Transparency Assessment Online: ITA Online) เครือ่ งมือท่ีใช้ในการประเมนิ จาแนกออกเป็น 3 เคร่อื งมอื ดังนี้ 1) แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (Internal Integrity and Transparency Assessment: IIT) มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการประเมินระดับการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายในที่มีต่อ หนว่ ยงานตนเอง ในตวั ชว้ี ัดการปฏบิ ัติหน้าท่ี การใช้งบประมาณ การใช้อานาจ การใช้ทรัพย์สินของราชการ และการแกไ้ ขปัญหาการทจุ ริต 2) แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (External Integrity and Transparency Assessment: EIT) มีวัตถปุ ระสงคเ์ พือ่ เปน็ การประเมินระดบั การรับรูข้ องผู้มีสว่ นไดส้ ว่ นเสียภายนอกท่ีมีต่อ หน่วยงานที่ประเมินในตวั ช้ีวดั คุณภาพการดาเนินงาน ประสทิ ธิภาพการสื่อสาร และการปรับปรุงระบบการ ทางาน 3) แบบตรวจการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment: OIT) มวี ัตถุประสงค์เพ่ือเปน็ การประเมินระดับการเปดิ เผยขอ้ มลู ต่อสาธารณะของหน่วยงาน เพ่อื ให้ประชาชนทวั่ ไปสามารถเขา้ ถงึ ได้ ในตวั ชว้ี ดั การเปดิ เผยข้อมูล และการปอ้ งกนั การทจุ รติ ผลการประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงาน ของสานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา 1.1 ผลคะแนนการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดาเนินงานของสานักงานเขตพื้นที่ การศกึ ษา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ในภาพรวมระดับประเทศ จากการประเมินสานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาท้ังส้ิน 225 เขต ได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 85.20 ซึ่งถือว่ามีคุณธรรมและความโปร่งใสในการ ดาเนนิ งานอยใู่ น ระดบั A (Very Good) 10 แผนปฏิบัติการปอ้ งกนั การทุจริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2
1.2 ผลการประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดาเนนิ งาน ของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ได้คะแนน 83.60 ซึ่งถือว่ามีคุณธรรมและ ความโปร่งใสในการดาเนินงานอยู่ใน ระดับ B (Good) โดย ตัวชี้วัด การปฏิบัติหน้าที่ ได้คะแนนสูงสุด 94.27 คะแนน ส่วนตัวชี้วัดท่ีได้คะแนนต่ากว่าตัวชี้วัดอ่ืน ๆ คือ ตัวชี้วัด การป้องกันการทุจริต ได้คะแนน 75.00 คะแนน 1.3 ผลคะแนนการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของสานักงานเขตพื้นท่ี การศกึ ษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2 ทผี่ า่ นมา (พ.ศ. 2558 – 2563) สรปุ ได้ดังน้ี ปงี บประมาณ พ.ศ. ผลคะแนน ITA พฒั นาการ ผลตา่ งของคะแนน ITA 2558 48.92 - - 2559 82.38 2560 89.18 ลดลง -2.54 2561 84.60 เพิ่มขน้ึ +6.80 2562 85.14 ลดลง -4.58 2563 83.60 เพิ่มขึ้น +0.54 ลดลง -1.54 1.4 การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงาน ของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 เป็นรายตัวชี้วัด ซึ่งได้จากการสารวจความคิดเห็นของบุคลากรและเจ้าหน้าท่ี ที่ปฏิบัติงานในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ผู้รับบริการหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของสานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษา และจากเอกสารหลักฐานการเปิดเผยข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์ของสานักงานเขตพื้นท่ี การศึกษา เรียงตามลาดับคะแนนได้ ดังนี้ ตวั ชว้ี ัดที่ ประเดน็ ตัวชว้ี ดั คะแนน ระดบั หมายเหตุ 94.27 A ผา่ น 1 การปฏบิ ัติหนา้ ที่ 91.01 A ผา่ น 89.08 A ผ่าน 3 การใช้อานาจ 86.29 A ผา่ น 85.75 A ผ่าน 6 คุณภาพการดาเนนิ งาน 85.64 A ผา่ น 84.94 B ไมผ่ ่าน 4 การใช้ทรพั ย์สนิ ของราชการ 81.07 B ไม่ผา่ น 79.27 B ไม่ผ่าน 5 การแกไ้ ขปญั หาการทจุ ริต 75.00 B ไม่ผ่าน 9 การเปดิ เผยข้อมลู 2 การใช้งบประมาณ 7 ประสิทธภิ าพการส่อื สาร 8 การปรบั ปรุงระบบการทางาน 10 การปอ้ งกันการทจุ รติ หมายเหตุ : คะแนนและระดบั ผลการประเมิน 11 แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2
ระดบั คะแนน หมายเหตุ AA Excellence 95.00 – 100 ผ่าน A Very Good 85.00 – 94.99 ผ่าน B Good 75.00 – 84.99 ไมผ่ า่ น C Fair 65.00 – 74.99 ไม่ผ่าน D Poor 55.00 – 64.99 ไมผ่ ่าน E Extremely Poor 50.00 – 54.99 ไม่ผา่ น F Fail 0 – 49.99 ไม่ผา่ น การนาผลการประเมิน ITA ไปสกู่ ารปรบั ปรุงแกไ้ ขการดาเนินงาน จากผลการประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงาน ของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 เป็นรายตัวช้ีวัด พบว่าตัวช้ีวัดท่ีหน่วยงานควรมีการพัฒนาและยกระดับให้ดี ยิ่งข้ึน (มีคะแนนต่ากวา่ รอ้ ยละ 85) มีดังนี้ 2. การใช้งบประมาณ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา จะต้องจัดทาแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจาปี และเผยแพร่ อย่างโปร่งใส ใช้จ่ายงบประมาณของหน่วยงานอย่างคุ้มค่า เป็นไปตามวัตถุประสงค์ และไม่เอ้ือประโยชน์ แก่ตนเองหรือพวกพ้อง และต้องเปิดโอกาสให้บุคลากรภายในมีส่วนร่วมในการตรวจสอบ การใช้จ่าย งบประมาณของหนว่ ยงานตนเองได้ 7. ประสิทธิภาพการสอ่ื สาร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาจะต้องเผยแพร่ข้อมูลของหน่วยงานในเร่ืองต่าง ๆ ต่อสาธารณชน ผา่ นช่องทางท่ีหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และไม่ซับซ้อน โดยข้อมูลที่เผยแพร่ต้องถูกต้องครบถ้วน และเป็นปจั จบุ ัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลการดาเนินงานของหน่วยงานและข้อมูลท่ีสาธารณชนควรรับทราบ รวมถึงการจัดให้มีช่องทางให้ผู้รับบริการ ผู้มาติดต่อ หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สามารถส่งคาติชมหรือความ คิดเห็นเกี่ยวกับการดาเนินงาน/การให้บริการ และมีการชี้แจงในกรณีที่มีข้อกังวล สงสัยได้อย่างชัดเจน รวมถึงจัดให้มชี อ่ งทางให้ผู้มาติดต่อ สามารถร้องเรียนการทจุ ริตของเจา้ หน้าทใี่ นหนว่ ยงาน 8. การปรบั ปรงุ ระบบการทางาน สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาจะตอ้ งปรบั ปรงุ พัฒนาหนว่ ยงาน ทงั้ การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ีและ กระบวนการทางานของหนว่ ยงานใหด้ ีย่ิงขึ้น รวมไปถึงการนาเทคโนโลยีมาใช้ในการดาเนินงาน เพื่อให้เกิด ความสะดวกรวดเร็วมากยิ่งข้ึน โดยควรมีกระบวนการเปิดโอกาสให้ผู้รับบริการ หรือผู้มาติดต่อ เข้ามา มสี ่วนรว่ มในการปรับปรงุ พฒั นา การดาเนินงาน เพื่อให้สอดคลอ้ งกบั ความต้องการ และควรใหค้ วามสาคัญ กับการปรบั ปรุงการดาเนนิ งานใหม้ ีความโปร่งใสมากขนึ้ 10. การปอ้ งกันการทุจริต 1) สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาต้องจัดทาโครงการ/กิจกรรม ปีงบประมาณ พ.ศ. 256 4 ที่มีแนวทางสอดคล้องหรือสนับสนุนให้เกิดการพัฒนา และยกระดับคุณธรรมและความโปร่งใสของ สานักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษา 12 แผนปฏิบัติการปอ้ งกันการทจุ ริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2
2) สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาต้องดาเนินการเพ่ือป้องกันการทุจริต ได้แก่ เจตจานงสุจริต ของผู้บริหาร การประเมินความเส่ียงเพื่อการป้องกันการทุจริต การเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร และ แผนปฏบิ ัตกิ ารปอ้ งกนั การทุจริต 3) สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ต้องวิเคราะห์ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดาเนินงานของสานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาออนไลน์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 โดยวิเคราะห์ แต่ละตัวช้ีวัด ยกตัวอย่างเช่น ประเด็นที่เป็นข้อบกพร่องหรือจุดอ่อนตัวช้ีวัดท่ีจะต้องแก้ไขโดยเร่งด่วน ประเด็นทีจ่ ะต้องพัฒนาให้ดีข้ึน แนวทางการนาผลการวิเคราะห์ไปสู่การปฏิบัติของหน่วยงานให้สอดคล้อง กับตัวช้ีวดั เป็นตน้ 4) ดาเนินการทบทวนและจัดทามาตรการภายในเพ่ือป้องกันการทุจริต โดยกาหนดมาตรการ เพ่ือขับเคล่ือนการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงานให้ดีข้ึน ซึ่งสอดคล้องตามผล การวิเคราะห์ผลการประเมินฯ โดยมีรายละเอียดต่าง ๆ ยกตัวอย่างเช่น การกาหนดผู้รับผิดชอบหรื อ ผทู้ เ่ี กยี่ วขอ้ ง การกาหนดขั้นตอนหรอื วธิ ีการปฏบิ ัติ การกาหนดแนวทางการกากบั ติดตาม ให้นาไปสู่การปฏิบัติ และการรายงานผล เปน็ ต้น แนวทางการจัดทาแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 การจัดทาแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 มีแนวทางและขัน้ ตอนดังต่อไปนี้ 1. ทบทวนขอ้ มลู และบรบิ ททเ่ี กยี่ วข้อง 2. จัดทาแผนปฏบิ ัติการป้องกันการทุจริต สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยใช้กรอบแนวทางตามยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและ ปราบปรามการทจุ รติ ระยะที่ 3 และแผนงานบรู ณาการต่อตา้ นการทุจริตและประพฤติมชิ อบ 3. เสนอแผนปฏบิ ตั กิ ารป้องกันการทุจรติ สานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ต่อ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพื่อพิจารณาให้ความ เห็นชอบใหท้ ุกหน่วยงานถือปฏบิ ตั ิ 13 แผนปฏิบตั ิการป้องกนั การทจุ ริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2
ส่วนท่ี 2 บรบิ ททเ่ี ก่ยี วขอ้ ง สาหรับประเทศไทยได้กาหนดทิศทางการป้องกันและปราบปรามการทุจริตซ่ึงมีความสอดคล้องกับ สถานการณ์ทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และความรุนแรง รวมถึงการสร้างความตระหนัก ในการประพฤติปฏิบัติตนด้วยความซ่ือสัตย์สุจริตของคนในสังคม ท้ังน้ี สานักงาน ป.ป.ช. ในฐานะองค์กร หลกั ดา้ นการดาเนินงานป้องกันและปราบปรามการทุจริต รวมท้ังบูรณาการการทางานด้านการต่อต้านการทุจริต เข้ากับทุกภาคส่วนดังนั้น สาระสาคัญท่ีมีความเชื่อมโยงกับทิศทางการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ท่สี านกั งาน ป.ป.ช. มีดงั นี้ 1. รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2560 2. ยทุ ธศาสตรช์ าติระยะ 20 ปี 3. แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ ประเด็น การต่อตา้ นการทจุ ริตและประพฤตมิ ิชอบ 4. แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) 5. โมเดลประเทศไทยส่คู วามมนั่ คง มั่งคง่ั และยง่ั ยนื (Thailand 4.0) 6. ยทุ ธศาสตร์ชาตวิ า่ ด้วยการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ ริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) 7. นโยบายรัฐบาล พลเอก ประยทุ ธ์ จันทร์โอชา ทแี่ ถลงตอ่ สภานิติบญั ญตั แิ ห่งชาติ 8. นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (นายณัฏฐพล ทปี สวุ รรณ) สาระสาคัญทั้ง 8 ด้านจะเป็นเครื่องมือช้ีนาทิศทางการปฏิบัติงานและการบูรณาการด้านต่อต้าน การทุจริตของประเทศเพ่อื ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกนั รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2560 กาหนดในหมวดท่ี 4 หน้าที่ของประชาชน ชาวไทยว่า “...บุคคลมีหน้าที่ ไม่ร่วมมือหรือสนับสนุนการทุจริต และประพฤติมิชอบทุกรูปแบบ” ถือได้ว่า เป็นคร้ังแรกที่รัฐธรรมนูญได้กาหนดให้การป้องกันและปราบปรามการทุจริตเป็นหน้าท่ีของประชาชน ชาวไทยทกุ คน นอกจากนี้ยังกาหนดชัดเจนในหมวดท่ี 5 หน้าท่ีของรัฐว่า “รัฐต้องส่งเสริม สนับสนุน และให้ ความร้แู ก่ประชาชนถงึ อันตรายที่เกิดจากการทุจริตและประพฤติมิชอบทั้งภาครัฐและภาคเอกชนและจัดให้มี มาตรการและกลไก ท่มี ีประสิทธภิ าพเพอ่ื ปอ้ งกนั และขจดั การทจุ ริต และประพฤติมิชอบดังกล่าวอย่างเข้มงวด รวมทั้งกลไกในการส่งเสริมให้ประชาชนรวมตัวกัน เพื่อมีส่วนร่วมในการรณรงค์ให้ความรู้ต่อต้านการทุจริต หรือชี้เบาะแส โดยได้รับความคุ้มครองจากรัฐตามที่กฎหมายบัญญัติ” การบริหารราชการแผ่นดินรัฐ ต้องเสริมสร้างให้ประชาชนได้รับบริการที่สะดวก มีประสิทธิภาพท่ีสาคัญ คือ ไม่เลือกปฏิบัติตามหลักการ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ซ่ึงการบริหารงานบุคคลของหน่วยงานของรัฐต้องเป็นไปตามระบบคุณธรรม ตามท่ีกฎหมายบัญญัติ โดยอย่างน้อยต้องมีมาตรการป้องกันมิให้ผู้ใดใช้อานาจหรือกระทาการโดยมิชอบ แทรกแซงการปฏิบัติหน้าที่ หรือกระบวนการแต่งตั้ง หรือการพิจารณาความดีความชอบของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ และรัฐต้องจัดให้มีมาตรฐานทางจริยธรรม เพื่อให้หน่วยงานใช้เป็นหลักในการกาหนดประมวลจริยธรรม สาหรับเจ้าหน้าท่ีในหน่วยงาน ซ่ึงต้องไม่ต่ากว่ามาตรฐานทางจริยธรรมดังกล่าว การที่รัฐธรรมนูญ ได้ให้ความสาคัญต่อการบริหารราชการท่ีมีประสิทธิภาพและการบริหารบุคคลท่ีมีคุณธรรม น้ัน สืบเน่ืองมาจากช่วงระยะเวลาที่ผ่านมา ได้เกิดปัญหาท่ีเก่ียวข้องกับการบริหารบุคคล มีการโยกย้ายแต่งตั้ง 14 แผนปฏิบัติการปอ้ งกันการทุจริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2
ทไ่ี มเ่ ปน็ ธรรม บงั คับหรือชี้นาให้ข้าราชการหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐปฏิบัติงานโดยไม่ยึดม่ันในหลักผลประโยชน์ แหง่ รฐั รวมถึงการมงุ่ เน้นการแสวงหาผลประโยชน์ให้กับตนเองรวมถึงพวกพ้องรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักร ไทย พุทธศักราช 2560 จึงได้มีความพยายามที่จะแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าต้องการสร้างประสิทธิภาพ ในระบบการบรหิ ารงานราชการแผน่ ดนิ และเจา้ หน้าทขี่ องรัฐต้องยดึ มนั่ ในหลักธรรมาภิบาล และมีคุณธรรม จริยธรรมตามที่กาหนดเอาไว้ ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี เป็นยุทธศาสตร์ท่ียึดวัตถุประสงค์หลักแห่งชาติเป็นแม่บทหลัก เพื่อเป็นกรอบการกาหนดนโยบาย ทิศทางการพัฒนา การลงทุนของภาคเอกชนท่ีสอดรับกับเป้าหมาย ของยทุ ธศาสตร์ชาตกิ ารบรหิ ารราชการแผ่นดนิ การจัดสรรงบประมาณ ฯลฯ ดังน้ัน ทิศทางด้านการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตการสร้างความโปร่งใสและธรรมาภิบาลในการบริหารราชการแผ่นดิน ของหน่วยงานภาครฐั ทุกหน่วยงานจะถูกกาหนดจากยุทธศาสตร์ชาติ (วิสัยทัศน์ประเทศระยะ 20 ปี) และ ยุทธศาสตร์การพัฒนาระยะ 5 ปี เพ่ือให้บรรลุวิสัยทัศน์“ประเทศมีความม่ันคง ม่ังค่ัง ย่ังยืนเป็นประเทศ พัฒนาแล้ว ดว้ ยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”นาไปสู่การพัฒนาให้คนไทยมีความสุขและ ตอบสนองตอบต่อการบรรลุ ซ่ึงผลประโยชน์แห่งชาติ ในการที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างรายได้ระดับสูง เป็นประเทศพฒั นาแล้ว และสรา้ งความสขุ ของคนไทย สงั คมมีความมน่ั คง เสมอภาคและเปน็ ธรรม ประเทศ สามารถแขง่ ขันได้ในระบบเศรษฐกจิ โดยมกี รอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ดงั นี้ 1. ด้านความม่นั คง (1) เสริมสร้างความม่ันคงของสถาบันหลักและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ (2) ปฏริ ปู กลไกการบริหารประเทศและพฒั นาความมนั่ คงทางการเมอื ง ขจดั คอร์รัปชั่น สร้างความ เช่ือม่ันในกระบวนการยตุ ธิ รรม (3) การรักษาความม่ันคงภายในและความสงบเรียบร้อยภายในตลอดจนการบริหารจัดการ ความมัน่ คงชายแดนและชายฝงั่ ทะเล (4) การพัฒนาระบบ กลไก มาตรการและความร่วมมือระหว่างประเทศทุกระดับ และรักษา ดุลยภาพความสัมพนั ธ์กับประเทศมหาอานาจ เพอื่ ปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หาความมั่นคงรปู แบบใหม่ (5) การพัฒนาเสริมสร้างศักยภาพการผนึกกาลังป้องกันประเทศการรักษาความสงบเรียบร้อย ภายในประเทศ สรา้ งความร่วมมอื กบั ประเทศเพ่ือนบ้านและมิตรประเทศ (6) การพัฒนาระบบการเตรียมพร้อมแห่งชาติและระบบบริหารจัดการภัยพิบัติ รักษาความมั่นคง ของฐานทรัพยากรธรรมชาตสิ ิ่งแวดล้อม (7) การปรบั กระบวนการทางานของกลไกทเี่ ก่ียวขอ้ งจากแนวด่ิงสแู่ นวระนาบมากข้นึ 2. ดา้ นการสร้างความสามารถในการแขง่ ขนั (1) การพฒั นาสมรรถนะทางเศรษฐกิจ ส่งเสริมการคา้ การลงทุน พฒั นาสชู่ าตกิ ารคา้ (2) การพัฒนาภาคการผลิตและบริการ เสริมสร้างฐานการผลิตเข้มแข็ง ย่ังยืน และส่งเสริม เกษตรกรรายย่อยสูเ่ กษตรย่งั ยืนเป็นมติ รกับ สงิ่ แวดล้อม (3) การพัฒนาผูป้ ระกอบการและเศรษฐกิจชุมชน พัฒนาทักษะ ผู้ประกอบการ ยกระดับผลิตภาพ แรงงานและพัฒนา SMEs สสู่ ากล 15 แผนปฏิบัติการป้องกนั การทุจริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2
(4) การพัฒนาพื้นท่ีเศรษฐกิจพิเศษและเมือง พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ ชายแดน และพัฒนา ระบบเมืองศูนย์กลางความเจริญ (5) การลงทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ด้านการขนส่ง ความม่ันคงและพลังงาน ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ และการวจิ ยั และพัฒนา (6) การเชอ่ื มโยงกับภมู ภิ าคและเศรษฐกิจโลก สรา้ งความเป็นหุ้นส่วน การพัฒนากับนานาประเทศ ส่งเสรมิ ให้ไทยเปน็ ฐานของการประกอบ ธรุ กิจ ฯลฯ 3. ดา้ นการพัฒนาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพคน (1) พัฒนาศกั ยภาพคนตลอดช่วงชีวติ (2) การยกระดับการศึกษาและการเรียนรใู้ ห้มคี ุณภาพเทา่ เทียมและทั่วถงึ (3) ปลูกฝงั ระเบยี บวินยั คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมท่พี งึ ประสงค์ (4) การสร้างเสริมให้คนมีสขุ ภาวะท่ดี ี (5) การสร้างความอยู่ดมี ีสขุ ของครอบครวั ไทย 4. ด้านการสรา้ งโอกาสความเสมอภาค และเท่าเทียมกันทางสงั คม (1) สรา้ งความม่ันคงและการลดความเหลื่อมล้าทางเศรษฐกิจและสงั คม (2) พฒั นาระบบบรกิ ารและระบบบรหิ ารจัดการสุขภาพ (3) มสี ภาพแวดล้อมและนวัตกรรมท่เี ออ้ื ต่อการดารงชวี ติ ในสงั คมสงู วยั (4) สรา้ งความเขม้ แข็งของสถาบันทางสงั คม ทุนทางวฒั นธรรมและ ความเขม้ แข็งของชุมชน (5) พัฒนาการสื่อสารมวลชนใหเ้ ปน็ กลไกในการสนบั สนุนการพฒั นา 5. ด้านการสร้างการเตบิ โตบน คุณภาพชวี ิตท่ีเปน็ มติ รกบั สิ่งแวดลอ้ ม (1) จดั ระบบอนุรักษ์ ฟ้ืนฟูและป้องกันการทาลาย ทรัพยากรธรรมชาติ (2) วางระบบบรหิ ารจัดการนา้ ให้มีประสิทธิภาพท้ัง 25 ลุ่มน้า เน้นการปรบั ระบบการบรหิ าร จัดการอทุ กภยั อย่างบรู ณาการ (3) การพฒั นาและใชพ้ ลงั งานทเ่ี ปน็ มิตรกบั สิ่งแวดลอ้ ม (4) การพฒั นาเมอื งอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศและเมอื งทเ่ี ป็น มติ รกับสง่ิ แวดล้อม (5) การรว่ มลดปญั หาโลกรอ้ นและปรับตวั ให้พรอ้ มกบั การ เปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศ (6) การใช้เครอ่ื งมือทางเศรษฐศาสตร์และนโยบายการคลงั เพอื่ สิง่ แวดลอ้ ม 6. ด้านการปรับสมดลุ และพฒั นา ระบบการบริหารจัดการภาครฐั (1) การปรับปรุงโครงสร้าง บทบาท ภารกิจของหน่วยงาน ภาครฐั ใหม้ ีขนาดท่เี หมาะสม (2) การวางระบบบรหิ ารราชการแบบบรู ณาการ (3) การพัฒนาระบบบริหารจดั การกาลังคนและพฒั นา บคุ ลากรภาครฐั (4) การต่อต้านการทุจรติ และประพฤตมิ ชิ อบ (5) การปรับปรุงกฎหมายและระเบียบต่าง ๆ (6) ให้ทนั สมัย เปน็ ธรรมและเป็นสากล (7) พัฒนาระบบการให้บรกิ ารประชาชนของหน่วยงานภาครฐั (8) ปรับปรุงการบริหารจดั การรายไดแ้ ละรายจา่ ยของภาครฐั 16 แผนปฏิบตั ิการปอ้ งกันการทุจริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2
แผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ ประเดน็ การตอ่ ตา้ นการทจุ ริตและประพฤติมิชอบ จัดทาข้ึน ภายใต้ความจาเปน็ ในการแกไ้ ขสถานการณป์ ญั หาการทุจริตของประเทศ ซึ่งที่ผ่านมาหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง กับการป้องกันและปราบปรามการทุจริตได้มคี วามพยายามในการแกไ้ ขปัญหาการทุจรติ ของประเทศ โดยได้ รว่ มกันสร้างเคร่ืองมือ กลไก และกาหนดเป้าหมายสาหรับการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปราม การทุจริตให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ซ่ึงการดาเนินงานดังกล่าว ได้สร้างให้ทุกภาคส่วนในสังคมเกิดความ ตื่นตัวและเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตตามบทบาทและภาระหน้าท่ีของตนเอง เพิ่มมากข้ึน อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันประเทศไทยยังคงประสบปัญหาความรุนแรงในการทุจริต สืบเนื่องมาจาก วิวัฒนาการของการทุจริตซึ่งมีรูปแบบท่ีสลับซับซ้อน ปัญหาการขาดจิตสานึกในการแยกแยะผลประโยชน์ ส่วนตนและส่วนรวม โดยสถานการณ์ปัญหาการทุจริตที่จาเป็นต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วนคือการ รวมตวั กนั เพื่อรว่ มกระทาทุจริต ร่วมกันฉ้อโกงรัฐ โดยเฉพาะในโครงการขนาดใหญ่ที่ต้องใช้งบประมาณมาก ทาให้รัฐและประเทศชาติได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรง จากการสูญเสียงบประมาณแผ่นดินไปกับการ ทุจริตที่อาจมีความยากและซับซ้อนต่อการตรวจสอบของหน่วยงานท่ีทาหน้าที่ในการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริต การแก้ไขปัญหาการทุจริตจึงมีความจาเป็นอย่างย่ิงท่ีจะต้องมีการกาหนดแนวทาง ในการปอ้ งกนั แก้ไขปญั หาดังกลา่ ว การจัดทาแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ ได้ยึดแนวทางการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี เป็นกรอบในการจัดทา โดยแผนแม่บทฯ มี 2 แนวทางการพัฒนาหลัก ดงั นี้ (1) การปอ้ งกันการทจุ รติ และประพฤติมิชอบ มุ่งเน้นการปรับพฤติกรรม “คน” โดยการปลกู ฝังวิธคี ดิ ในกลมุ่ เป้าหมายเด็กและเยาวชนเพื่อปฏริ ูป “คนรุ่นใหม่” ใหม้ ีจิตสานึกในความ ซ่ือสัตย์สุจริต เพื่อสร้างพลังร่วมในการแก้ไขปัญหาการทุจริตและประพฤติมิชอบต่อไปในอนาคต และการปรับ “ระบบ” โดยการสร้างนวัตกรรมการต่อต้านการทุจริต เพื่อให้การดาเนินงานของหน่วยงาน ภาครัฐมีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ในทุกขั้นตอนการดาเนินงาน เท่าทันพลวัตของการทุจริต ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการตรวจสอบ แจ้งข้อมูล และชี้เบาะแสการทุจริตและ ประพฤติมิชอบ ซ่ึงจะนาไปสู่การ ลดจานวนคดีทุจริตและประพฤติมิชอบในหน่วยงานภาครัฐ (2) การปราบปรามการทุจริต มงุ่ เน้นการเสรมิ สร้างประสิทธิภาพของกระบวนการและกลไกการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ท้ังในด้านของการดาเนินคดีทุจริตมีความรวดเร็ว เฉียบขาด เป็นธรรม และการพัฒนาปรับปรุงมาตรการทางกฎหมายเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการปราบปราม การทุจริตให้ได้ผลและมีประสิทธิภาพ กาหนดเป้าหมายการพัฒนาในระยะ 20 ปี โดยใช้ดัชนีการรับรู้ การทุจริต เป็นเปา้ หมายในการดาเนินการของแผนแม่บทฯ ซ่ึงได้กาหนดให้ประเทศไทย มีอันดับค่าคะแนน ดัชนีการรบั รกู้ ารทุจริตในปี พ.ศ. 2580 อยใู่ นอันดบั 1 ใน 20 ของโลก เปา้ หมายการพัฒนาตามยุทธศาสตรช์ าติ ยทุ ธศาสตร์ชาติด้านความมัน่ คง 2.3 กองทัพ หน่วยงานด้านความม่ันคง ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน มี ความพรอ้ มในการปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาความมน่ั คง 2.4 ประเทศไทยมีบทบาทด้านความมั่นคงเป็นท่ีช่ืนชมและได้รับการยอมรับโดย ประชาคมระหวา่ งประเทศ 2.5 การบริหารจดั การความม่นั คงมผี ลสาเรจ็ ทเ่ี ป็นรูปธรรมอย่างมีประสทิ ธิภาพ 17 แผนปฏิบัติการปอ้ งกันการทจุ ริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2
ยุทธศาสตร์ชาตดิ า้ นการปรบั สมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการภาครฐั 2.3 ภาครฐั มีความโปรง่ ใส ปลอดการทจุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบ ประเดน็ ภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ ้านความม่ันคง 4.1 การรักษาความสงบภายในประเทศ 4.1.4 การพัฒนาและเสริมสร้างกลไกท่ีสามารถป้องกันและขจัดสาเหตุของ ประเด็นปญั หาความมน่ั คงทส่ี าคัญ ยุทธศาสตร์ชาตดิ า้ นการปรบั สมดุลและพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการภาครฐั 4.6 ภาครัฐมคี วามโปร่งใส ปลอดการทจุ รติ และประพฤติมิชอบ 4.6.1 ประชาชนและภาคีต่าง ๆ ในสังคมร่วมมือกันในการป้องกันการทุจริต และประพฤตมิ ิชอบ 4.6.2 บุคลากรภาครัฐยึดมั่นในหลักคุณธรรม จริยธรรมและความซ่ือสัตย์ สุจริต 4.6.3 การปราบปรามการทจุ รติ ประพฤตมิ ิชอบมีประสิทธิภาพมีความเด็ดขาด เปน็ ธรรม และตรวจสอบได้ 4.6.4 การบรหิ ารจดั การการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจริตอย่างเป็นระบบ แบบบูรณาการ เป้าหมายและตัวช้ีวัดของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น การต่อต้านการทุจริตและ ประพฤตมิ ชิ อบ แผนยอ่ ยของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติประเดน็ การตอ่ ตา้ นการทจุ ริตและประพฤตมิ ิชอบ เปา้ หมาย ตัวชีว้ ัด ค่าเปา้ หมาย ประเทศไทยปลอด ดัชนีการรับรู้ ปี 2561 - ปี 2566 – ปี 2571 - ปี 2576 - การทจุ ริตและ การทจุ ริตของ 2565 2570 2575 2580 ประพฤติ ประเทศไทย อยู่ในอนั ดบั อยู่ในอันดบั อยใู่ นอันดบั อยใู่ นอนั ดบั มิชอบ (อันดบั /คะแนน) 1 ใน 54 1 ใน 43 1 ใน 32 1 ใน 20 และ/หรอื ได้ และ/หรือได้ และ/หรือได้ และ/หรือได้ คะแนนไม่ คะแนนไม่ คะแนนไม่ คะแนนไม่ ตา่ กว่า 50 ตา่ กว่า 57 ตา่ กวา่ 62 ต่ากวา่ 73 คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน เป้าหมายสาคญั ของยทุ ธศาสตร์ชาติในประเด็นท่ีเกี่ยวข้องกับการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ คือ ภาครัฐมีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ มีการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในทุกระดับ โดยเฉพาะการสร้างวัฒนธรรมแยกแยะประโยชน์ ส่วนบุคคลและประโยชนส์ ว่ นรวมของบคุ ลากรภาครัฐให้เกิดขึ้น รวมทั้งสร้างจิตสานึกและค่านิยมให้ทุกภาคส่วน 18 แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2
ตื่นตัว ละอายต่อการทุจริตประพฤติมิชอบทุกรูปแบบ มีส่วนร่วมต่อต้านการทุจริต พร้อมทั้งส่งเสริม สนับสนุนให้ภาคีองค์กรภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ชุมชน ประชาชน และภาคีต่าง ๆ มีส่วนร่วมในการ สอดสอ่ งเฝา้ ระวงั ให้ข้อมูลแจง้ เบาะแสการทจุ รติ และตรวจสอบการดาเนินงานของหนว่ ยงานภาครัฐ และภาค ส่วนอน่ื ๆ โดยได้รับความคุ้มครองจากรฐั ตามทีก่ ฎหมายบัญญัติ แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น นไี้ ดก้ าหนดแผนย่อยไว้ 2 แผน คือ 1. แผนยอ่ ยการป้องกันการทุจรติ และประพฤติมิชอบ การประเมนิ ความเป็นไปได้ของสถานการณ์ในอนาคตของประเทศไทยที่เก่ียวข้องกับการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตให้เห็นภาพในมิติด้านต่าง ๆ เพื่อเป็นแนวทางในการป้องกันการทุจริตและประพฤติ มิชอบในระยะ 20 ปีข้างหน้าน้ันตั้งอยู่บนแนวคิดพ้ืนฐานว่า ประชาชนและสังคมจะตื่นตัวต่อการทุจริต ให้ความสนใจข่าวสารและตระหนักถึงผลกระทบของการทุจริตต่อประเทศ มีการแสดงออกซึ่งการต่อต้าน การทุจริตท้ังในชีวิตประจาวันและการแสดงออกผ่านส่ือต่าง ๆ ประชาชนในแต่ละช่วงวัยจะได้รับ กระบวนการกล่อมเกลาทางสังคมว่าการทุจริตถือเป็นพฤติกรรมท่ีนอกจากจะผิดกฎหมายและทาให้เกิด ความเสยี หายต่อประเทศแล้ว ยงั เปน็ พฤติกรรมทีไ่ ม่ไดร้ บั การยอมรบั ทางสังคม ประชาชนจะมีวิธีคิดที่ทาให้ สามารถแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวมได้ วัฒนธรรมทางสังคม จะหล่อหลอมให้ประชาชนจะไมก่ ระทาการทจุ ริตเน่ืองจากมคี วามละอายตอ่ ตนเองและสังคม และไม่ยอมให้ ผอู้ น่ื กระทาการทุจริตอันส่งผลให้เกิดความเสียหายต่อสังคมส่วนรวมด้วย และจะเกิดการรวมกลุ่มกันทาง สังคมเพื่อก่อให้เกิดสภาวะการลงโทษทางสังคมต่อการกระทา รวมทั้งประชาชนคนไทยทุกคนจะแสดง เจตจานงตอ่ ตา้ นการทุจรติ อย่างเข้มข้น ผา่ นกระบวนการเลอื กต้ังและกระบวนการเข้าสู่อานาจของตัวแทน ของประชาชนทั้งในระดับชาติและระดับท้องถ่ิน ประชาชนจะให้ความสนใจในการตรวจสอบรัฐบาลและ นักการเมืองในการดาเนินการตามเจตจานงทางการเมืองมากขึ้น เป็นแรงกดดันให้รัฐบาลต้องบริหาร ประเทศอยา่ งสจุ รติ และโปรง่ ใสโดยกระบวนการนโยบายของรัฐบาลไม่สามารถเป็นช่องทางในการแสวงหา ผลประโยชน์ โดยจะมกี ลไกการตรวจสอบการดาเนินนโยบายของรฐั ทเี่ ข้มขน้ มากข้นึ อย่างไรก็ตาม ในอนาคต 20 ปีข้างหน้า การทุจริตน่าจะทวีความรุนแรง ซับซ้อน และยากแก่การตรวจสอบมากย่ิงข้ึน อันเนื่องมาจากเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีทันสมัยและก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว ของสังคมโลกและพลวัตของการทุจริตที่ผู้กระทาการทุจริตหาช่องทางการทุจริตท่ียากแก่การตรวจสอบ มากยง่ิ ขน้ึ แต่สภาวะทางสงั คมที่ต่ืนตัวต่อต้านและตรวจสอบการทุจริตมากยิ่งขึ้น จึงอาจจะทาให้แนวโน้ม การทจุ ริตลดลง ส่งผลให้กระบวนการปอ้ งกันการทุจริตยิ่งทวีความสาคัญ โดยต้องพัฒนากระบวนการและ รูปแบบของการป้องกันการทุจริตให้เท่าทันต่อพลวัตของการทุจริต เพ่ือให้สามารถระงับยับย้ังการทุจริต ได้อยา่ งเท่าทนั ไม่ก่อใหเ้ กิดความเสียหายต่อประเทศ ควรมุ่งเน้นการพัฒนากลไกและกระบวนการป้องกัน การทุจริตให้มีความเข้มแข็ง และมีประสิทธิภาพในทุกหน่วยของสังคมท้ังระดับบุคคลและระดับองค์กร โดยสร้างจิตสานึกและค่านิยมให้ทุกภาคส่วนตื่นตัวและละอายต่อการทุจริตและประพฤติมิชอบทุกรูปแบบ ส่งเสริมสนับสนุนให้ภาคีองค์กรภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ชุมชนและประชาชน และเครือข่ายต่าง ๆ สอดส่องเฝ้าระวัง ให้ข้อมูล และร่วมตรวจสอบการดาเนินการของหน่วยงานภาครัฐตามความเหมาะสม โดยมีการวางมาตรการคุ้มครองพยานและผู้ท่ีเกี่ยวข้องเพื่อเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันต่อปัญหาการทุจริต และสร้างพลังร่วมในการแกไ้ ขปัญหาการทุจริตและประพฤติมิชอบ พรอ้ มทั้งสร้างวัฒนธรรมต่อต้านการทุจริต และประพฤตมิ ิชอบของบุคลากรภาครัฐและกาหนดมาตรการให้หน่วยงานภาครัฐและทุกภาคส่วนดาเนินงาน อยา่ งโปรง่ ใส เพอ่ื เสริมสรา้ งคุณธรรม ความสุจริตและความซื่อสัตย์ ความโปร่งใส และเป็นธรรม นอกจากน้ี 19 แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2
ต้องกาหนดให้มีการลงโทษผู้กระทาผิด กรณีทุจริตและประพฤติมิชอบอย่างจริงจังและรวดเร็วเป็นการ ป้องกนั การทุจรติ เชงิ รุกเพื่อใหเ้ ท่าทนั ต่อพลวตั ของการทจุ ริต 1.1 แนวทางการพฒั นา 1) ปลูกและปลุกจิตสานึกการเป็นพลเมืองที่ดี มีวัฒนธรรมสุจริต และการปลูกฝัง และหล่อหลอมวัฒนธรรมในกลุ่มเด็กและเยาวชนทุกช่วงวัย ทุกระดับ มุ่งเน้นการปรับพฤติกรรม “คน” โดยการ “ปลูก” และ “ปลุก” จิตสานกึ ความเป็นพลเมืองที่ดี มีวัฒนธรรมสุจริต สามารถแยกแยะได้ว่าสิ่งใด เปน็ ประโยชนส์ ่วนตน สงิ่ ใดเป็นประโยชนส์ ่วนรวม มีความละอายต่อการกระทาความผิด ไม่เพิกเฉยอดทน ต่อการทุจริต และเข้ามามีส่วนร่วมในการต่อต้านการทุจริตทุกรูปแบบ รวมถึงการส่งเสริมการสร้าง วัฒนธรรมและค่านิยมสุจริตในระดับชุมชนเพ่ือนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมค่านิยมที่ยึดประโยชน์ สาธารณะมากกว่าประโยชน์ส่วนตน และต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบในทุกรูปแบบ โดยเฉพาะ การสง่ เสริมวัฒนธรรมสุจริตผ่านหลักสูตรการศึกษาภาคบังคับท่ีเด็กไทยทุกคนต้องเรียนท้ังภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติ ตั้งแต่ระดับปฐมวัยจนถึงระดับอุดมศึกษา เพื่อปฏิรูป “พลเมืองไทยในอนาคต” ให้มีความ เป็นพลเมืองเต็มขั้น สามารถทาหน้าที่ความเป็นพลเมืองท่ีดี มีจิตสานึกยึดมั่นในความซื่อสัตย์สุจริต มีความ รบั ผดิ ชอบต่อสว่ นรวมมีระเบยี บวนิ ัย และเคารพกฎหมาย 2) ส่งเสรมิ การปฏิบัตหิ นา้ ทีข่ องข้าราชการและเจ้าหน้าท่ีของรัฐให้มีความใสสะอาด ปราศจากพฤติกรรมท่ีส่อไปในทางทุจริต โดยการปฏิบัติหน้าที่ราชการอย่างเปิดเผย โปร่งใส ถูกต้องเป็นธรรม ไม่คดโกงรู้จักแยกแยะเรื่องส่วนตัวออกจากหน้าที่การงาน การสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารงาน ตลอดจนการสร้างจิตสานกึ และค่านิยมในการต่อต้านการทุจริตให้แก่บุคลากรขององค์กร โดยการสนับสนุน ให้ข้าราชการและเจ้าหน้าท่ีรัฐเข้ามามีส่วนร่วมเป็นเครือข่ายต่อต้านการทุจริตในหน่วยงานภาครัฐ เพ่ือสง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ มในการเฝ้าระวัง สอดส่อง ติดตามพฤติกรรมเส่ียงและแจ้งเบาะแส เพ่ือสกัดก้ันมิ ใหเ้ กิดการทุจริตประพฤติมิชอบได้ โดยมีมาตรการสนบั สนุนและคมุ้ ครองผแู้ จง้ เบาะแส 3) พัฒนาค่านิยมของนักการเมืองให้มีเจตนารมณ์ที่แน่วแน่ในการทาตนเป็น แบบอย่างท่ีดี มีคุณธรรม จริยธรรม ความซ่ือสัตย์สุจริต เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม เนื่องจากผู้บริหาร ประเทศ/ทอ้ งถิน่ /ชุมชน ต้องมีคุณธรรมและจรยิ ธรรมสงู กว่ามาตรฐานทางจริยธรรมท่วั ไปในสังคม เพื่อเป็น ต้นแบบ แก่ประชาชน เด็ก เยาวชน และสังคมโดยรวม โดยนอกเหนือจากคุณสมบัติตามที่กาหนดตาม กฎหมายแล้ว ผู้บริหารประเทศต้องมีคุณสมบัติทางจริยธรรมด้วย มีการพัฒนายกระดับการมีจริยธรรม ของผดู้ ารงตาแหน่งทางการเมืองเพือ่ สรา้ งนักการเมอื งทีม่ ีคณุ ธรรมจรยิ ธรรม รวมท้ังกากับจริยธรรมภายใน พรรคการเมอื ง 4) ปรับ “ระบบ” เพ่ือลดจานวนคดีทุจริตและประพฤติมิชอบในหน่วยงานภาครัฐ มุ่งเนน้ การสร้างนวตั กรรมการต่อตา้ นการทุจรติ อยา่ งต่อเนือ่ ง เพื่อสนบั สนนุ ให้การดาเนนิ งานของหน่วยงาน ภาครัฐมคี วามโปร่งใส ตรวจสอบได้ในทกุ ข้นั ตอนการดาเนินงาน และมีความเท่าทันต่อพลวัตของการทุจริต โดยการพฒั นาเครอ่ื งมือ เพ่ือสร้างความโปร่งใส มุ่งเน้นการสร้างนวัตกรรมและมาตรการในการต่อต้านการ ทจุ ริตท่ีมีประสิทธิภาพและเท่าทันต่อพลวัตของการทุจริต รวมถึงการประเมินความเสี่ยงด้านการทุจริต เพื่อให้ หน่วยงานภาครัฐ มีมาตรการ ระบบหรือแนวทางในบริหารจัดการความเสี่ยงของการดาเนินงานท่ีอาจก่อให้เกิด การทุจริต และการบูรณาการติดตามประเมินผลการป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐในโครงการ ลงทุนขนาดใหญ่ของรัฐและรัฐวิสาหกิจตั้งแต่ขั้นวางแผนก่อนดาเนินงาน ข้ันระหว่างการดาเนินงาน และข้นั สรปุ ผลหลงั การดาเนินโครงการ 20 แผนปฏิบตั ิการป้องกนั การทจุ ริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2
5) ปรับระบบงานและโครงสร้างองค์กรท่ีเอื้อต่อการลดการใช้ดุลพินิจในการ ปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ี เช่น การนาระบบเทคโนโลยีเข้ามาใช้แทนการใช้ดุลพินิจเพื่อสนับสนุนการ ปฏิบัติงาน การสร้างมาตรฐานที่โปร่งใสในกระบวนการบริการของภาครัฐ ลดข้ันตอนกระบวนการและ ระยะเวลาในการปฏิบัติงานด้วยวิธีปฏิบัติท่ีชัดเจนตรวจสอบได้ ปรับปรุงแก้ไขกฎหมายและระเบียบท่ี เกย่ี วข้องเพอื่ ลดการใช้ดลุ พนิ จิ ของผมู้ อี านาจในการพิจารณาอนุมัติ อนุญาต รวมถึงการสร้างความโปร่งใส ในการบริการข้อมูลภาครัฐท้ังระบบ โดยการพัฒนาระบบข้อมูลดิจิทัลท่ีมีการกาหนดกฎเกณฑ์ กติกา กระบวนการ ขั้นตอนการดาเนินงานการเขา้ ถงึ ข้อมลู รวมถึงข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างและการใช้งบประมาณ ของหน่วยงานภาครัฐ เพื่อส่งเสริมการเข้าถึงข้อมูลสาธารณะ สร้างความโปร่งใส และส่งเสริมให้มีการ ตรวจสอบการบริหารจัดการของภาครัฐโดยสาธารณชน ซึ่งรวมถึงการมีกลไกที่เปิดโอกาสให้ประชาชน เขา้ มามสี ว่ นร่วมในการตรวจสอบการจดั ซอื้ จดั จา้ งและการดาเนินการภาครัฐ เพ่ือบูรณาการการทางานของ รัฐและประชาชน รวมถึงส่งเสริมสนับสนุนการตื่นตัวและเพ่ิมขีดความสามารถของประชาชนในการร่วม เฝา้ ระวัง และป้องกันการทุจริตคอร์รัปช่ันที่มีอยู่ใกล้ตัว โดยมีมาตรการสนับสนุนและคุ้มครองผู้ชี้เบาะแส ทส่ี ามารถสรา้ งความเช่ือมนั่ และมั่นใจให้กบั ผ้ใู ห้เบาะแส เป้าหมายและตวั ชวี้ ดั เปา้ หมาย ตวั ชวี้ ัด ปี 2561 - คา่ เปา้ หมาย ปี 2576 - 1. ประชาชนมี ปี 2566 – ปี 2571 – 2580 วัฒนธรรม 2565 รอ้ ยละ 80 และพฤติกรรม 2570 2575 ซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ ร้อยละของเด็กและ รอ้ ยละ 50 รอ้ ยละ 60 รอ้ ยละ 70 ร้อยละ 80 2. คดที ุจรติ และ เยาวชนไทย ร้อยละ 60 ร้อยละ 70 ร้อยละ 100 ประพฤติ (90 คะแนน มชิ อบลดลง มีพฤติกรรมท่ียึดมั่น ร้อยละ 100 รอ้ ยละ 90 (85 คะแนน (90 คะแนน ขน้ึ ไป) ความซอื่ สตั ย์สุจริต ลดลงร้อยละ ขึน้ ไป) ขึ้นไป) ร้อยละของประชาชน รอ้ ยละ 50 ลดลงร้อยละ ลดลงรอ้ ยละ 80 ลดลงร้อยละ ที่มวี ัฒนธรรมค่านิยม 50 70 ลดลงร้อยละ ลดลงร้อยละ 80 สุจรติ มีทัศนคติและ 50 70 พฤตกิ รรมในการ ต่อตา้ นการทจุ ริตและ ประพฤติมชิ อบ ร้อยละของ รอ้ ยละ 80 หน่วยงานท่ีผา่ น (85 คะแนน เกณฑ์การประเมิน ข้ึนไป) ITA จานวนคดีทจุ ริตใน ลดลงรอ้ ยละ ภาพรวม 10 จานวนคดที ุจริตราย ลดลงรอ้ ยละ 10 หน่วยงาน - จานวนขอ้ 21 แผนปฏิบัติการป้องกนั การทุจริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2
เปา้ หมาย ตัวชว้ี ัด ปี 2561 - คา่ เปา้ หมาย ปี 2576 - 2565 ปี 2566 – ปี 2571 – 2580 รอ้ งเรยี นเจา้ หน้าท่ี ภาครฐั ที่ถกู ช้ีมูลเรอื่ ง ลดลงรอ้ ยละ 2570 2575 ลดลงร้อยละ วนิ ัย (ทจุ รติ ) 10 80 - จานวนข้อ ลดลงร้อยละ ลดลงร้อยละ รอ้ งเรยี นเจา้ หนา้ ที่ ลดลงร้อยละ 50 70 ลดลงรอ้ ยละ ภาครฐั ท่ีถูกชีม้ ูลวา่ 25 90 กระทาการทุจริต ลดลงร้อยละ ลดลงรอ้ ยละ จานวนคดที จุ รติ ท่ี 50 80 เกย่ี วข้องกับผู้ดารง ตาแหน่งทาง การเมือง 2. แผนยอ่ ยการปราบปรามการทุจริต การจะบรรลุเป้าหมาย ประเทศไทยปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ กลไกและกระบวนการ ปราบปรามการทจุ ริตจะตอ้ งมีประสทิ ธภิ าพมากขึ้น กฎหมายจะต้องมีความทันสมัย การบังคับใช้กฎหมาย และการดาเนินคดีจะต้องมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว ทาให้คดีความมีปริมาณลดลง แนวทางในการ ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ จึงควรมุ่งเน้นการส่งเสริมการปรับปรุงกระบวนการและกลไก ท่ีเกี่ยวข้องในการปราบปรามการทุจริตอย่างต่อเน่ือง ให้มีความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น รวมท้ังการปรับปรุงกฎหมายและตรากฎหมายใหม่เพื่อสนับสนุนให้การบังคับใช้กฎหมายมีประสิทธิภาพ มากยิ่งข้ึน และมุ่งทาให้ผู้กระทาความผิดได้รับการดาเนินคดีและลงโทษ ท้ังทางวินัยและอาญาอย่างรวดเร็ว และเป็นรูปธรรมเพ่ือให้สังคมเกิดความเกรงกลัวต่อการทุจริต ควบคู่ไปกับการปรับปรุงระบบข้อมูล เรื่องร้องเรียนท่ีเช่ือมโยงระหว่างหน่วยงานต่อต้านการทุจริตที่เก่ียวข้องเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพในการ ดาเนนิ คดี 2.1 แนวทางการพัฒนา 1) เพิ่มประสิทธิภาพการดาเนินงานของกระบวนการและกลไกการปราบปรามการ ทุจรติ โดยการปรบั กระบวนการทางานด้านการปราบปรามการทจุ ริตเข้าสูร่ ะบบดจิ ิทลั มาใช้ในกระบวนการ ทางานด้านการปราบปรามการทุจริตให้ได้มาตรฐานสากลและเป็นมาตรฐานเดียวกัน ซึ่งรวมถึงการพัฒนา ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและฐานข้อมูลเกี่ยวกับการตรวจสอบทรัพย์สินและหน้ีสินที่ทันสมัย เท่าทัน ต่อการบิดเบือนทรัพย์สินและหน้ีสิน รวมท้ังบูรณาการข้อมูลกับหน่วยงานท้ังภาครัฐและเอกชนต่าง ในการตรวจสอบความถูกตอ้ งของทรพั ยส์ ินและหนส้ี นิ 2) ปรับปรุงกระบวนการปราบปรามการทุจริตท่ีมีความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ อาทิ ปรับปรงุ ขน้ั ตอนการดาเนินการที่ล่าช้าของหน่วยงานในกระบวนการปราบปรามการทุจริตให้มีความ รวดเร็วและกระชบั มากข้นึ เพ่ือให้การดาเนินการปราบปรามการทุจริตตลอดกระบวนการจนถึงการลงโทษ 22 แผนปฏิบตั ิการป้องกนั การทุจริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2
ผู้กระทาความผิดเม่ือคดีถึงท่ีสุดเป็นไปอย่างรวดเร็วเห็นผล มีประสิทธิภาพ และเป็นที่ประจักษ์ ของประชาชน อาทิ การบูรณาการประสานงานคดีที่เก่ียวข้องกับการทุจริตและประพฤติมิชอบ การปรับปรุงขั้นตอนการดาเนินการที่ล่าช้าและซ้าซ้อนกันของหน่วยงานในกระบวนการปราบปรามการทุจริต ทั้งระบบให้มีความรวดเร็ว การบูรณาการพัฒนาระบบฐานข้อมูลระหว่างหน่วยงานปราบปรามการทุจริต ให้เข้าถึงง่ายและมีประสิทธิภาพ การปรับปรุงและพัฒนาระบบและกลไกท่ีเกี่ยวข้องกับการสืบสวน ปราบปรามเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดาเนินการกับทรัพย์สินหรือผู้กระทาความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ หรือทุจริตต่อหน้าท่ีตามกฎหมายฟอกเงินเพื่อให้การติดตามยึดคืนทรัพย์สินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อป้องกันการยักย้าย ถ่ายเททรัพย์สินที่ได้มาโดยมิชอบ ไม่ให้เกิดความเสียหายขึ้น รวมท้ังการพัฒนา เครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงาน/องค์กรต่อต้านการทุจริตและองค์กร เอกชนในระดับนานาชาติ เพ่อื สนับสนุนขอ้ มลู และองค์ความรู้ในการปราบปรามการทจุ ริต และอาชญากรรมข้ามชาติ 3) พัฒนาการจัดการองค์ความรู้ด้านการปราบปรามการทุจริต โดยการจัดทาระบบ ฐานข้อมลู องค์ความรู้ด้านการปราบปรามการทุจริต โดยประมวลจากคดีการทุจริตและผู้เช่ียวชาญของหน่วยงาน ต่าง ๆ ในกระบวนการปราบปรามการทุจริต เพ่ือให้เจ้าหน้าท่ีปราบปรามการทุจริตของแต่ละหน่วยงาน ไดศ้ กึ ษาและมีสมรรถนะและความรู้ที่เป็นมาตรฐาน การพัฒนาสมรรถนะและองค์ความรู้เชิงสหวิทยาการ ของเจ้าหน้าท่ีในกระบวนการปราบปรามการทุจริตเพื่อให้มีความรู้/ทักษะ/ขีดความสามารถ ที่เป็น มาตรฐานและเท่าทนั ตอ่ พลวัตของการทุจรติ เป้าหมายและตัวชวี้ ดั ค่าเป้าหมาย เปา้ หมาย ตวั ชี้วัด ปี 2561 - ปี 2566 – ปี 2571 - ปี 2576 - 2565 2570 2575 2580 การดาเนินคดี กระบวนการ ไม่เกนิ รอ้ ยละ ไม่เกนิ รอ้ ยละ ไม่เกินรอ้ ยละ ไมเ่ กนิ รอ้ ยละ ทุจรติ มีความ ดาเนนิ คดี ทุจรติ 25 20 15 10 รวดเร็วเป็นธรรม ทจ่ี าเปน็ ต้องขอ โปร่งใส ไม่เลือก ขยายระยะเวลาเกนิ ปฏบิ ตั ิ กวา่ กรอบเวลาปกติ ที่กฎหมายกาหนด จานวนคดีอาญา ไม่เกินร้อยละ ไม่เกินร้อยละ ไมเ่ กินร้อยละ ไม่เกินรอ้ ยละ ที่หนว่ ยงานไตส่ วน 4 3 2 1 คดีทุจริตถกู ฟ้องกลบั ของจานวน ของจานวน ของจานวน ของจานวน คดีท่ีส่งฟอ้ ง คดีท่ีส่งฟ้อง คดที ี่ส่งฟอ้ ง คดที ่ีสง่ ฟอ้ ง 23 แผนปฏิบตั ิการป้องกนั การทจุ ริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560 - 2564) กาหนดในยุทธศาสตร์ท่ี 6 การบริหารจัดการภาครัฐ การป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาลในสังคมไทย ในยุทธศาสตรน์ ้ี ได้กาหนดกรอบแนวทางการการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและคอร์รัปชัน มุ่งเน้น การสง่ เสรมิ และพัฒนาปลูกฝงั ค่านยิ ม วฒั นธรรม วิธีคดิ และกระบวนทศั น์ให้คนมคี วามตระหนัก มีความรูเ้ ท่าทัน และมีภูมิต้านทาน ตอ่ โอกาสและการชักจูงให้เกิดการทุจริตคอร์รัปชันและมีพฤติกรรมไม่ยอมรับการทุจริต ประพฤติมิชอบ รวมทั้งสนับสนุนทุกภาคส่วน ในสังคมได้เข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและปราบราม การทุจริต และมุ่งเน้นให้เกิดการส่งเสริมธรรมาภิบาลในภาคเอกชน เพ่ือเป็นการตัดวงจรการทุจริตระหว่าง นักการเมือง ข้าราชการ และนกั ธรุ กิจออกจากกัน ทั้งนี้การบริหารงานของส่วนราชการต้องมีความโปร่งใส และตรวจสอบได้ 24 แผนปฏิบัติการปอ้ งกนั การทจุ ริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2
โมเดลประเทศไทยสู่ความมัน่ คง มงั่ คั่ง และย่ังยนื (Thailand 4.0) เป็นโมเดลที่น้อมนาหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวคิดหลักในการบริหารประเทศ ถอดรหัสออกมาเป็น 2 ยุทธศาสตร์สาคัญ คอื (1) การสร้างความเขม้ แข็งจากภายใน (StrengthfromWithin) และ (2) การเชื่อมโยงกับประชาคมโลก ในยุทธศาสตร์ การสร้างความเข้มแข็งจากภายใน Thailand 4.0 เน้นการปรับเปลี่ยน 4 ทิศทางและเน้น การพัฒนาท่ีสมดุลใน 4 มิติ มิติท่ีหยิบยก คือ การยกระดับศักยภาพและคุณค่าของมนุษย์ (Human Wisdom) ด้วยการพฒั นาคนไทยใหเ้ ป็น “มนุษย์ที่สมบูรณ์” ผ่านการปรับเปลี่ยนระบบนิเวศน์ การเรียนรู้ เพอื่ เสริมสร้างแรงบนั ดาลใจบ่มเพาะความคิดสร้างสรรค์ ปลูกฝังจิตสาธารณะ ยึดประโยชน์ส่วนรวมเป็นที่ตั้งมี ความซอ่ื สตั ย์ สจุ รติ มวี นิ ยั มีคุณธรรมจริยธรรม มคี วามรับผิดชอบ เน้นการสร้างคุณค่าร่วม และค่านิยมท่ีดี คอื สงั คมทมี่ ีความหวงั (Hope) สังคมทีเ่ ป่ียมสขุ (Happiness) และสังคมท่มี ีความสมานฉันท์ (Harmony) 25 แผนปฏิบตั ิการป้องกันการทุจริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2
ยทุ ธศาสตร์ชาตวิ ่าด้วยการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) วิสัยทศั น์ ประเทศไทยใสสะอาด ไทยท้งั ชาตติ ้านทุจริต (Zero Tolerance & Clean Thailand) พันธกิจ สร้างวัฒนธรรมต่อต้านการทุจริตยกระดับธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการทุกภาคส่วนแบบบูรณา การและปฏิรปู กระบวนการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ ทงั้ ระบบ ให้มมี าตรฐานสากล เป้าประสงค์เชงิ ยทุ ธศาสตร์ ระดบั คะแนนของดัชนีการรับรูก้ ารทจุ รติ (Corruption Perceptions Index : CPI) สูงกว่ารอ้ ยละ 50 วัตถปุ ระสงคห์ ลัก 1) สงั คมมพี ฤตกิ รรมร่วมตา้ นการทจุ รติ ในวงกวา้ ง 2) เกิดวัฒนธรรมทางการเมือง (Political Culture) ม่งุ ตา้ นการทุจรติ ในทุกภาคส่วน 3) การทุจรติ ถกู ยบั ย้งั อยา่ งเทา่ ทนั ด้วยนวัตกรรมกลไกป้องกันการทุจริต และระบบบริหารจัดการ ตามหลกั ธรรมาภบิ าล 4) การปราบปรามการทุจรติ และการบังคับใช้กฎหมาย มีความรวดเร็ว เป็นธรรม และได้รับความ ร่วมมอื จากประชาชน 26 แผนปฏิบตั ิการป้องกันการทุจริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2
5) ดชั นกี ารรบั รูก้ ารทจุ ริต (Corruption Perceptions Index : CPI) ของประเทศไทยมีค่าคะแนน ในระดบั ท่ีสงู ข้นึ ยทุ ธศาสตร์หลัก ยทุ ธศาสตร์มีความครอบคลุมกระบวนการดาเนินงานด้านการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและ ประพฤติมิชอบ โดยกาหนดยทุ ธศาสตร์การดาเนินงานหลกั ออกเปน็ 6 ยทุ ธศาสตร์ ดังน้ี ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 “สร้างสังคมที่ไมท่ นต่อการทจุ ริต” เป็นยทุ ธศาสตรท์ ่ีม่งุ เนน้ ใหค้ วามสาคัญในกระบวนการการปรับสภาพสังคมให้เกิดภาวะท่ี “ไม่ทน ต่อการทุจริต” โดยเริ่มต้ังแต่กระบวนการกล่อมเกลาทางสังคมในทุกระดับช่วงวัยต้ังแต่ปฐมวัย เพื่อสร้าง วัฒนธรรมต่อต้านการทุจริต และปลูกฝังความพอเพียง มีวินัย ซื่อสัตย์ สุจริต เป็นการดาเนินการ ผ่านสถาบันหรือกลุ่มตัวแทนท่ีทาหน้าที่ในการกล่อมเกลาทางสังคมให้มีความเป็นพลเมืองที่ดี ที่มีจิต สาธารณะ จติ อาสา และความเสียสละเพื่อส่วนรวม และเสริมสร้างให้ทุกภาคส่วนมีพฤติกรรมที่ไม่ยอมรับ และต่อตา้ นการทจุ รติ ในทกุ รูปแบบ ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 กาหนดกลยทุ ธแ์ ละแนวทางตามกลยุทธด์ งั นี้ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 สร้างสังคมท่ไี มท่ นตอ่ การทุจริต กลยทุ ธ์ แนวทางตามกลยุทธ์ 1. ปรับฐานความคิดทกุ ชว่ งวัย 1.1 พัฒนาหลกั สูตร บทเรยี น การเรยี นการสอน การนาเสนอ และ ตั้งแตป่ ฐมวัยให้สามารถแยก รูปแบบการป้องกันการทจุ ริตตามแนวคิดแยกระหว่างผลประโยชน์ ระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตัวและ สว่ นตัวและผลประโยชนส์ ่วนรวม ในทกุ ระดับ ผลประโยชน์สว่ นรวม 1.2 การกาหนด พัฒนา หรือปรับปรงุ มาตรฐานทางจริยธรรมและ จรรยาบรรณวชิ าชพี และมกี ารประกาศใช้อย่างจริงจงั 2. สง่ เสริมให้มีระบบและ 2.1 กล่อมเกลาทางสงั คมในทุกชว่ งวัยตง้ั แต่ปฐมวยั เพอื่ สรา้ งพลเมอื งท่ี กระบวนการกล่อมเกลาทาง ดี สงั คมเพ่ือตา้ นทุจรติ 2.2 พัฒนานวัตกรรมและส่อื การเรยี นรสู้ าหรบั ทุกชว่ งวัยตงั้ แตป่ ฐมวยั 2.3 พัฒนาจิตสานึกสาธารณะ 2.4 การใชเ้ ครือ่ งมอื การส่ือสารทางสงั คมเพื่อปรบั เปล่ยี นพฤติกรรม 2.5 การเสริมบทบาทการกลอ่ มเกลาทางสังคมของส่อื มวลชนและ องค์กรวชิ าชพี 2.6 พัฒนามาตรวัดทางสังคม เพ่อื เปน็ เคร่อื งมอื ในการขดั เกลา พฤตกิ รรม 3. ประยุกตห์ ลักปรัชญา 3.1 นาปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงมาปรบั ใชใ้ นการกลอ่ มเกลาทางสงั คม เศรษฐกิจพอเพยี งเปน็ เครือ่ งมือ และการปฏบิ ตั ิงานต่อตา้ นการทุจริต ตา้ นทุจริต 3.2 พัฒนาหลักสูตร บทเรียน การเรยี นการสอน การนาเสนอ และ รูปแบบการปอ้ งกนั การทจุ ริตตามแนวทางปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงใน การเรยี นการสอนในทกุ ระดบั 27 แผนปฏิบตั ิการปอ้ งกนั การทจุ ริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2
ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 สรา้ งสังคมท่ีไมท่ นต่อการทุจริต กลยุทธ์ แนวทางตามกลยทุ ธ์ 3.3 พัฒนาระบบและจัดการองค์ความรู้การปอ้ งกนั การทุจรติ ตาม แนวทางปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง 4. เสรมิ พลังการมีส่วนรว่ มของ 4.1 สร้างชุมชนเฝ้าระวงั ตอ่ ตา้ นทจุ ริต ชุมชน (Community) และ 4.2 สรา้ งความต่นื ตัวในการแสดงออกต่อเหตกุ ารณท์ างสงั คมที่ผิดตอ่ บูรณาการทุกภาคส่วนเพ่ือ จรยิ ธรรมทางสังคมหรือกฎหมาย และผลกั ดันให้เกดิ การลงโทษทาง ต่อต้านการทจุ รติ สังคม (Social Sanction) และทางกฎหมาย บนพ้ืนฐานของข้อเท็จจริงและ เหตผุ ล 4.3 บูรณาการทุกภาคส่วนเพื่อต่อต้านการทุจรติ 33 ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 “ยกระดับเจตจานงทางการเมืองในการต่อตา้ นการทจุ ริต” จากสถานการณ์ความขดั แยง้ ในสงั คมไทยในห้วงระยะกวา่ ทศวรรษทีผ่ ่านมา จะเหน็ ได้ว่าประชาชน ทุกกลุ่มทุกฝ่ายต่างมีข้อเรียกร้องที่สอดคล้องร่วมกันประการหนึ่งคือการต่อต้านการทุจริตของรัฐบาลและ เจา้ หน้าท่ีรัฐการแสดงออกซง่ึ เจตจานงทางการเมืองของประชาชนทุกกลุ่มทุกฝ่ายที่ไม่ยอมรับและไม่อดทน ต่อการทุจริตประพฤติมิชอบไม่ว่าจะเป็นรัฐบาลใดก็ตาม ย่อมสะท้อนให้เห็นถึงเจตจานงทางการเมือง อันแน่วแน่ของประชาชนไทยทุกกลุ่มทุกฝ่ายที่ต้องการให้การบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาลและการ ปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ีรัฐเป็นไปดว้ ยความโปร่งใสปราศจากการทุจริตประพฤติมิชอบ ดังน้ัน เพื่อเป็นการ สนองตอบต่อเจตจานงทางการเมืองในการต่อต้านการทุจริตอันแน่วแน่ของประชาชน จึงได้กาหนดให้มี ยุทธศาสตร์การนาเจตจานงทางการเมืองในการต่อต้านการทุจริตไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมและ สอดคล้องเป็นหนึ่งเดียวกันโดยเป็นยุทธศาสตร์ที่มุ่งเน้นให้ประชาชนและรัฐบาลมีการนาเจตจานงทาง การเมอื งในเร่อื งการตอ่ ตา้ นการทุจริตไปสู่การปฏบิ ตั อิ ยา่ งเป็นรูปธรรมและสอดคลอ้ งเปน็ หนงึ่ เดียวกนั 28 แผนปฏิบตั ิการป้องกนั การทจุ ริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2
ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 กาหนดกลยทุ ธ์ และแนวทางตามกลยทุ ธ์ ดงั น้ี ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 ยกระดบั เจตจานงทางการเมอื งในการตอ่ ต้านการทุจรติ กลยทุ ธ์ แนวทางตามกลยุทธ์ 1. พัฒนากลไกการกาหนดให้ 1.1 กาหนดให้นกั การเมืองต้องแสดงเจตจานงทางการเมอื งในการ นกั การเมอื งแสดงเจตจานงทาง ตอ่ ตา้ นการทจุ รติ ตอ่ สาธารณชนกอ่ นลงสมัครรบั เลอื กตงั้ หรือกอ่ นดารง การเมืองในการตอ่ ต้านการทุจรติ ตาแหนง่ ทางการเมือง ตอ่ สาธารณชน 1.2 กาหนดใหพ้ รรคการเมืองจดั ทาเอกสารแสดงเจตจานงทาง การเมืองของพรรคการเมอื งในการตอ่ ตา้ นการทจุ ริตและเผยแพรใ่ หแ้ ก่ ประชาชน 2. เร่งรัดการกากบั ตดิ ตาม 2.1 ศึกษาและกาหนดแนวทาง/ขนั้ ตอนการกากับติดตามมาตรฐานทาง มาตรฐานทางจรยิ ธรรมของ จริยธรรมของนกั การเมอื งและเจ้าหน้าท่ีรฐั นกั การเมอื งและเจา้ หนา้ ทีร่ ัฐ 2.2 การกากับติดตามมาตรฐานทางจรยิ ธรรมของนกั การเมอื งและ ในทุกระดับ เจา้ หน้าท่ีรัฐโดยประชาชน 2.3 การประเมนิ มาตรฐานทางจรยิ ธรรมและคุณธรรมของนกั การเมอื ง และเจ้าหน้าทร่ี ัฐ 3. สนบั สนนุ ใหท้ กุ ภาคสว่ น 3.1 ศึกษาและวเิ คราะห์แนวทางการกาหนดกลยทุ ธแ์ ละมาตรการ กาหนดกลยทุ ธ์และมาตรการ ในการปฏิบัติเจตจานงทางการเมอื งในการต่อตา้ นการทุจริต สาหรบั เจตจานงในการตอ่ ตา้ น ทัง้ ในระดบั ชาติและทอ้ งถิ่น การทจุ ริต 3.2 ประสานความรว่ มมือระหวา่ งภาคสว่ นตา่ ง ๆ ในการกาหนดกล ยุทธ์ และมาตรการในการปฏิบตั เิ จตจานงทางการเมืองในการป้องกนั และ ปราบปรามการทจุ ริต 3.3 การส่งเสรมิ เจตจานงทางการเมืองในระดบั ประชาชน 4. พัฒนาระบบการบรหิ าร 4.1 ศึกษาวิเคราะหแ์ นวทางการปฏิรปู ระบบการจัดสรรงบประมาณ งบประมาณด้านการปอ้ งกันและ ด้านการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตท่ีเพียงพอและเหมาะสม ปราบปรามการทจุ ริตเพ่อื ให้ 4.2 จดั ทาแผนการปฏิรูประบบการจดั สรรงบประมาณดา้ นการปอ้ งกัน ได้รับการจดั สรรงบประมาณ และปราบปรามการทุจรติ ทเี่ พยี งพอและเหมาะสม รายจ่ายประจาปีที่มสี ดั สว่ น เหมาะสมกับการแก้ปญั หา 5. ส่งเสรมิ การจดั ตัง้ กองทุน 5.1 การศึกษาแนวทางการจดั ต้งั กองทนุ ตอ่ ต้านการทุจรติ ในรูปแบบ ตอ่ ตา้ นการทจุ ริตสาหรับ นิตบิ ุคคล ภาคเอกชนและภาคประชาชน 5.2 พัฒนาตัวแบบกองทุนตอ่ ตา้ นการทจุ ริตสาหรับภาคเอกชนและ โดยรัฐให้การสนบั สนนุ ทนุ ตั้งต้น ภาคประชาชน 6. ประยุกต์นวตั กรรมในการ 6.1 กาหนดใหพ้ รรคการเมอื งตอ้ งแสดงแนวทางในการดาเนนิ นโยบาย กากับดแู ลและควบคมุ การ และการใช้งบประมาณต่อนโยบายนนั้ ๆ ก่อนทจ่ี ะจัดใหม้ กี ารเลอื กตัง้ 29 แผนปฏิบตั ิการปอ้ งกนั การทุจริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 ยกระดับเจตจานงทางการเมืองในการต่อต้านการทจุ ริต กลยทุ ธ์ แนวทางตามกลยทุ ธ์ ดาเนนิ งานตามเจตจานงทาง 6.2 จัดทาระบบฐานขอ้ มลู แนวทาง/มาตรการในการปอ้ งกนั การทจุ รติ การเมอื งของพรรคการเมืองทไี่ ด้ ในแตล่ ะโครงการที่พรรคการเมืองได้หาเสียงไวก้ ับประชาชน แสดงไว้ต่อสาธารณะ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 “สกดั กน้ั การทุจรติ เชิงนโยบาย” การทุจริตเชิงนโยบาย (Policy Corruption) เป็นปัญหาที่พบมากขึ้นในปัจจุบัน ก่อให้เกิดผลเสีย ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศอย่างมหาศาล ซง่ึ จากผลการวิจัยท่ผี า่ นมาพบว่าการทุจริตเชิง นโยบายมักเกิดจากการใช้ช่องว่างทางกฎหมายเข้าแสวงหาประโยชน์ส่วนตน โดยพบต้ังแต่ขั้นตอนการ กาหนดนโยบายของพรรคการเมือง การใช้อานาจอย่างไม่โปร่งใส ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตระยะท่ี 3จึงได้กาหนดให้มียุทธศาสตร์ “สกัดก้ันการทุจริตเชิงนโยบาย” ซึ่งเป็น ยุทธศาสตร์ท่ีมุ่งป้องกันการทุจริตตลอดกระบวนการนโยบาย ผ่านการกาหนดมาตรการกลไก เสริมสร้าง ธรรมาภิบาลตั้งแต่เริ่มขั้นก่อตัวนโยบาย ( Policy Formation) ข้ันการกาหนดนโยบาย (Policy Formulation) ขั้นตัดสินใจนโยบาย (Policy Decision) ข้ันก ารนานโยบายไปปฏิบัติ (Policy Implementation) ข้ันการประเมินนโยบาย (Policy Evaluation) และข้ันป้อนข้อมูลกลับ (Policy Feedback) 30 แผนปฏิบตั ิการปอ้ งกนั การทุจริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2
ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 กาหนดกลยุทธ์ และแนวทางตามกลยทุ ธ์ ดงั นี้ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 สกัดก้ันการทจุ ริตเชงิ นโยบาย กลยุทธ์ แนวทางตามกลยทุ ธ์ 1. วางมาตรการเสรมิ ในการสกัด 1.1 การตรวจสอบแนวนโยบายหาเสยี งของพรรคการเมือง กน้ั การทจุ ริตเชิงนโยบายบนฐาน 1.2 การพฒั นากระบวนการฉนั ทามติในการกอ่ ตวั นโยบาย ธรรมาภิบาล 1.3 การเผยแพร่ขอ้ มลู ข่าวสารท่ีเกีย่ วข้องกับนโยบาย 1.4 พัฒนากรอบชน้ี าการกาหนดนโยบายตามหลักธรรมาภิบาล 1.5 พัฒนาเกณฑช์ ีว้ ดั ความเสย่ี งของนโยบาย Policy Risk Indicator (PRI) 1.6 พัฒนาแนวปฏิบตั ิในการยอมรับนโยบายทผี่ ดิ พลาดและแสดง ความรบั ผิดชอบต่อสังคม 1.7 กาหนดมาตรการวเิ คราะหค์ วามเส่ยี งและการใชจ้ ่ายงบประมาณ 1.8 เสริมสรา้ งความโปร่งใสในกระบวนการพิจารณาร่างกฎหมาย ทเ่ี กีย่ วข้อง 1.9 การกาหนดความรบั ผิดชอบทางการเมืองของผดู้ ารงตาแหนง่ ทางการเมอื งเก่ยี วกับการทุจริตเชงิ นโยบาย 1.10 การกาหนดบทลงโทษในกรณที ี่มีการฝา่ ฝืนจรยิ ธรรม หรอื เปน็ ความผดิ ในทางบรหิ าร 1.11 การสรา้ งกลไกการตรวจสอบการใช้อานาจของฝ่ายบรหิ าร 1.12 พฒั นานวตั กรรมเพอ่ื เสรมิ สร้างความโปรง่ ใสในการนานโยบาย ไปสู่การปฏบิ ตั ิ 1.14 บรู ณาการการติดตามและประเมินนโยบาย 2. การรายงานผลสะท้อนการ - บรู ณาการและประมวลผลขอ้ มูลเพ่อื การรายงานนโยบาย สกดั กั้นการทุจรติ เชิงนโยบาย (Policy Cycle Feedback) 3. การพฒั นานวตั กรรมสาหรบั - การพฒั นานวตั กรรมสาหรบั การสง่ เสรมิ ภาคธุรกิจเอกชน สื่อมวลชน การรายงานและตรวจสอบ และประชาชนใหเ้ ข้ามามสี ว่ นร่วมในการตรวจสอบ ธรรมาภิบาลในการนานโยบาย ไปปฏิบตั ิ 4. สง่ เสรมิ ใหม้ ีการศกึ ษา 4.1 ศกึ ษา วิเคราะห์ เพ่ือสร้างองค์ความรู้ในการตรวจสอบการทจุ ริต วิเคราะห์ ตดิ ตาม และตรวจสอบ เชิงนโยบายขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ การทจุ รติ เชิงนโยบายในองค์กร 4.2 เผยแพร่องค์ความรู้ในการดาเนนิ นโยบายอยา่ งโปร่งใส ปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน และไร้การทุจรติ ใหแ้ ก่องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ 31 แผนปฏิบัติการปอ้ งกนั การทุจริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2
ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 “พัฒนาระบบปอ้ งกันการทุจริตเชงิ รุก” ยุทธศาสตรน์ ี้มุ่งเน้นการพัฒนากลไกและกระบวนงานด้านการป้องกันการทุจริตของประเทศไทย ให้มีความเข้มแข็งและมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน เพื่อลดโอกาสการทุจริตหรือทาให้การทุจริตเกิดยากขึ้น หรือไม่เกิดข้นึ โดยอาศัยท้ังการกาหนดกลไกด้านกฎหมาย กลไกทางการบริหาร และกลไกอ่ืน ๆ ตลอดจน เสรมิ สร้างการปฏบิ ัติงานของหนว่ ยงานทงั้ ภาครัฐ และเอกชนใหม้ ีธรรมาภิบาลมากยงิ่ ขน้ึ ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 กาหนดกลยุทธ์ และแนวทางตามกลยทุ ธ์ ดงั นี้ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 พฒั นาระบบปอ้ งกันการทจุ ริตเชงิ รุก กลยทุ ธ์ แนวทางตามกลยุทธ์ 1. เพม่ิ ประสิทธภิ าพระบบงาน 1.1 พฒั นามาตรการเชงิ รุกที่สามารถแกไ้ ขปัญหาการทุจริตในแต่ละ ปอ้ งกนั การทจุ ริต ระดบั 1.2 พัฒนาระบบการทางานแบบบรู ณาการระหว่างภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม 1.3 เพม่ิ บทบาทของภาคเอกชน และภาคประชาสังคมในการเข้ามา มีส่วนร่วมกบั ระบบการปอ้ งกนั การทจุ รติ 1.4 ยกระดบั กลไกการกากับ ตดิ ตาม และประเมินผลการป้องกัน การทจุ ริต 2. สร้างกลไกการป้องกนั เพื่อ 2.1 สรา้ งกลไกปอ้ งกันเพือ่ ยบั ยงั้ การทุจรติ ยับย้งั การทุจริต 2.2 นาขอ้ เสนอแนะจากกลไกปอ้ งกนั เพือ่ ยับยัง้ การทจุ ริตสกู่ ารปฏิบัติ 2.3 กาหนดกลไกการตดิ ตามและประเมนิ ผลการนาข้อเสนอแนะไปสู่ การปฏิบัติ 32 แผนปฏิบตั ิการป้องกนั การทจุ ริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2
ยุทธศาสตร์ที่ 4 พฒั นาระบบป้องกันการทุจริตเชิงรุก กลยุทธ์ แนวทางตามกลยุทธ์ 3. พัฒนานวตั กรรมและ 3.1 พัฒนานวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ในระบบบริหารงาน เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือลด สาธารณะ เพื่อลดขัน้ ตอน หรอื กระบวนการใชด้ ุลยพินจิ ของเจ้าหน้าท่รี ัฐ ปัญหาการทุจริต 3.2 พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารท่ีเปิดโอกาสให้ ประชาชนสามารถศึกษา เรยี นรู้ และหาข้อมลู เกย่ี วกับการป้องกนั การทจุ รติ (กาหนดเรื่องที่ประชาชนให้ความสนใจ) 4. พัฒนารูปแบบการส่อื สาร 4.1 พฒั นาและยกระดับรูปแบบการสอื่ สารสาธารณะเพอ่ื ปรับเปลีย่ น สาธารณะเชงิ สรา้ งสรรค์เพอื่ พฤติกรรม ปรับเปล่ียนพฤตกิ รรม 4.2 กาหนดแผนการติดต่อสอ่ื สารการตลาด (Integrated Marketing Communication : IMC) เพื่อการปรบั เปลี่ยนพฤตกิ รรม 5. การพัฒนา วิเคราะหแ์ ละ 5.1 พฒั นาเกณฑ์มาตรฐานการประเมินด้านคุณธรรมและความโปรง่ ใส บรู ณาการระบบการประเมินด้าน ในการดาเนินงานของหน่วยงาน คุณธรรมและความโปร่งใส 5.2 การบูรณาการระบบการประเมินด้านคุณธรรมและความโปรง่ ใส ในการดาเนนิ งานของหน่วยงาน ในการดาเนินงานของหนว่ ยงาน เพ่ือเช่อื มโยงกับแนวทางการ ยกระดบั คะแนนดัชนกี ารรับรู้ การทุจริตของประเทศไทย 6. สนับสนนุ ใหภ้ าคเอกชน 6.1 สง่ เสริมการดาเนินงานตามหลกั บรรษัทภิบาล ดาเนนิ การตามหลัก 6.2 สรา้ งแรงจงู ใจในการเปน็ ตัวอยา่ งองคก์ รภาคเอกชนทีป่ ฏิบตั ิตาม บรรษัทภบิ าล หลกั ธรรมาภบิ าล 6.3 กาหนดบทลงโทษกับภาคเอกชนที่มีส่วนเก่ยี วข้องกบั การทุจรติ อย่างเดด็ ขาดและรุนแรง 7. พฒั นาสมรรถนะและ 7.1 พฒั นาและยกระดบั การพัฒนาบุคลากรด้านงานป้องกนั และ องคค์ วามรเู้ ชงิ สรา้ งสรรค์ของ ปราบปรามการทจุ ริต ให้มีความเป็นมืออาชพี และเป็นไปตาม บุคลากรด้านการปอ้ งกนั มาตรฐานสากล การทุจริต 7.2 ตอ่ ยอด ขยายผล องคค์ วามร้เู ชงิ สร้างสรรค์ สาหรับการป้องกัน การทจุ ริต 8. การพฒั นาระบบและส่งเสรมิ 8.1 นโยบายและแนวปฏิบตั ิเชงิ ป้องกนั เพ่อื ต่อตา้ นการทจุ ริต การดาเนนิ การตามอนุสญั ญา 8.2 ปรับปรงุ ประมวลจรยิ ธรรมสาหรบั เจา้ หน้าท่ีของรฐั ให้รองรบั สหประชาชาตวิ า่ ดว้ ยการตอ่ ต้าน การปอ้ งกนั การทุจริต การทจุ ริต ค.ศ. 2003 (United 8.3 สร้างแนวทางการปอ้ งกันการจัดซ้ือจัดจ้างและการจัดการคลงั Nations Convention against ของรัฐ Corruption : UNCAC) 8.4 การรวบรวม การแลกเปล่ยี น การวิเคราะหข์ ้อมูลขา่ วสารเกีย่ วกบั การทุจรติ 33 แผนปฏิบตั ิการป้องกนั การทจุ ริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2
ยุทธศาสตรท์ ี่ 5 “ปฏริ ูปกลไกและกระบวนการการปราบปรามการทจุ ริต” ยุทธศาสตร์การปฏิรูปกลไกและกระบวนการการปราบปรามการทุจริตเป็นยุทธศาสตร์ที่มุ่งเน้น การปรับปรุงและพัฒนากลไกและกระบวนการต่าง ๆ ของการปราบปรามการทุจริตท้ังระบบให้สามารถ ดาเนินการไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ซ่งึ ในการปฏิรปู กลไกและกระบวนการปราบปรามการทุจริตดังกล่าว จะมุ่งเน้น การเพิ่มประสิทธิภาพในการตราเป็นกฎหมาย (Legislation) การบังคับใช้กฎหมาย (Enforcement) การตัดสินคดีและลงโทษผู้กระทาผิด (Judiciary) การบูรณาการร่วมกันของหน่วยงานต่าง ๆ ในกระบวนการปราบปรามการทจุ ริต และจะมกี ารใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยในการ พฒั นากลไกการดาเนินงานให้มีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึนซึ่งยุทธศาสตร์น้ีจะทาให้การปราบปรามการทุจริต เป็นไปอย่างรวดเรว็ และมีประสิทธิภาพมากย่งิ ขน้ึ คดีการทจุ รติ จะถกู ดาเนินการอย่างรวดเร็ว และผู้กระทา การทจุ ริตจะได้รับการลงโทษสาธารณชนและสังคมเกิดความตระหนักและเกรงกลัวที่จะกระทาการทุจริต อนั จะส่งผลใหค้ ดีการทจุ รติ มีอตั ราลดลงได้ในทีส่ ุด ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 5 กาหนดกลยทุ ธ์และแนวทางตามกลยุทธ์ ดงั น้ี ยุทธศาสตร์ที่ 5 “ปฏริ ูปกลไกและกระบวนการการปราบปรามการทจุ ริต” กลยุทธ์ แนวทางตามกลยทุ ธ์ 1. ปรับปรงุ ระบบรบั เรื่อง 1.1 การปรับปรุงระบบการรับเรื่องรอ้ งเรียนของหนว่ ยงานต่อตา้ น รอ้ งเรียนการทุจรติ ให้มี การทุจริตต่าง ๆ ใหม้ ีความรวดเรว็ เข้าถงึ ได้โดยงา่ ย ประสิทธิภาพ 1.2 การสร้างความเชื่อมนั่ และความไวว้ างใจตอ่ ระบบการรับเร่ือง รอ้ งเรียน 2. ปรับปรงุ การตรวจสอบ 2.1 การพฒั นาระบบการตรวจสอบความเคลอ่ื นไหวและการตรวจสอบ ความเคลือ่ นไหวและความ ความถูกตอ้ งของทรพั ย์สินและหน้ีสนิ รวมไปถึงระบบการติดตาม ถูกตอ้ งของทรัพย์สินและหนี้สนิ ทรพั ยส์ ินคนื จากการทุจรติ 34 แผนปฏิบตั ิการป้องกันการทุจริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 5 “ปฏริ ูปกลไกและกระบวนการการปราบปรามการทุจริต” กลยุทธ์ แนวทางตามกลยทุ ธ์ 2.2 การกาหนดกลมุ่ เปา้ หมายในการตรวจสอบทรัพยส์ ินและหน้สี ินให้ ครอบคลมุ ถึงโอกาสในการทุจริต 3. ปรับปรุงกระบวนการและ 3.1 การปรับปรุงกระบวนการปราบปรามการทจุ รติ ให้มีความรวดเร็ว พัฒนากลไกพเิ ศษในการ ยงิ่ ขึ้น ปราบปรามการทจุ ริตท่ีมี 3.2 การสรา้ งมาตรฐานการดาเนนิ การปราบปรามการทุจริต ความรวดเร็วและมปี ระสทิ ธภิ าพ 3.3 การพฒั นากลไกพิเศษ (Fast Track) ในการปราบปรามการทุจริต 3.4 การเพิ่มบทบาทในการปราบปรามการทุจรติ ของหนว่ ยงานภาครฐั ตน้ สังกดั 4. ตรากฎหมายและการบังคับใช้ 4.1 การตรากฎหมายหรอื ปรบั ปรุงกฎหมายให้เทา่ ทนั ตอ่ พลวตั ของ กฎหมายในการปราบปรามการ การทุจรติ ทจุ ริตให้เทา่ ทนั ต่อพลวตั ของการ 4.2 การตรากฎหมายหรือปรับปรงุ กฎหมายเพ่อื สนับสนนุ ใหห้ นว่ ยงาน ทจุ ริตและสอดคล้องกบั ในกระบวนการปราบปรามการทุจริตดาเนนิ การได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ สนธสิ ัญญาและมาตรฐานสากล และสอดคล้องกบั สนธิสัญญาและมาตรฐานสากล 4.3 การประเมนิ ติดตามการอนุวัติการตามสนธสิ ัญญา เพือ่ ให้ความเหน็ ทางกฎหมายในการเสนอแกไ้ ขกฎหมายและกระบวนการปราบปราม การทุจรติ ใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานสากล 4.4 การบงั คับใช้กฎหมายและดาเนนิ คดีตามระดับความเสียหาย ความเรง่ ดว่ น และสถิติการทุจรติ 4.5 การบังคับใชก้ ฎหมายและดาเนินคดเี ฉพาะในแต่ละพืน้ ทข่ี องประเทศ 4.6 การบูรณาการกบั หน่วยงานภาครัฐต้นสงั กดั ในการบังคบั ใช้ กฎหมายและลงโทษทางอาญาหรือทางวนิ ยั ในความผดิ เกย่ี วกับ การทุจริตหรือจรยิ ธรรมของเจา้ หน้าท่รี ฐั 5. บรู ณาการขอ้ มูลและข่าวกรอง 5.1 พฒั นาระบบฐานขอ้ มลู ประกอบการปราบปรามการทุจรติ ระหว่าง ในการปราบปราม หนว่ ยงานปราบปรามการทุจรติ การทจุ ริต 5.2 จดั ตั้งประชาคมข่าวกรองดา้ นการปราบปรามการทจุ ริต 5.3 การประสานความรว่ มมอื กับองค์กรสือ่ มวลชน ส่อื สาธารณะ หนว่ ยงานประชาสงั คมและหนว่ ยงานธรุ กจิ เอกชน เกย่ี วกับข้อมูลและ ข่าวกรองประกอบการปราบปรามการทจุ ริต 6. การเพิ่มประสิทธิภาพในการ 6.1 การมมี าตรการในการคมุ้ ครองพยาน (Witness) และผู้ใหเ้ บาะแส คุม้ ครองพยานและผู้แจง้ เบาะแส (Whistleblower) ทม่ี ีความนา่ เช่ือถอื และสร้างความมน่ั ใจแก่ผู้ถกู คุ้มครองได้ (Whistleblower) และเจ้าหน้าที่ 6.2 การมีมาตรการในการคมุ้ ครองเจา้ หนา้ ท่ผี ู้ปฏิบัติงานในกระบวนการ ในกระบวนการปราบปราม ปราบปรามการทจุ ริต การทุจรติ 6.3 การกาหนดรางวลั หรือสิ่งจงู ใจในการแจ้งเบาะแสในคดี ..... 35 แผนปฏิบัติการปอ้ งกันการทจุ ริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2
ยุทธศาสตร์ที่ 5 “ปฏิรปู กลไกและกระบวนการการปราบปรามการทุจรติ ” กลยุทธ์ แนวทางตามกลยทุ ธ์ 7. พัฒนาสมรรถนะและ 7.1 การพฒั นาองค์ความรู้ ทักษะ และขีดความสามารถ รวมไปถงึ ความรู้ องค์ความรเู้ ชิงสหวทิ ยาการของ ในเชิงสหวิทยาการใหแ้ กเ่ จ้าหนา้ ที่ปราบปรามการทจุ ริต (Non-training) เจ้าหน้าที่ในกระบวนการ 7.2 การพัฒนาเจ้าหน้าที่ปราบปรามการทุจรติ ให้มคี วามรู้ ทกั ษะ ปราบปรามการทุจริต และขดี ความสามารถทเี่ ปน็ มาตรฐานและเท่าทนั ต่อพลวัตของการทุจริต (Training) 7.3 การแบ่งปนั ความรู้ (Knowledge Sharing) และแลกเปล่ียน เจา้ หน้าที่ปราบปรามการทุจริต 8. การเปดิ โปงผ้กู ระทาความผดิ - การเปิดโปงการทุจริตอย่างสรา้ งสรรคแ์ ละพัฒนาชอ่ งทาง ให้สาธารณชนรบั ทราบและ ในการเผยแพรเ่ ปิดโปงการทจุ ริตที่เข้าถึงการรับรู้ของสาธารณชน ตระหนกั ถงึ โทษของการกระทา อย่างกว้างขวาง การทุจรติ เมอ่ื คดีถึงทส่ี ุด 9. การเพ่ิมประสิทธิภาพในการ - จัดใหม้ ีทรัพยากรทีเ่ หมาะสมเพื่อรองรบั การเพม่ิ ขน้ึ ของปรมิ าณคดี ดาเนนิ คดที ุจริตระหว่างประเทศ ทุจริตระหวา่ งประเทศตามกรอบความรว่ มมอื ทางเศรษฐกจิ และสังคมท่ี เปล่ียนแปลงไป 36 แผนปฏิบตั ิการปอ้ งกนั การทุจริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2
ยุทธศาสตรท์ ่ี 6 “ยกระดับคะแนนดัชนีการรบั รูก้ ารทจุ รติ (Corruption Perceptions Index : CPI) ของประเทศไทย” เป็นการกาหนดยุทธศาสตร์ที่มุ่งเน้นการยกระดับมาตรฐานด้านความโปร่งใสและการจัดการการ ยกระดับคา่ ดัชนีการรับร้กู ารทจุ ริตของประเทศไทย โดยการศึกษาวิเคราะห์ประเด็นการประเมินและวิธีการ สารวจตามแต่ละแหล่งข้อมูล และเร่งรัด กากับ ติดตามให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องปฏิบัติหรือปรับปรุงการ ทางาน รวมไปถึงการบูรณาการการทางานร่วมกันระหว่างภาครัฐ หน่วยงานในกระบวนการยุติธรรม ภาคเอกชน และตา่ งประเทศโดยมกี ลยุทธ์การดาเนินงาน ได้แก่ ยุทธศาสตร์ท่ี 6 กาหนดกลยทุ ธ์ และแนวทางตามกลยทุ ธ์ ดงั นี้ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 6 “ยกระดับคะแนนดชั นกี ารรบั รู้การทุจริตของประเทศไทย” กลยทุ ธ์ แนวทางตามกลยุทธ์ 1. ศกึ ษา และกากบั ติดตาม 1.1 ศึกษา วิเคราะห์ประเดน็ การประเมินและวิธกี ารสารวจตาม การยกระดบั ดชั นีการรบั รู้ แต่ละแหลง่ ข้อมลู ทใี่ ช้สาหรับการจดั อันดบั ดัชนีการรบั รกู้ ารทุจริต (CPI) การทุจริต(Corruption 1.2 บรู ณาการหน่วยงานท่เี กี่ยวข้องเพอ่ื ยกระดับดชั นกี ารรบั รู้ Perceptions Index :CPI) การทุจริตของประเทศ (CPI) ของประเทศไทย 1.3 เรง่ รัด และกากบั ติดตามการดาเนนิ การยกระดับดชั นีการรับรู้ การทุจริตของประเทศ (CPI) 1.4 การจัดการการรับรู้ (Perceptions) 37 แผนปฏิบัติการปอ้ งกันการทุจริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2
ยุทธศาสตรท์ ่ี 6 “ยกระดับคะแนนดัชนีการรับรกู้ ารทจุ รติ ของประเทศไทย” กลยทุ ธ์ แนวทางตามกลยุทธ์ 2. บูรณาการเป้าหมาย 2.1 วิเคราะห์และเชอื่ มโยงเป้าหมายยทุ ธศาสตรช์ าตวิ า่ ดว้ ย ยทุ ธศาสตร์ชาตวิ า่ ดว้ ย การป้องกันและปราบปรามการทจุ รติ ระยะท่ี 3 (ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 - การปอ้ งกันและปราบปราม ยุทธศาสตร์ท่ี 5) เพ่ือยกระดับดชั นีการรับรูก้ ารทจุ รติ (CPI) ของ การทจุ ริตเพอื่ ยกระดบั ดัชนี ประเทศ การรบั รู้การทจุ รติ (Corruption 2.2 กากบั ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการดาเนินการตามยุทธศาสตร์ Perceptions Index : CPI) ของประเทศไทย นโยบายรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จนั ทรโ์ อชา ทแี่ ถลงต่อสภานิติบญั ญตั ิแห่งชาติ ตามที่คณะรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้แถลงนโยบายต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เมือ่ วนั พฤหสั บดที ่ี 25 กรกฎาคม 2562 รวมนโยบายหลกั 12 ด้าน ด้านท่ี 12 การป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ และประพฤติมชิ อบ และกระบวนการยุตธิ รรม แก้ไขปัญหาการทุจริตและประพฤติมอชอบ โดยจัดให้มีมาตรการและระบบเทคโนโลยีนวัตกรรม ทช่ี ว่ ยป้องกนั และลดการทจุ รติ ประพฤติมชิ อบอย่างจริงจังและเข้มงวด รวมทั้งเป็นเครื่องมือในการติดตาม การแก้ไขปัญหาการทุจริตและประพฤติมิชอบอย่างเป็นระบบ พร้อมท้ังเร่งสร้างจิตสานึกของคนไทย ใหย้ ดึ มั่นในความซ่ือสัตย์ สุจริต ถูกต้อง ชอบธรรม และสนับสนุนทุกภาคส่วนให้มามีส่วนร่วมในการป้องกัน และเฝ้าระวงั การทุจรติ ประพฤติมิชอบ นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (นายณัฏฐพล ทปี สวุ รรณ) ตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติและแผนปฏิรูปประเทศ ด้านการศึกษากาหนดให้มีการ พัฒนาเดก็ ต้ังแตร่ ะดบั ปฐมวยั ใหม้ สี มรรถนะและคุณลักษณะท่ีดี สมวัยทุกด้าน โดยการปฏิรูปกระบวนการ เรียนรู้ท่ีตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลงในศตวรรษท่ี ๒๑ ตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์ท่ีหลากหลาย มเี ป้าหมายให้ผู้เรียนทุกกลุ่มวัยได้รับการศึกษาท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะที่จาเป็นของโลกอนาคต สามารถแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิผล มีวินัย มีนิสัยใฝ่เรียนรู้ อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต รวมท้ังเป็นพลเมืองท่ีรู้สิทธิและหน้าที่ มีความรับผิดชอบ และมีจิตสาธารณะ กระทรวงศึกษาธิการจึงกาหนดนโยบายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ท่ีเกี่ยวข้องกับการต่อต้านการ ทุจริต โดยกาหนดจุดเน้นท่ี 6 การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ มุ่งเน้นกิจกรรมการ ปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ และประพฤตมิ ชิ อบ 38 แผนปฏิบตั ิการป้องกันการทุจริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2
ส่วนที่ 3 แผนปฏิบตั กิ ารป้องกนั การทจุ รติ ของสานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แผนงาน บูรณาการต่อตา้ นการทจุ ริตและประพฤตมิ ิชอบ โครงการ เสรมิ สร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภบิ าลในสถานศึกษาและสานกั งาน เขตพนื้ ท่ีศึกษา กิจกรรม เสรมิ สรา้ งคณุ ธรรม จริยธรรมและความตระหนักรู้ในการปอ้ งกนั และปราบปรามการ ทุจรติ กิจกรรม เสริมสร้างธรรมาภบิ าลเพือ่ เพ่ิมประสิทธภิ าพในการบรหิ ารจดั การ กจิ กรรม การพัฒนานวัตกรรมการป้องกนั การทุจริตเชงิ รุก หน่วยงาน สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 1. เหตผุ ลความจาเป็น ด้วย ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันปราบปรามการทุจริต ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) ได้กาหนดวิสัยทัศน์ว่า “ประเทศไทยใสสะอาด ไทยทั้งชาติต้านทุจริต (Zero Tolerance & Clean Thailand)” มพี นั ธกจิ ในการสร้างวัฒนธรรมต่อต้านการทุจริต ยกระดับธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ ทุกภาคส่วนแบบบูรณาการและปฏิรูปกระบวนการป้องกันและปราบปรามการทุจริตท้ังระบบ ให้มีมาตรฐานสากล โดยมีเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ คือ ประเทศไทยได้รับการประเมินดัชนีการรับรู้การ ทุจริต (Corruption Perceptions Index : CPI) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 นอกจากนี้ ทิศทางการพัฒนา ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 ยังมีความสอดคล้องกับทิศทางของ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 (ยุทธศาสตร์ที่ 6 ด้านการเพ่ิมประสิทธิภาพและธรรมาภิบาล ในภาครัฐ) และทิศทางยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ยุทธศาสตร์การปลูกฝัง “คนไทยไม่โกง” และยุทธศาสตร์การ ป้องกันดว้ ยการเสรมิ สร้างสังคมธรรมาภบิ าล) อกี ด้วย ทั้งน้ี แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12 มีแผนงานและโครงการสาคัญท่ีเก่ียวข้องกับการดาเนินงาน ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (สพฐ.) คือ ยุทธศาสตร์ท่ี 6 ด้านการเพ่ิมประสิทธิภาพ และธรรมาภิบาลในภาครัฐ แผนงานที่ 5.9 การสร้างกลไก “ยับย้ัง” และ “สร้างความตระหนักรู้” เพือ่ ป้องกันการทจุ ริต ทก่ี ลา่ วถึงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษา ภายใต้ กรอบแนวคิด “โรงเรยี นสจุ ริต” เพื่อสร้างองค์ความรู้และกระบวนการเรียนรู้ท่ีเท่าทันต่อการเปล่ียนแปลง ปลกู จติ สานกึ ทักษะกระบวนการคดิ มวี นิ ยั ซอื่ สัตย์ อยู่อย่างพอเพียง จิตสาธารณะ ซ่ึงตรงกับคุณลักษณะ 5 ประการของโรงเรียนสุจริต สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ตระหนักในความสาคัญของการ เตรียมการด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ และแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ เพ่ือร่วมสร้าง จิตสานึกและค่านิยมให้ทุกภาคส่วนต่ืนตัว ละอายต่อการทุจริตประพฤติมิชอบทุกรูปแบบ เพื่อวางรากฐาน การปลูกจิตสานึก ซ่งึ เป็นกลไกในการป้องกันและปราบปรามการทจุ รติ ของประเทศชาติ 39 แผนปฏิบัติการปอ้ งกนั การทุจริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2
2. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อปลูกฝังให้บคุ ลากรของสานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษา มพี ฤติกรรมร่วมต้านการทุจริตในวงกว้าง ทั้งในระดับ สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษา และชมุ ชน 2. เพอื่ ยกระดบั ธรรมาภบิ าลในการบรหิ ารการจัดการของสานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษา 3. เพื่อพัฒนานวตั กรรมป้องกันและยบั ย้ังการทจุ ริตเชงิ รุก สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาให้เข้มแข็ง และมีประสิทธภิ าพ 3. เป้าหมาย สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาท่ีรับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงาน (Integrity and Transparency Assessment: ITA) มีการปรับปรุงหรือพัฒนาในเรื่องคุณธรรมและความ โปร่งใสในการดาเนนิ งาน ยึดหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงาน อีกท้ังมีการยกระดับความโปร่งใสในการ ดาเนินงานอยา่ งตอ่ เนอื่ ง 4. กลุ่มเป้าหมายโครงการ บคุ ลากรทางการศึกษา ในสังกัดสานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 2 จานวน 75 คน 5. ค่าเป้าหมายและตัวช้วี ัด แผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ ประเด็น การต่อต้านการทุจริตและ ประพฤตมิ ชิ อบ 1. แผนยอ่ ยการปอ้ งกนั การทุจรติ และประพฤติมิชอบ เป้าหมาย ตัวชี้วัด ปี 2564 ร้อยละ 48 1. ประชาชนมีวฒั นธรรมและ 1. ร้อยละของประชาชนที่มีวัฒนธรรม ค่านิยม พฤตกิ รรมซ่อื สตั ยส์ ุจริต สุจริต มีทัศนคติและพฤติกรรมในการต่อต้าน ร้อยละ 65 การทจุ ริตและประพฤติมชิ อบ (85 คะแนนข้นึ ไป) 2. ร้อยละของหน่วยงานที่ผ่านเกณฑ์การ ประเมนิ ITA 40 แผนปฏิบตั ิการป้องกันการทุจริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2
6. กจิ กรรม - ตัวชี้วัด – เป้าหมาย – งบประมาณ กิจกรรม ตวั ชว้ี ดั เปา้ หมาย งบประมาณ หนว่ ยนับ จานวน 1. การประกาศเจตนารมณ์/ ร้อยละของบคุ ลากรใน ร้อยละ 85 - กาหนดนโยบาย สานกั งานเขตพ้ืนท่ี การศึกษา เกดิ ความ ตระหนักรใู้ นการป้องกนั การทุจริต มีคา่ นยิ มร่วม ตา้ นทจุ รติ มีจติ สานกึ สาธารณะ และสามารถ แยกแยะระหวา่ ง ผลประโยชน์ส่วนตนและ ผลประโยชนส์ ว่ นรวม 2. ปรบั ฐานความคิดบคุ ลากร ร้อยละของจานวน รอ้ ยละ 80 80,000 ให้สามารถแยกระหว่าง บคุ ลากรเป้าหมาย มคี วาม ผลประโยชนส์ ่วนตัวและ ตระหนักและปฏิบัติหน้าที่ ผลประโยชน์ ใหเ้ ปน็ ไปตามแนวทางเรื่อง ส่วนรวม ผลประโยชน์ทบั ซ้อน 41 แผนปฏิบตั ิการปอ้ งกันการทุจริต ประจาปงี บประมาณ พ. สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบ
ระยะเวลาดาเนนิ การ ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 ผู้รับผิดชอบ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 64 64 64 64 64 64 64 64 64 กลมุ่ อานวยการ กล่มุ อานวยการ กลมุ่ พฒั นาฯ กลุม่ นเิ ทศฯ 41 .ศ. 2564 บุรี เขต 2
กิจกรรม ตัวชีว้ ัด เป้าหมาย งบประมาณ หน่วยนับ จานวน 3. ส่งเสรมิ กจิ กรรมทาความ ร้อยละของจานวน รอ้ ยละ 80 - 85 ดี เพอ่ื สาธารณะ แบง่ ปนั บุคลากรที่ไดร้ บั การพฒั นา 1 - - ลดความเห็นแก่ตัว โดยยึด ความรเู้ กี่ยวกบั คณุ ธรรม 80,000 หลกั พอเพียง มวี นิ ัย สจุ รติ และจริยธรรมและสามารถ จิตสาธารณะ นาความรู้ ที่ได้รับไปประยุกตใ์ ช้ ในการปฏบิ ัตหิ น้าที่ 4. สร้างการรบั รู้ และ ค่าคะแนนเฉลี่ย คะแนน ส่งเสริมให้บคุ ลากรมีความ การประเมนิ คณุ ธรรมและ เขา้ ใจและปฏบิ ตั ิตามเกณฑ์ ความโปรง่ ใสของ การประเมินด้านคณุ ธรรม สานกั งานเขตพ้นื ท่ี และความโปร่งใสในการ การศกึ ษา (ITA) ดาเนินงาน 5. การจดั ทาแผนปฏบิ ตั ิการ หน่วยงานมีแผนปฏิบัติ แผนปฏบิ ัติ ป้องกันและปราบปราม การปอ้ งกันการทจุ รติ การ การทจุ ริตของสานักงานเขต ประจาปี 2564 พืน้ ท่ีการศกึ ษา ประจาปี 2564 รวม 42 แผนปฏิบตั ิการป้องกันการทจุ ริต ประจาปงี บประมาณ พ. สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบ
ระยะเวลาดาเนินการ ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 ผู้รบั ผิดชอบ ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 64 64 64 64 64 64 64 64 64 กลุม่ อานวยการ กลุม่ นิเทศฯ กลมุ่ นโยบายและแผน 42 .ศ. 2564 บรุ ี เขต 2
7. ระยะเวลาดาเนินการ ต้งั แต่ 1 ตุลาคม 2564 ถงึ 30 กนั ยายน 2565 8. สถานท่ี/พืน้ ที่ดาเนนิ การ สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 2 9. ผลประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะได้รับ (Impact) 1. บคุ ลากรของสานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 2 มฐี านความคดิ ในการ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนกับผลประโยชนส์ ่วนรวม 2. สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 2 มีกลไกและกระบวนการป้องกันการทุจริต ท่ีเขม้ แข็งและเท่าทันตอ่ สถานการณก์ ารทุจรติ 3. ดัชนีการรับรูก้ ารทุจริต (Corruption Perceptions Index: CPI) ของประเทศไทยมแี นวโนม้ ที่ดีขึน้ 10. การติดตามประเมนิ ผล 1. การนิเทศ กากบั ติดตาม และการรายงานผลการดาเนนิ กิจกรรมสานกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาสจุ รติ 2. การรายงานผลการดาเนนิ กจิ กรรมของสานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษา ดว้ ยวธิ กี ารออนไลน์ ผา่ นทาง เว็บไซตโ์ ครงการโรงเรียนสุจรติ (www.uprightschool.net) 3. การประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาออนไลน์ (Integrity and Transparency Assessment Online: ITA Online) 43 แผนปฏิบัติการปอ้ งกนั การทจุ ริต ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2
Search