Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Volume 2

Volume 2

Published by kanokporn.i, 2018-01-22 21:28:24

Description: จุลสารกองการเจ้าหน้าที่ ฉบับที่ 2

Search

Read the Text Version

Personnel News สํานักงานอธิการบดีฉบบั ท่ี 2 ประจาํ เดือนธันวาคม 2560 – มีนาคม 2561

คํานํา สวสั ดีค่ะ บคุ ลากรมหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ เนื่องในวารดิถี ขนึ้ ปี ใหม่2561 ขออัญเชิญคณุ พระศรรี ัตนตรยั และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ท่ีท่านนับถือ จงดลบนั ดาลให้ท่านและครอบครัวมีความสุข และมีสุขภาพดีกันทุกท่าน จุ ลสารฉบับน้ีเป็ นฉบับที่ 2 ทางทีมงานต้ องขอบพระคุณผู้อ่านจุลสารกองการเจ้าหน้าที่ พร้อมได้ ให้ข้อเสนอแนะที่เป็ นประโยชน์ต่อการจัดทําจุ ลสาร หากจุลสารกองการเจ้าหน้าที่มีข้อผิดพลาดประการใด ทีมงานจุลสารขอน้อมรับ และจะนําไปปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น พร้อมกันน้ีหากผู้อ่านสนใจเน้ือหาเก่ียวข้องกับกองการเจ้าหน้าที่ดูแลอยู่ ทางทีมงานยินดีท่ีจะนําเสนอข้อมูลให้กับผอู้ ่านในฉบับต่อไป ขอบพระคณุ มากค่ะ จินตนา แก้วสลับนิล บก.

สารบญัเรอ่ื ง หน้าคํานํา 1 4 การสรรหาอธิการบดคี นใหม่ 6 ช่ือ(ตําแหน่ง) นั้น : สําคัญไฉน ?? 10 แนวทางและวิธกี ารรา่ งขอ้ บังคับ ระเบยี บ และประกาศ 12 มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ 19 ขา้ ราชการเปลยี่ นสถานภาพแล้วลาออกจากมหาวทิ ยาลัย เพื่อขอรับบําเหน็จสมาชิก กบข. 21 23 โครงการพัฒนาผ้นู ํานักบริหารเพื่ออนาคตของ 25 มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ การคัดเลอื กอาจารย์ตัวอย่าง อาจารย์ตัวอย่างรุ่นใหม่ และผลงาน ดีเด่นของมหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ ประจาํ ปี 2560 เหรยี ญดษุ ฎีมาลาเขม็ ศลิ ปวิทยา โครงการตรวจสุขภาพ Happy 2017 การพิจารณาการปรบั ปรุงหลักเกณฑ์การพิจารณากําหนดตําแหน่ง ทางวิชาการ

การสรรหาอธิการบดีคนใหม่ คงพล มนวรนิ ทรกุล/งานบรหิ ารงานบคุ คลความเปนมา ตามท่ไี ดม ีพระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ แตงตัง้ รองศาสตราจารย ดร.ชูศักด์ิ ล่มิ สกลุ ใหด ํารงตําแหนงอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ตั้งแตวันท่ี 1 มถิ ุนายน 2558 ตามประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี ลงวันที่15 มิถุนายน 2558 นั้น เน่ืองจาก รองศาสตราจารย ดร.ชูศกั ด์ิ ล่มิ สกุล จะครบวาระในวนั ที่ 31 พฤษภาคม 2561แล ะปจจุบั นมห าวิ ทยาลัยสงขลาน ครินทรเปนห นวยงานในกํากั บข องรัฐ ตาม พระร าช บั ญญัติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร พ.ศ.2559 ซ่ึงประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2559 และมีผลบังคับใชต้ังแตวันที่ 21 กรกฎาคม 2560 เปนตนมา ซ่ึงในเบื้องตน ตามมาตรา 35 วรรคแรกกําหนดใหอธิการบดีตองเปน ผูม ีคณุ สมบตั แิ ละไมมีลกั ษณะตอ งหามตามมาตรา 37 และในวรรคสอง กําหนดให “หลักเกณฑแ ละวิธีการสรรหาอธิการบดี ใหเปนไปตามขอบังคบั ของมหาวิทยาลัย” เปนผลใหมหาวิทยาลัยสงขลานครินทรจะตอ งจัดทํากฎหมายลูก คือขอบังคับมหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทรเก่ียวกับหลกั เกณฑและวิธีการสรรหาอธิการบดี ฉบับใหมเพอื่ รองรบั การสรรหาอธกิ ารบดคี นใหมการจดั ทํารา งขอ บงั คับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วา ดว ยหลักเกณฑและวิธีการสรรหาอธกิ ารบดี ในการจัดทําขอบังคับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วาดวยหลักเกณฑและวิธีการสรรหาอธิการบดี ไดพิจารณาถึงรายละเอียดสําคัญตางๆหลายดานประกอบการยกราง ไดแก ขอกฎหมายตางๆ โดยเฉพาะพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร พ.ศ.2559 แนวปฏิบัติจากแนวขอบังคับเดิมของมหาวิทยาลัยการเปรียบเทียบกับกระบวนการการสรรหาอธิการบดีของสถาบันอุดมศึกษาอื่นๆ โดยพิจารณาถึงขอดีขอเสียที่เกิดขึ้นในกรณีศึกษาตางๆ ตลอดจนโครงสรางหนวยงานของมหาวิทยาลัยในปจจุบัน เปนตน ซึ่งลวนจะมีผลตอรปู แบบแนวการปฏิบัติ คณุ สมบตั แิ ละลกั ษณะตองหา มตางๆ และกระบวนการสรรหาอธกิ ารบดีท่ีจะเกิดขนึ้ งานบริหารงานบุคคล กองการเจาหนาท่ี ไดดําเนินการจัดทํารางขอบังคับมหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทรวาดวยหลักเกณฑและวิธีการสรรหาอธิการบดี นําเสนอคณะกรรมการชุดตางของมหาวิทยาลัย ไดแก ท่ีประชุมทีมบริหารมหาวิทยาลัย คณะกรรมการบริหารมหาวทิ ยาลัย (กบม.) คณะทํางานกลั่นกรองรางขอบังคบั ระเบียบและประกาศของมหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร และสภามหาวทิ ยาลัย ตามลาํ ดบั ในการพิจารณาใหความเห็นและกลั่นกรองรางขอบังคับดังกลาว ซึ่งขณะนี้กระบวนการจัดทําขอบังคับนี้ไดเสร็จสิ้นแลว โดยสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทรไดมีมติใหออกขอบังคับมหาวิทยาลยั สงขลานครินทร วาดวยหลักเกณฑและวิธีการสรรหาอธิการบดี จํานวน 2 ฉบบั คือ

1. ขอ บงั คบั มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร วา ดวยหลักเกณฑและวิธีการสรรหาอธิการบดี พ.ศ.25602. ขอ บงั คบั มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร วาดว ยหลกั เกณฑแ ละวิธกี ารสรรหาอธิการบดี (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ.2560(สามารถอา นรายละเอยี ดขอบังคับฯ ไดที่เว็บไซต http://www.personnel.psu.ac.th/per46.html)คณะกรรมการสรรหาอธิการบดีสภามหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร ในคราวประชุมครัง้ ท่ี 391(11/2560) เม่ือวันท่ี 18 พฤศจิกายน 2560มีมตแิ ตง ต้งั คณะกรรมการสรรหาอธิการบดี ดงั นี้(1) กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ผูทรงคณุ วฒุ ิ ประธานกรรมการ(ศาสตราจารยอาวุธ ศรีศกุ รี)(1) กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ผทู รงคณุ วุฒิ กรรมการ(ศาสตราจารยสนิท อักษรแกว )(2) กรรมการสภามหาวิทยาลัยผทู รงคณุ วฒุ ิ กรรมการ(ศาสตราจารยป ราณี กลุ ละวณิชย)(3) ผูทรงคณุ วุฒภิ ายนอกมหาวิทยาลัย กรรมการท่ีมิไดเ ปนกรรมการสภามหาวิทยาลัย(นายสมพร ใชบางยาง)(4) ประธานกรรมการสงเสริมกิจการมหาวิทยาลัย กรรมการ(นายบัญญตั ิ จนั ทนเสนะ)(5) ประธานสภาอาจารย กรรมการ(ผชู ว ยศาสตราจารยจ ุมพล ชน่ื จิตตศิร)ิ(6) ประธานสภาพนกั งาน กรรมการ(นายคมกริช ชนะศรี)(7) นายกสมาคมศษิ ยเกา มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร กรรมการ(นายสมพงษ เจรญิ สุข)(8) กรรมการสภามหาวิทยาลยั ตามมาตรา 20(5)(6) กรรมการแหงพระราชบญั ญัตมิ หาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทรพ.ศ.2559 ซง่ึ เลือกกันเอง(ผูชวยศาสตราจารยวศิน สวุ รรณรตั น)โ ด ย ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ชุ ด นี้ จ ะ ดํ า เ นิ น ก า ร ส ร ร ห า อ ธิ ก า ร บ ดี ต า ม วิ ธี ก า ร ที่ กํ า ห น ด ไ ว ใ น ข อ บั ง คั บมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วาดวยหลักเกณฑและวิธีการสรรหาอธิการบดี พ.ศ.2560 และแกไขเพิ่มเติม(ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2560 แลว เสนอชอื่ ผูสมควรดํารงตําแหนงอธิการบดตี อสภามหาวิทยาลยั เพอ่ื ดําเนนิ การตอ ไป





ชื่อ(ตําแหน่ง) นั้น : สําคัญไฉน ?? นวพร หอมจนั ทร/์ งานบรหิ ารงานบุคคล หลังจากที่มหาวิทยาลัยสงขลาครินทรไดเปลี่ยนมาเปนมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐบาล ตั้งแตวันท่ี21 กรกฎาคม 2559 ซึ่งตามขอบังคับมหาวิทยาลัยสงขลาครนิ ทร วาดวยการบริหารงานบุคคลพนักงานมหาวิทยาลัยพ.ศ. 2559 ไดแ บง ประเภทพนกั งานมหาวิทยาลยั ออกเปน 3 ประเภท ดังน้ี 1.ประเภทวชิ าการ แบงเปน 1) คณาจารยประจํา ไดแ ก ตาํ แหนงอาจารยผูชว ยศาสตราจารย รองศาสตราจารย ศาสตราจารย 2) ตาํ แหนงนักวจิ ัย ไดแ ก ตาํ แหนง นกั วิจัย ระดับ 1-4 2. ประเภทปฏิบตั กิ ารและวิชาชพี ไดแก 1) ตาํ แหนง วิชาชพี เฉพาะหรอื เชี่ยวชาญเฉพาะ(ตําแหนงที่บรรจุดวยวุฒิปรญิ ญาตรขี ึ้นไป) 2) ตาํ แหนง ทั่วไป (ตาํ แหนงท่บี รรจดุ วยวุฒติ ่าํ กวาปริญญาตร)ี 3. ประเภทบริหาร ซ่งึ เปน ตาํ แหนงผูบ รหิ ารระดบั มหาวิทยาลัย หรือหัวหนา สวนงานท่มี ีวาระในการดาํ รงตาํ แหนง หรือไมม วี าระ ไดแ ก ตําแหนงอธิการบดี รองอธิการบดี คณบดี ผูอํานวยการฯลฯตอมาไดม ีการกําหนดช่อื ตําแหนงและมาตรฐานกําหนดตําแหนงเพื่อกําหนดหนาท่ีความรับผิดชอบ ลักษณะงานทีป่ ฏิบัติและคุณสมบัติเฉพาะตําแหนง ตามประกาศมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร เร่ืองมาตรฐานกําหนดตําแหนงพนักงานมหาวิทยาลัย พ.ศ.2560 ซ่ึงพนักงานมหาวิทยาลัยประเภทวิชาการและประเภทปฏิบัติการและวิชาชีพ มีตําแหนงตางๆ ดงั น้ี• ศ.ตําแห ่นงวิชาการ• ทนั ตแพทย• นกั วิชาการ • พนกั งาน• รศ. ตําแหนงวิชา ีชพเฉพาะ• นายแพทยอุดศกึ ษา ปฏิบตั กิ าร• ผศ. ตําหนงเช่ียวชาญเฉพาะ• พยาบาล• อาจารย • เภสชั กร • นกั วิชาการ • พนักงานทาง• นกั วิจยั ตําแหนงท่ัวไป• นายสัตวแพทยเงนิ และบญั ชีการแพทย • สถาปนกิ • นักวิชาการ • บรรณารกั ษ • ชางเทคนคิ • นติ ิกร คอมพวิ เตอร • นกั ตรวจสอบ • แพทยแผนไทย ภายใน • นักกายภาพบําบัด • นักวทิ ยา • นักเทคนิค ศาสตร การแพทย • นกั วิทยาศาสตร • นกั รังสี สขุ ภาพ การแพทย • วศิ วกร • เจาหนาท่ี วจิ ยั

สําหรับตาํ แหนงใดท่ไี มไ ดกําหนดไวใหใชชอื่ ตาํ แหนงและมาตรฐานกาํ หนดตาํ แหนง ของขา ราชการพลเรอื นในสถาบันอดุ มศกึ ษากรณีตัวอยาง 1 ขาราชการตําแหนงบุคลากร เปลี่ยนสถานภาพเปนพนักงานมหาวิทยาลัย ยังคงใชช่ือตําแหนงและมาตรฐานกําหนดตําแหนงบุคลากรของขาราชการเดิม เนื่องจากตําแหนงบุคลากรไมไดกําหนดไวในมาตรฐานกําหนดตาํ แหนงของพนักงานมหาวทิ ยาลยักรณีตัวอยาง 2 ขาราชการตําแหนงนักวิชาการเงินและบัญชี เปล่ียนสถานภาพเปนพนักงานมหาวิทยาลัย ใหใชช่ือตําแหนงและมาตรฐานกําหนดตําแหนงนักวิชาการเงินและบัญชีของพนักงานมหาวิทยาลัยเพราะไดมีการกําหนดช่ือตําแหนง และมาตรฐานกาํ หนดตําแหนงไวแลว กรณีตําแหนงนักวิจัย ซึ่งจัดอยูในตําแหนงประเภทวิชาการ จะแตกตางจากตําแหนงนักวิจัยเดิมซ่ึงเปนสายสนับสนุน เนื่องจากกําหนดคุณสมบัตเิ ฉพาะตาํ แหนง เปนวุฒิระดับปริญญาเอกหรอื เทียบเทา และปฏิบัติงานเก่ยี วกับการคน ควาวิจัยทางวิชาการช้ันสูง อาจชว ยการเรยี นการสอนเปนทีป่ รึกษาของนิสิตนักศกึ ษาทางดานวชิ าการ เปนตน มีการเขาสูตําแหนงทางวิชาการเปนตําแหนงนักวิจัย ระดับ 1-4 สําหรับตําแหนงนักวิจัยเดิมท่ีเปนสายสนับสนุนอาจจะตองมกี ารเปลยี่ นตาํ แหนงตอไป ตําแหนงวิชาชีพเฉพาะ และตําแหนงเชี่ยวชาญเฉพาะ เหมือนหรือแตกตางกันอยางไรท่ีเหมอื นกันก็คือบรรจุดว ยวุฒิตัง้ แตระดับปริญญาตรีขึ้นไป อัตราเงินเดอื นแรกบรรจุ และอัตราเงินเดือนข้ันสูงเทากัน ท่ีตางกันคอื เงินคาตอบแทนกรณไี ดรบั การแตง ต้ังใหดํารงตาํ แหนงสูงขึ้น โดยตําแหนง วิชาชีพเฉพาะเม่ือไดรับการแตง ต้ังใหดํารงตําแหนงระดับชํานาญการ จะไดรับเงินคาตอบแทน 3,500 บาท และระดับชํานาญการพิเศษ จะไดรับเงินคาตอบแทน 5,600 บาท ในขณะท่ีตําแหนงเช่ียวชาญเฉพาะเมื่อไดรับการแตงตั้งใหดํารงตําแหนง ระดับชํานาญการ ยังไมไดร บั เงนิ คาตอบแทน และเม่อื ดาํ รงตาํ แหนงระดับชํานาญการพเิ ศษ จะไดร บั เงินคา ตอบแทน 3,500 บาท สําหรบั มาตรฐานกําหนดแหนงของพนักงานมหาวิทยาลัยประเภทปฏิบตั ิการและวิชาชีพจะแตกตางจากของขา ราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศกึ ษา กลา วคอื ตําแหนง พนักงานมหาวิทยาลัย ระดบั ปฏบิ ตั กิ ารจะแยกหนาท่ีความรับผิดชอบและลกั ษณะงานท่ีปฏบิ ัติเปนรายตาํ แหนง เชน ตําแหนง นักวิชาการอุดมศกึ ษาปฏิบตั ิการ พยาบาลปฏิบตั กิ ารนิติกรปฏิบัติการ สวนระดับชํานาญการ ระดับชํานาญการพิเศษ ทุกตําแหนงจะใชมาตรฐานกําหนดตําแหนงเดียวกันโดยไมไดแยกเปนรายตําแหนง สวนของขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา จะแยกหนาท่ีความรับผิดชอบ และลักษณะงานทป่ี ฏิบัติเปนแตละระดบั ตําแหนง เชน บคุ ลากรปฏบิ ัตกิ าร บุคลากรชํานาญการ บคุ ลากรชาํ นาญการพิเศษเปนตน ดังนั้น ในระยะแรกๆ ของการเปนมหาวทิ ยาลยั ในกํากับของรัฐบาล ระเบียบหลกั เกณฑบางอยางยังคงยึดโยงอยูกับระบบราชการ เชน ตําแหนง และคาตอบแทนตามท่ีกลาวขางตน แตอยางไรก็ตามมหาวิทยาลัยไดมีการปรับเปลี่ยนและกําหนดชื่อตําแหนงและมาตรฐานกําหนดตําแหนงของพนักงานมหาวิทยาลัยขึ้นใหมซ่ึงนาจะทําใหเกิดคลองตวั ในการบริหารจดั การและเกิดประสิทธิภาพตอองคกรตอไป

แนวทางและวิธีการร่างขอ้ บังคับ ระเบียบ และประกาศ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ สุรศักด์ิ สุวลักษณ์/งานวินัยและนิติการ พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร พ.ศ. 2559 เปนกฎหมายแมบทที่ใหอํานาจสภามหาวิทยาลัยมอี ํานาจหนา ท่ใี นการออกขอบังคับ ระเบียบ และประกาศของมหาวิทยาลัย ซึ่งเปนกฎหมายลําดบัรอง โดยกําหนดวาเรื่องใดจะตองออกเปนขอบังคบั ระเบียบ หรอื ประกาศ ที่เรยี กวา “กฎ” ตามพระราชบัญญัติวิธีปฏบิ ตั ริ าชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 เน้ือหาสาระของขอบังคับ ระเบียบ และประกาศที่ออกจะตองอยูในขอบเขตที่พระราชบัญญัติใหอํานาจไว มิฉะนั้นแลวจะเปนเรื่องที่เกินอํานาจของพระราชบัญญัติ หรือเปนการนอกเหนืออํานาจ และตองดําเนินการใหถูกตองในเร่ืองของแบบพิธีตามท่ีกําหนด คือกอนที่สภามหาวิทยาลัยจะออกกฎดังกลาวมาใชบังคับจะตองผา นการพิจารณากลัน่ กรองของคณะกรรมการบรหิ ารมหาวิทยาลัย ขอ บังคบั ขอ บังคบั คือ บรรดาขอ ความทีผ่ ูมอี าํ นาจหนา ที่กาํ หนดใหใ ชโดยอาศยั อาํ นาจของกฎหมายที่บัญญัติใหกระทาํ ได ระเบียบ ระเบียบคือ บรรดาขอความท่ีผูมีอํานาจหนาท่ีไดวางไว โดยจะอาศัยอํานาจของกฎหมายหรือไมก็ได เพื่อถือเปนหลักปฏิบัติงานเปนการประจํา หากเปนขอความท่ีผูมีอํานาจหนาท่ีกําหนดใหใช โดยอาศัยอํานาจของกฎหมายที่บัญญัติใหกระทําจะตองอยูในขอบเขตท่ีพระราชบัญญัติใหอํานาจไว และตองดําเนินการใหถูกตองในเร่ืองของแบบพิธีตามท่ีกําหนด คือกอนที่สภามหาวิทยาลัยจะออกกฎดังกลาวมาใชบังคับจะตองผา นการพิจารณากลั่นกรองของคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลยั แตห ากเปน ขอความทผ่ี ูมอี าํ นาจหนา ทว่ี างไวเพ่ือเปนหลกั ปฏิบตั โิ ดยไมตอ งอาศยั อาํ นาจของกฎหมายก็ออกไดต ามที่ประสงค ประกาศ ประกาศ คือบรรดาขอความที่มหาวิทยาลัยประกาศหรือชี้แจงใหทราบ หรือแนะแนวทางปฏิบัติหรอื บรรดาขอความทผี่ มู อี าํ นาจหนา ท่ีกาํ หนดใหใ ชโ ดยอาศยั อาํ นาจของกฎหมายทบ่ี ัญญัติใหกระทําได เน้ือหาสาระของประกาศท่ีออกหากเปนขอความที่ผูมีอํานาจหนาท่ีกําหนดใหใชโดยอาศัยอํานาจของกฎหมายที่บัญญัติใหกระทําจะตองอยูในขอบเขตที่พระราชบัญญัติใหอํานาจไว แตหากเปนขอความที่มหาวทิ ยาลัยประกาศหรอื ชีแ้ จงใหทราบ หรือแนะแนวทางปฏบิ ัติก็ออกไดต ามท่ปี ระสงค

แบบรางขอบังคบั กรณอี อกฉบบั ใหมฉบบั แรก -รา ง- ขอบงั คบั มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร วา ดวย............................................................................... พ.ศ. ..... โดยที่เปนการสมควรใหม ีขอ บงั คบั มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร วาดว ย.............................................................................................................................................................................................................. อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ..........................แหงพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร พ.ศ. ๒๕๕๙ และโดยมติสภามหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร ในคราวประชุมคร้ังที่ ...................เมื่อวนั ท่.ี ............................................จึงใหอ อกขอบังคบั ไว ดังน้ี ขอ ๑ ขอบงั คับนเี้ รยี กวา “ขอ บงั คบั มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วาดว ย...................................................................................................................................พ.ศ. ..........” ขอ ๒ ขอบังคับน้ใี ชบ งั คับตง้ั แต ...................................................เปน ตน ไป ขอ ๓ ในขอบงั คับน้ี (บทนิยาม) “.................................” หมายความวา............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ขอ (สุดทาย) ให...................เปน ผูรกั ษาการตามขอบังคับนี้ และใหมีอํานาจออกประกาศ กําหนดหลกั เกณฑห รือวิธีการเพ่ือปฏิบัตติ ามขอบังคบั น้ี ในกรณีทม่ี ีปญ หาหรือขอ สงสัยเกี่ยวกับการปฏิบัติตามขอบังคับนี้ ใหอธิการบดีเปนผูมีอํานาจวินิจฉัยและใหถือเปน ท่ีสุด (ถาเนื้อหาในขอบังคับ มีการแบงเปนหมวดใหนําขอสุดทา ยนี้ไปเขยี นเปนขอสดุ ทา ยกอนท่ีจะขึน้ หมวดที่ ๑) ประกาศ ณ วันท่ี ..........................................................พ.ศ. ........... (ลงช่อื ) (..................................................) นายกสภามหาวิทยาลยั สงขลานครินทร

แบบรา งขอบังคับกรณีปรบั ปรงุ ขอ บงั คับเกาท้งั ฉบับและออกฉบบั ใหมแทน -ราง- ขอบังคบั มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร วาดวย......................... ...................................................... พ.ศ. ..... โดยท่ีเปนการสมควรปรับปรงุ ขอบังคบั มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร วาดวย....................................................................................................................................................................................................... อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ..........................แหงพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร พ.ศ. ๒๕๕๙ และโดยมติสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ในคราวประชุมครั้งท่ี ..................เม่ือวันท่ี.............................................จงึ ใหอ อกขอ บังคบั ไว ดังน้ี ขอ ๑ ขอ บงั คบั น้ีเรยี กวา “ขอ บังคบั มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วา ดวย...................................................................................................................................พ.ศ. ..........” ขอ ๒ ขอ บังคับนใ้ี ชบ งั คบั ตั้งแต ...................................................เปน ตน ไป ขอ ๓ ใหย กเลิก (๑) ขอ บังคบั มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร วา ดว ย........................................พ.ศ.............. (๒) ขอ บังคบั มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร วา ดวย..........................(ฉบบั ท.่ี ....) พ.ศ......... ขอ ๔ ในขอ บังคับนี้ (บทนิยาม) “.................................” หมายความวา .............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ขอ (สุดทา ย) ให...................เปนผูรักษาการตามขอบังคับนี้ และใหมีอํานาจออกประกาศ กําหนดหลกั เกณฑห รือวิธีการเพื่อปฏบิ ัตติ ามขอบังคบั นี้ ในกรณีทม่ี ปี ญหาหรอื ขอสงสัยเก่ียวกับการปฏิบัติตามขอบังคบั น้ี ใหอธิการบดีเปนผูมีอํานาจวินิจฉัยและใหถือเปนที่สุด (ถา เนื้อหาในขอบังคับ มีการแบงเปนหมวดใหนําขอสุดทา ยนี้ไปเขียนเปน ขอ สุดทายกอ นทจ่ี ะขนึ้ หมวดท่ี ๑) ประกาศ ณ วันท่ี ..........................................................พ.ศ. ........... (ลงชอ่ื ) (..................................................) นายกสภามหาวิทยาลยั สงขลานครินทร

แบบรา งขอบงั คบั กรณแี กไขเพ่มิ เตมิ ขอบังคับเกา บางขอ หรือเพิ่มเติมขอใหม -ราง- ขอบงั คบั มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร วา ดว ย. .............................................................................. พ.ศ. ..... โดยท่เี ปน การสมควรแกไขเพ่มิ เตมิ ขอ บังคับมหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร วาดว ย............................................................................................................................................................. .................................. อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ..........................แหงพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร พ.ศ. ๒๕๕๙ และโดยมติสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ในคราวประชุมครั้งที่ ..................เมอ่ืวนั ที.่ ............................................จึงใหออกขอ บังคบั ไว ดังน้ี ขอ ๑ ขอบังคบั น้ีเรียกวา “ขอ บังคบั มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร วาดวย.......................................................................................................................(ฉบับท.่ี ....... ) พ.ศ. ..........” ขอ ๒ ขอ บังคบั นใ้ี ชบ ังคบั ต้งั แต ...................................................เปน ตน ไป ขอ ๓ ใหยกเลิกความในขอ..........ของขอบังคับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วาดวย....................................พ.ศ. ......และใหใชความตอไปน้ีแทน................................................................................ ขอ ....ใหเพ่ิมเติมความตอไปนี้เปนขอ ...../.......ของขอบังคับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วาดวย........................................พ.ศ.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ขอ (สุดทาย) ให...................เปนผูรักษาการตามขอบังคับน้ี และใหมีอํานาจออกประกาศ กําหนดหลักเกณฑห รอื วิธีการเพ่ือปฏิบัติตามขอบังคบั น้ี ในกรณที ่มี ีปญหาหรอื ขอ สงสยั เกี่ยวกับการปฏิบตั ิตามขอบังคับน้ี ใหอธิการบดีเปนผูม ีอํานาจวินิจฉัยและใหถือเปนที่สุด (ถาเนื้อหาในขอบังคับ มีการแบงเปนหมวดใหนําขอสุดทา ยนี้ไปเขียนเปน ขอ สุดทา ยกอ นท่จี ะขนึ้ หมวดท่ี ๑) ประกาศ ณ วันที่ ..........................................................พ.ศ. ........... (ลงชอ่ื ) (..................................................) นายกสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

ขา้ ราชการเปลี่ยนสถานภาพแล้วลาออก จากมหาวิทยาลัยเพื่อขอรบั บาํ เหน็จสมาชิก กบข. จนิ ตนา แก้วสลับนิล/งานบรหิ ารงานบคุ คล ตอจากฉบับที่แลวคะ ผเู ขียนไดเลาใหกับผูอานฟงในเรอ่ื งการหารือการขอรับบําเหน็จบาํ นาญของขาราชการที่เปลี่ยนสถานภาพไปเปนพนักงานมหาวิทยาลัยไปยังกรมบัญชีกลาง กรณีราย นาย ก. ซึ่งบรรจุเปนขาราชการ เมื่อวันท่ี 31 มกราคม 2529 เปนสมาชิกกองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการ (กบข.) และไดขอเปล่ียนสถานภาพเปนพนักงานมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ตั้งแตวันท่ี 3 ตุลาคม 2559 โดยขอเปนสมาชิก กบข.ตอเน่ือง ตอมานาย ก. ไดขอลาออกจากการเปนพนักงานมหาวิทยาลัย เม่ือวันท่ี 1 พฤษภาคม 2560มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร จึงขอหารอื กรมบญั ชีกลาง ดงั น้ี 1. การนับระยะเวลาราชการปกติใหนบั ตั้งแตวันที่ 31 มกราคม 2529 ถึงวันที่ 2 ตลุ าคม 2559ซึ่งเปนวันเปลี่ยนสถานภาพ หรือนับตั้งแตวันที่ 31 มกราคม 2529 ถึงวันที่ 30 เมษายน 2560 ซ่ึงเปน วันลาออกจากการเปนพนักงานมหาวิทยาลัย 2. อัตราเงินเดือนที่นํามาคํานวณบํานาญเฉล่ียหกสิบเดือนสุดทายใหนับตั้งแตเดือนพฤศจิกายน2554 ถงึ เดือนตุลาคม 2559 หรอื ใหนบั ตง้ั แตเดอื นพฤษภาคม 2555 ถงึ เดอื นเมษายน 2560 3. การเทยี บอัตราเงินเดอื นอา งอิง (44,340) ต้งั แตเ ดือนตุลาคม 2559 ถงึ เดือนเมษายน 2560 ใหนาํ มาคํานวณบํานาญหรือไม 4. กรณีขาราชการที่เปลี่ยนสถานภาพเปนพนักงานมหาวิทยาลัย และยังเปนสมาชิกกบข. ตอ แลวตอมาขอลาออกจากราชการหรือเกษียณอายุราชการ ดังน้ันในการขอรับบําเหนจ็ บํานาญผานระบบบําเน็จบํานาญ (e - Pension) กรณีลาออกจากราชการใหระบุเหตุท่ีลาออกวาเปน “ลาออก” หรือใหออก(เกษยี ณ) ลาออก (เกษียณกอ นกาํ หนด) ถงึ แกก รรม ใหอ อกไวก อน พักราชการ ไลอ อก กรมบญั ชกี ลางพจิ ารณาแลว และไดตอบขอ หารือไวดังนี้ 1. กรณีตามขอหารือ 1 พระราชบัญญัติกองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการ พ.ศ.2539 มาตรา70/7 บัญญัติไวโดยสรุปวา สมาชิกผูที่เคยเปนขาราชการมากอนที่จะเปลี่ยนสถานภาพไปเปนพนักงานมหาวิทยาลัย ใหส มาชิกผนู ั้นมีสมาชิกภาพตอเน่ืองกับสมาชิกภาพเดิมได โดยใหมีสิทธิไดร ับบําเหน็จบํานาญปกติตอเน่ืองจากสิทธิท่ีเคยมีอยูเดิมตอ ไป และใหนับเวลาราชการตอ เน่ืองกับการเปนพนักงานมหาวทิ ยาลัยดงั นน้ั การนบั เวลาราชการเพ่ือประโยชนในการคํานวณบํานาญ จงึ ตอ งนบั ตั้งแตว นั ที่สมาชกิ เรม่ิ รบั ราชการ วันท่ี 31 มกราคม2529 จนถึงวนั สดุ ทา ยที่มสี ถานภาพเปน พนักงานมหาวิทยาลยั คือ วันที่ 30 เมษายน 2560

2. กรณตี ามขอ หารือ 2- 3 พระราชบัญญตั ิกองทนุ บาํ เหน็จบาํ นาญขาราชการ พ.ศ.2539 มาตรา70/9 บัญญัติไวโดยสรุปวาการคํานวณบํานาญใหนําบัญชีอัตราเงินเดือนอางอิงของพนักงานมหาวิทยาลัย ตามกฎกระทรวงกําหนดบัญชีอัตราเงินเดือนเพ่ือใชในการคํานวณเงินสะสม เงินสมทบ เงินชดเชยและบําเหน็จบํานาญของพนักงานมหาวิทยาลัย พ.ศ.2554 มาใชบังคบั กรณีดงั กลาวจึงตองใชอัตราเงินเดอื นกอนพนสภาพการเปนพนักงานมหาวิทยาลัยยอนหลังไปทุกเดือนจนครบหกสิบเดือนเปนอัตราเงินเดือนเฉลี่ยหกสิบเดือนสดุ ทาย ซึง่ เม่อื ขอเทจ็ จริงปรากฏวา นาย ก. ยังคงเปนสมาชิก กบข. ภายหลังจากทเี่ ปลี่ยนสถานภาพไปเปนพนักงานมหาวิทยาลัย ดังน้ัน เงินเดือนเฉล่ียหกสิบเดือนสุดทาย ในระหวางวันที่ 3 ตุลาคม 2559 ถึงวันท่ี 30เมษายน 2560 จึงตองใชเงินเดือนตามบัญชีอัตราเงินเดือนอางอิง สวนเงินเดือนเฉล่ียหกสิบเดือนสุดทายกอนที่นาย ก. จะเปลี่ยนสถานภาพตอ งใชอ ัตราเงนิ เดือนขาราชการ 3. สําหรบั กรณตี ามขอหารือ 4 กรณีสมาชิกผทู ่ีเคยเปน ขาราชการมากอนจะเปลี่ยนสถานภาพไปเปนพนักงานมหาวิทยาลัย โดยยังคงเปนสมาชิก กบข.ตอไป และเมื่อสมาชิกรายดังกลาวไดพนจากสมาชิกภาพเพราะลาออกจากงาน การขอรับบาํ เหน็จบํานาญผานระบบบําเหน็จบํานาญ (e-Pension) ตอ งระบุเหตทุ ี่พนสภาพการเปนพนกั งานมหาวิทยาลยั ใหตรงกับขอมลู และรายละเอียดการขอรับ ฉะน้ันบุคลากรของมหาวิทยาลัยท่ีเปล่ียนสถานภาพไปเปนพนักงานมหาวิทยาลัย กรณีท่ียังคงเปนสมาชกิ กบข. (ยงั ไมขอรับเงินบํานาญ) คงคลายความกังวลไปไดน ะคะ

โครงการพัฒนาผนู้ ํานักบรหิ ารเพื่ออนาคตของ มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ รตั ติยา เขยี วแป้ น/งานพัฒนาและฝึ กอบรม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ใหความสําคัญในการพัฒนาผูบริหารของมหาวิทยาลัย ซึ่งมีบทบาทที่สําคัญในการขับเคล่ือนความเปนเลิศขององคการท้ังในปจจุบันและในอนาคตใหเปนผูที่มีวิสัยทัศน มีภาวะผูนํา มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มคี วามรู ทักษะ และทัศนคติ ในการทาํ งานเชิงรกุ และเชิงบวก มบี ุคลิกภาพท่ดี ี เปน ทุนมนุษยท ี่มีคุณภาพ และมีแรงบันดาลใจท่ีจะสรา งสรรคผลงานท่ีสรางคณุ คา (Value) ใหแกมหาวิทยาลัยฯ และสังคม จึงไดจัด“โครงการพฒั นาผูนํานักบรหิ ารเพ่ืออนาคตของมหาวิทยาลยั สงขลานครินทร” เพ่ือพัฒนาผูนํานักบริหารของมหาวิทยาสงขลานครนิ ทร ตลอดจนผูนํารุนใหมใหเปนพลังในการขับเคล่ือนความเปนเลิศขององคการ สรา งผลงานที่มีคุณ คาใหแกสังคมอยางตอเนื่องตอไป โดยไดจัด “โครงการพั ฒ นาผูนํานักบริหารเพื่ออน าคตของมหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร” จํานวน 3 รนุ  รุนที่ 1 ระหวางวันที่ 11 พฤษภาคม - 6 สิงหาคม 2559 (129 ชม.) กลุมเปาหมาย ไดแก รอง อธิการบด/ี คณบดี จากคณะตา ง ๆ ในทกุ วิทยาเขต จํานวน 39 คน  รุนท่ี 2 ระหวางวันที่ 16 มิถุนายน - 14 กันยายน 2559 (130 ชม.) กลุมเปาหมาย ไดแก ผูชวย อธิการบดี/รองคณบดี/ผูอํานวยการศูนย สถาบัน สํานัก/ผูอํานวยการกอง และเลขานุการคณะ จํานวน ทงั้ ส้นิ 50 คน  รุนที่ 3 ระหวางวันที่ 15 มิถุนายน - 9 กันยายน 2560 (134 ชม.) กลุมเปาหมาย ไดแก ผูบริหารของ มหาวิทยาลัย และYoung Ph.D. อายุไมเกิน 40 ป ไมดาํ รงตําแหนงบริหาร ทุกคณะ/หนวยงาน/วิทยาเขต จาํ นวน 43 คนโดยสรปุ รายละเอยี ดขอมลู ทงั้ 3 รุน ไดด ังนี้











หลักสตู ร ผูนาํ นักบรหิ ารเพอ่ื อนาคตของมหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร รนุ ที่ 1(PSU EXECUTIVE LEADERSHIP DEVELOPMENT PROGRAM FOR THE FUTURE) หลักสตู ร ผูนํานกั บริหารเพื่ออนาคตของมหาวิทยาลยั สงขลานครินทร รุนที่ 2(PSU EXECUTIVE LEADERSHIP DEVELOPMENT PROGRAM FOR THE FUTURE) หลกั สตู ร ผูนํานกั บริหารเพ่อื อนาคตของมหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร รนุ ที่ 3(PSU EXECUTIVES & LEADER DEVELOPMENT PROGRAM FOR THE FUTURE)

การคัดเลือกอาจารย์ตัวอย่าง อาจารย์ตัวอย่างรุ่นใหม่ และผลงานดีเด่นของมหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ ประจาํ ปี 2560 อทิตยา ทองจดื /งานสวัสดิการ โดยทเ่ี หน็ สมควรสงเสรมิ และประกาศเกียรติคุณอาจารยซงึ่ มีความรูความสามารถอุทิศตนในการปฏบิ ัติหนา ทใ่ี หแ กม หาวิทยาลยั และประพฤติตนดีงามเปนท่ีประจกั ษอยางตอเนอ่ื งเหมาะสม เปนตวั อยางของอาจารยท่ัวไปของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร และการคัดเลือกผลงานดีเดนของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร คณะกรรมการคดั เลือกอาจารยตัวอยางและผลงานดเี ดนของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ประจําป2560 จึงไดดําเนินการคัดเลือกอาจารยตัวอยาง อาจารยตัวอยางรุนใหม และผลงานดีเดนของมหาวิทยาลยัสงขลานครนิ ทร ประจําป 2560 ตามเกณฑท ม่ี หาวิทยาลัยกาํ หนด ซึ่งผลการคัดเลอื กอาจารยต วั อยาง อาจารยตวั อยา งรุน ใหม และผลงานดเี ดน ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ประจําป 2560 มีดงั นี้อาจารยต ัวอยา งของมหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร ประจาํ ป 2560 มดี งั นี้1. ดานการเรียนการสอน จํานวน 2 ราย คอื 1.1 รองศาสตราจารย ดร.วันดี สทุ ธรงั ษี คณะพยาบาลศาสตร 1.2 ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.ปารชิ าติ มณมี ยั คณะพาณชิ ยศาสตรและการจัดการ2. ดานบริการวิชาการ คณะทรพั ยากรธรรมชาติ ศาสตราจารย ดร.บัญชา สมบูรณส ขุ3. ดา นการวิจยั คณะวทิ ยาศาสตร สาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ศาสตราจารย ดร.ดวงพร คนั ธโชติสาขามนษุ ยศาสตรแ ละสงั คมศาสตรรองศาสตราจารย ดร.วราภรณ คงสวุ รรณ คณะพยาบาลศาสตร4. ดา นกจิ การนักศึกษา คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี อาจารยส ุธา เกลาฉีด

อาจารยตัวอยา งรุนใหมของมหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร ประจาํ ป 2560 จํานวน 2 ราย คือ1. ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.กฤช สมนกึ คณะวิศวกรรมศาสตร2. ผูชวยศาสตราจารย ดร.การุณ ทองประจุแกว คณะวิทยาศาสตรผลงานดเี ดนของมหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร ประจําป 2560 มดี ังน้ี 1. สาขาการแตง ตาํ รา จํานวน 2 ผลงาน คือ 1.1 ผลงาน กมุ ารเวชศาสตร ของ ศาสตราจารย พญ.ประยงค เวชวนชิ สนอง และคณะ คณะแพทยศาสตร1.2 ผลงาน เคมสี ถานะของแข็ง : โครงสรางและการตรวจสอบเบ้อื งตน ของ รองศาสตราจารย ดร.พงศธร อมรพทิ กั ษส ุข คณะวิทยาศาสตรรางวัลและการประกาศเกยี รตคิ ุณ 1. อาจารยตัวอยางของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร จะไดเขารับพระราชทานโลเกียรติยศและการประกาศเกียรติคุณในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร เขารับเงินรางวัล ๆ ละ 20,000 บาท (สองหม่ืนบาทถวน) และเข็มกลัดทองคําตราสัญลักษณมหาวิทยาลยั (มีมูลคา 20,000 บาท) พรอมประกาศเกียรตคิ ุณในงานวนั สงขลานครินทร 2. อาจารยตัวอยางรุนใหมของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร จะไดเขารับพระราชทานโลเกยี รตยิ ศและการประกาศเกียรติคุณในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร และเขารับเงินรางวัล ๆ ละ 20,000 บาท(สองหมืน่ บาทถวน) พรอมประกาศเกียรตคิ ุณในงานวันสงขลานครินทร 3. ผลงานดีเดนของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร เจาของผลงานจะไดเขารับโลเกียรติยศพรอ มเงนิ รางวัล ๆ ละ 20,000 บาท (สองหมืน่ บาทถวน) และการประกาศเกยี รติคุณในงานวันสงขลานครินทร

เหรียญดุษฎมี าลาเขม็ ศิลปวิทยา เจตพล เชียงจันทร/์ งานทะเบยี นประวัติ เหรียญดุษฎีมาลา เปนเหรียญราชอิสริยาภรณท่ีพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห ัวทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอมใหส รางข้ึนในป พ.ศ. 2425 เพ่ือเปนการเชดิ ชูเกียรตแิ กบุคคลซึ่งเปนผูทรงคณุ วุฒิในทางศิลปวิทยา โดยไดแสดงใหเปนที่ประจักษเปนพิเศษวาเปนประโยชนอยางย่ิงตอประเทศชาติ เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา เปนเหรียญทรงไวซึ่งเกียรติอันสูงและเปนที่ภาคภูมิใจแกผูไดรับพระราชทาน ทายาทครอบครัว และวงศตระกลูลักษณะของเหรียญ เปนแบบกลมรี ดานหนามีพระบรมรปู พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวประดิษฐานตรงกลาง ขอบลา งเปนใบชัยพฤกษไขวกัน ดานหลังเปนรูปพระสยามเทวาธิราชทรงพระขรรคยืนแทนพิงโลหพระหัตถซา ยทรงพวงมาลัยจะสวมทตี่ รงจารึกชอื่ ผูไดร ับพระราชทาน ใตแ ทน มีเลข \"๑๒๔๔\" หวงเหรยี ญมีพระขรรคชัยศรีกบั ธารพระกรเทวรูปไขวกัน มหี วงยึดกับเหรยี ญและติดกบั แผน โลหะจารึกวา \"ทรงยินด\"ี วัสดุของเหรียญทําจากทองคาํ กาไหลท อง ขนาดของเหรยี ญกวา ง 4.1 เซนติเมตร สูง 4.6 เซนติเมตรการเสนอขอพระราชทาน บุคลากรท่ีเปน ขา ราชการ หรือพนกั งานมหาวิทยาลัยเงินงบประมาณ ซึง่ กาํ ลังปฏิบตั ิงานในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร หรือเคยปฏิบัติงานแตไดเกษียณอายุราชการ หรือลาออกไปประกอบอาชีพอ่ืนโดยหนวยงานผูเสนอไดพิจารณารอบคอบแลววา บุคคลดังกลาวไดปฏิบัติงานเก่ียวเน่ืองกับงานของสวนราชการ

หรือหนวยงานของตน จนมีผลงานปรากฏวา ดเี ดน เปนประโยชนอยางย่ิงตอประเทศชาติตามหลักเกณฑการเสนอขอเหรียญดษุ ฎีมาลาฯหลักเกณฑก ารรับพระราชทาน ตามระเบียบระเบียบวาดวยการขอพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา เข็มศลิ ปวิทยาขอท่ี 4 กําหนดวา \"ผูซ่ึงจะไดรับการพิจารณาขอพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา จะตองมีผลงานประการใดประการหนง่ึ ดังตอไปนี้\" 1. คดิ คนความรูระบบ กรรมวิธีหรอื ประดิษฐ สิ่งใหมเ ปน ผลสําเรจ็ 2. ปรบั ปรงุ ความรูร ะบบ กรรมวธิ ี หรือส่ิงประดิษฐใหดขี ้นึ กวาเดมิ เปน อนั มาก 3. ไดแสดงใหเปนท่ีปรากฏวา มฝี ม อื และช่ือเสยี งยอดเย่ยี มในทางศลิ ปวทิ ยาโดยคณะกรรมการจะไดพิจารณาผลงานของผูที่สมควรจะไดรับการพิจารณารับพระราชทานตามสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนง่ึ หรอื หลายสาขารว มกันดงั นี้ 1. มนุษยศาสตร 2. ศกึ ษาศาสตร 3. วจิ ติ รศลิ ป 4. สังคมศาสตร (นิตศิ าสตร , รฐั ศาสตร , เศรษฐศาสตร , พาณิชยศาสตรแ ละการบัญชี) 5. วิทยาศาสตร 6. วิศวกรรมศาสตร 7. แพทยศาสตร 8. เกษตรศาสตร 9. สาขาวชิ าอ่นื ตามที่คณะกรรมการพจิ ารณาเหน็ สมควร จากขอมูลขางตนจะเห็นไดวาการขอพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา ซึ่งมีรายละเอียดที่แตกตางจากการขอพระราชทานเคร่ืองอิสริยาภรณประจําป ถาหากทานใดมีขอสงสัยหรือคําถามเพิ่มเติมสามารถตดิ ตอสอบถามไดท ง่ี านทะเบียนประวัติ กองการเจา หนาท่ี สาํ นกั งานอธกิ ารบดี โทร 2049 สวัสดคี รบั

โครงการตรวจสุขภาพ Happy 2017 วีรมลล์ แก้วน้อย/งานพัฒนาและฝึ กอบรม โครงการตรวจสุขภาพ Happy 2017 (Health Assessment in PSU personnel in the Year2017) เปน สวนหนง่ึ ของโครงการสรา งเสริมสขุ ภาวะ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร ซึง่ ไดรับ งบประมาณจากสาํ นักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ โดยมีวั ตถุประสงคท่ีจะสํารวจสุขภาวะ ของบุคลากรใน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรทั้ง 5 วิทยาเขตอยางเปน ระบบ และวางแผนตดิ ตามตอเนื่อง ระยะยาวเปนเวลา12 ป ซ่ึงคาด วาจะมีผเู ขารวมโครงการประมาณ 7,000 คน ซ่ึงขน้ั ตอนการ ตรวจสุขภาพของโครงการตรวจสุขภาพ Happy 2017 จะมี การใหจองวันตรวจผาน ทางระบบการจองตรวจสุขภาพทาง Online (เว็บไซต http://ihappy.medicine.psu.ac.th) โดย แบบสอบถามในระบบจะเปนการใหกรอกขอมูลเกี่ยวกับดาน สุขภาพของตนเอง และไดเปดนํารองทดลอง ระบบเปนคร้ัง แรกในวันที่13 – 26 พฤศจิกายน 2560 ที่ผานมา ซ่ึง กลุมเปาหมาย คือ บุคลากร สํานักงานอธิการบดี วิทยาเขต หาดใหญ โดยไดรับการตอบรับจากบุคลากร สํานักงาน อธิการบดี เปน อยา งดี สําหรับระบบการตรวจสุขภาพ Happy 2017 จะมีการเปดใหระบบตรวจสุขภาพอยางเปนทางการครั้งแรกภายในเดือนกุมภาพันธ 2561 โดยกลุมเปาหมายในคร้ังน้ี คือ กลุมบุคลากรมหาวิทยาลัยสงขลานครินทรวทิ ยาเขตหาดใหญ และในข้นั ตอนตรวจสุขภาพมีกระบวนการขน้ั ตอนการทํางาน ดงั นี้ 1. ทบทวนการใชสิทธิการตรวจสขุ ภาพของบุคลากร มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร 2. สง inform-consent form (ICF) ไปใหบ ุคลากรทีอ่ ยูในเกณฑก ารคดั เขา 3. อาสาสมคั รสงใบตอบรับกลบั มา พรอ มตอบแบบสอบถาม และลงนดั ควิ การเจาะเลือด และ การตรวจผานทางระบบ Online 4. ผเู ขา รวมโครงการจะไดรบั การเจาะเลือดในวันจันทร – ศกุ ร เวลา 07.00 – 09.00 น. 5. ในวันเสาร – อาทติ ย ผูเขา รวมโครงการจะไดร บั การตรวจ CXR, EKG, BIA และพบแพทยท่ี หนว ยบรกิ ารปฐมภมู ิ

 ส่ิงที่ไดจ ากโครงการน้ีมากกวา การตรวจรางกายท่วั ไป1. Body Impedance Analysis (BIA)2. ตรวจรา งกาย, อา นผล CXR, EKG ดว ยอาจารยแพทย3. หากตรวจพบสงิ่ ผิดปกติ จะไดค ําแนะนําในการดแู ลตอเนอ่ื งที่โรงพยาบาลสงขลานครินทร (หากประสงค)4. เมอ่ื ทราบความผิดปกติรว ม จะมกี ารดําเนนิ โครงการเพื่อสงเสรมิ สขุ ภาพตอไป5. มีการเกบ็ เลือดเพ่ือตอบคําถามที่นา สนใจในอนาคต สงิ่ ท่ีรูและควรปฏิบัตกิ อนเขา รับการตรวจสุขภาพ1. งดอาหารหลัง 2 ทุม (ด่ืมนํา้ เปลาได)2. กรณสี บู บหุ รี่ ควรงดสูบบุหร่ี 1 วันกอนตรวจ3. กรณมี ยี าประจาํ ตัว ควรนาํ ยาไปในวนั ที่ตรวจดว ย4. หลกี เลี่ยงการนดั ในวันทไ่ี มส บาย หลังจากนัดหากมีอาการไมส บาย ใหโทรเล่ือนนัดกบั เจาหนาท่ี (เบอรติดตอภายใน2045)

การพิจารณาการปรับปรุงหลักเกณฑ์ การพิจารณากําหนดตาํ แหน่งทางวิชาการ สาวิตรี หอมอุทัย/งานบริหารงานบคุ คล จากการประชุมคณะกรรมการขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา (ก.พ.อ.) คร้ังท่ี 8/2560เม่ือวันท่ี 30 สิงหาคม 2560 ที่ประชุมไดหารือเกี่ยวกับการปรับปรุงหลักเกณฑการพิจารณากําหนดตําแหนงทางวิชาการของคณาจารยในสถาบันอุดมศึกษา ซ่ึง ก.พ.อ.ไดนําเสนอใหท่ีประชุมไดหารือและพิจารณามาแลวหลายคร้ัง ทราบวาเปนเร่ืองที่ถกเถียงในเร่ืองน้ีมานานกวา 9 ปแลว จนกระทั่งลาสุดเม่ือเดือนกรกฎาคมที่ผานมาไดนํารางหลักเกณฑและวิธีการพิจารณาแตงต้ังบุคคลใหดํารงตําแหนงผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารยและศาสตราจารย ไปหารือกับคณะกรรมการการอุดมศึกษา (กกอ.) เพื่อใหเกิดความรอบคอบ และไดมีการปรับแกอีกคร้ัง กอนจะนําเสนอใหท่ีประชุมไดพิจารณาในคร้ังนี้ และจากการรับฟงหลักเกณฑใหม เห็นวามีมาตรฐานเขมมากข้ึน เปดชองทางใหมีการจัดทําตําแหนงทางวิชาการหลากหลายมากข้ึน เพื่อตองการใหผลงานทางวิชาการมีความทันสมัยกับโลก เปนท่ียอมรับในระดับนานาชาติ สอดรับกับการเปดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนสามารถแขงขันกับนานาประเทศได สอดคลองกับนโยบายไทยแลนด 4.0 ตลอดจนคํานึงถึงความแตกตางของสถาบันอุดมศึกษาและบุคลากรในสถาบันอุดมศึกษา ทั้งสายวิทยาศาสตรและสายสังคมศาสตร โดยแบงประเภทผลงานทางวชิ าการออกเปน 4 กลมุ คือ 1. งานวจิ ยั 2. ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น มี 9 ประเภท คอื ผลงานวิชาการเพ่ืออุตสาหกรรม ผลงานวิชาการเพื่อ พัฒนาการเรียนการสอนและการเรียนรู ผลงานวิชาการเพ่ือพัฒนานโยบายสาธารณะ กรณีศึกษา งานแปล พจนานุกรมหรือสารานุกรมหรือนามานุกรมหรืองานวิชาการในลักษณะเดียวกัน ผลงานสรางสรรคดาน วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ผลงานสรางสรรคดานสุนทรยี ะศิลปะ สิทธิบตั ร และซอฟตแวร 3. ผลงานวชิ าการรบั ใชสังคม 4. ตาํ รา หนังสือ และบทความทางวชิ าการ ซึ่งที่ประชุมไดพจิ ารณาแลว มีมติเห็นชอบ (ราง) ประกาศ ก.พ.อ. เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการพิจารณาแตงตั้งบุคคลใหดํารงตําแหนงผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารย และศาสตราจารย พ.ศ. .... ตามความเห็นของคณะอนุกรรมการเก่ยี วกบั ตาํ แหนง ทางวชิ าการของขาราชการพลเรือนในสถาบันอดุ มศกึ ษา แตเ พื่อใหม ีผลกระทบนอย จึงจะประกาศใหใชบังคับหลักเกณฑใหมหลังจาก 1 ป นับตั้งแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไปดังน้ัน ผูที่ตองการสงผลงานทางวิชาการโดยใชหลักเกณฑเดิมก็ยังคงสามารถเสนอขอรับการประเมินไดในภายในชว งเวลากอ นประกาศใชแหลงขอมูล : ขา วสํานกั งานรฐั มนตรี 455/2560 ผลการประชุม ก.พ.อ. ครัง้ ท่ี 8/2560 เมื่อวันท่ี 30 สงิ หาคม 2560

1. นางจนิ ตนา แก้วสลับนิล ประธาน2. นายขจรศักด์ิ จารุพันธ์ รองประธาน3. นายสมบรู ณ์ บัวเทพ กรรมการ4. นางนวพร หอมจันทร์ กรรมการ5. นางกนกวรรณ พันธรัตน์ กรรมการ6. นางจาํ เนียร ประทุมชาติภักดี กรรมการ กรรมการ7. นางสาวมันตรินี หนฤู ทธิ์ กรรมการ กรรมการ8. นางสาวจริ ะพา ตรตี รง เลขานกุ าร9. นางอชดิ า นิลรัตน์10. นางสาวพรศรี สวา่ งล้ําเลิศศิริ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook