เอกสารประกอบการสอน วิชา งานไฟฟา้ รถยนต์ รหัสวิชา 2101-2005หลกั สตู รประกาศนียบัตรวชิ าชพี พุทธศักราช 2556 หน่วยที่ 6เร่ือง ระบบสตาร์ทใช้มอเตอรส์ ตาร์ททดรอบแบบใช้เฟอื งทด เรยี บเรียงโดย นายบญุ ลอื ยง่ิ คานึงตาแหน่งครู วทิ ยฐานะชานาญการแผนกวิชาช่างยนต์ วทิ ยาลัยเทคนิคนครศรธี รรมราชสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ
250ใบเน้ือหาหนว่ ยท่ี 6
251 รหสั วชิ า 2101-2005 ชื่อวิชา งานไฟฟา้ รถยนต์ ใบเนอ้ื หา I.S. 6-01 ช่อื หนว่ ย ระบบสตาร์ทใช้มอเตอร์สตาร์ททดรอบแบบใชเ้ ฟอื งทด สอนครง้ั ที่ 6 จานวน 2 ชวั่ โมงสาระสาคญัปัจจุบันเครือ่ งยนต์ได้มีการผลิตให้มีความจุกระบอกสบู สงู ขึ้น เปน็ การเพิ่มกาลังม้าและแรงบดิ ในการทางาน ในการสตาร์ทเคร่ืองยนตใ์ ห้เครื่องยนตต์ ดิ ไดต้ อ้ งใช้มอเตอร์สตาร์ทท่ีมกี าลงั สงู ๆ คอื มอเตอร์สตารท์แบบทดรอบ ขณะเดียวกันตอ้ งใหม้ อเตอร์สตาร์ททมี่ ีขนาดเลก็ กะทดั รดั เพื่อประหยัดพื้นทีใ่ นการตดิ ตั้งมอเตอร์สตาร์ทแบบทดรอบมี 2 แบบคือมอเตอรส์ ตาร์ททดรอบแบบใชเ้ ฟืองทดและมอเตอร์สตาร์ททดรอบแบบใชช้ ดุ เฟอื งแพลนนทิ ารี มอเตอร์สตารท์ ทดรอบแบบใชเ้ ฟอื งทดเปน็ สว่ นประกอบหน่ึงของระบบสตาร์ท โดยมีเฟืองสะพานทาหน้าท่สี ง่ กาลังระหวา่ งเฟอื งขบั ท่ที ุ่นอาเมเจอร์กบั เฟืองคลตั ช์ทชี่ ุดกลไกคลตั ช์ เพื่อเปล่ียนการหมนุ ของทุ่นอารเ์ มเจอร์ ส่งกาลังไปยงั เฟอื งขบั ซึ่งอยู่ปลายสดุ ของชุดกลไกคลัตช์เพ่ือขับล้อช่วยแรงต่อไปมอเตอร์สตาร์ททดรอบแบบใชเ้ ฟอื งทดมสี ว่ นทีด่ กี วา่ มอเตอร์แบบธรรมดาคอื มีขนาดเล็กกะทัดรดั ให้แรงบิดสูง มคี วามเรว็ รอบสงู กวา่ มอเตอรส์ ตาร์ทแบบธรรมดาสาระการเรียนรู้ 1. สว่ นประกอบของมอเตอร์สตาร์ททดรอบแบบใช้เฟืองทด 2. หลกั การทางานของมอเตอร์สตารท์ ทดรอบแบบใชเ้ ฟืองทด 3. การแก้ไขข้อขัดข้องของมอเตอรส์ ตาร์ททดรอบแบบใช้เฟืองทดจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. บอกหน้าที่ของส่วนประกอบในมอเตอรส์ ตาร์ททดรอบแบบใช้เฟืองทดได้ 2. อธิบายหลักการทางานของมอเตอรส์ ตาร์ททดรอบแบบใช้เฟืองทดได้ 3. บอกวิธแี กไ้ ขข้อขัดขอ้ งมอเตอร์สตาร์ททดรอบแบบใช้เฟืองทดได้
252รหสั วิชา 2101-2005 ชื่อวิชา งานไฟฟา้ รถยนต์ ใบเนื้อหา I.S. 6-02ช่ือหน่วย ระบบสตาร์ทใชม้ อเตอร์สตารท์ ทดรอบแบบใช้เฟอื งทด สอนครัง้ ที่ 6 จานวน 2 ชั่วโมง1. โครงสรา้ งของมอเตอร์สตาร์ททดรอบแบบใชเ้ ฟืองทดโครงสร้างของมอเตอร์สตาร์ททดรอบแบบใชเ้ ฟืองทด จะเหมอื นกบั มอเตอรส์ ตารท์ แบบเฟืองขบั ตรง(แบบธรรมดา) มีขนาดเล็กและให้แรงบิดสูง โครงสรา้ งของมอเตอรส์ ตารท์ ทดรอบประกอบด้วย มอเตอร์ความเรว็ สงู สวิตช์แม่เหลก็ (โซลนิ อยด์) และชดุ กลไกชดุ ถา่ ยทอดกาลงั งาน มอเตอร์ความเร็วสูงทาหนา้ ท่ีเป็นตน้ กาลงั ในการขับ ประกอบด้วย อาร์เมเจอร์ ฟิลด์คอยล์ สวติ ช์แมเ่ หลก็ หรอื โซลินอยด์ ทาหนา้ ท่ีตดั ต่อกระแสไฟฟา้ ทจ่ี ะเข้ามอเตอร์สตาร์ท ชดุ กลไกคลัตช์ ทาหน้าที่ถ่ายทอดกาลงั จากมอเตอร์ไปขับล้อชว่ ยแรงประกอบดว้ ยชดุ เฟืองทด คลัตช์สตาร์ท และเฟืองขบั ชุดเฟอื งทดจะทดรอบของเพลาอาเมเจอรใ์ ห้ลดลงทาให้ได้กาลังขบั มากข้ึนโดยเฟอื งขบั ถูกทดรอบลง 1 ใน 4 ของความเร็วทนุ่ อาเมเจอร์ มอเตอรส์ ตาร์ททดรอบแบบใช้เฟอื งทดมี 2 แบบคอื แบบที่ใชก้ บั รถเล็ก (มีกาลังระหวา่ ง 0. 8 – 1. 4กโิ ลวัตต์) และแบบท่ีใชก้ บั รถใหญ่ (มีกาลังมากกวา่ 1. 4 กโิ ลวัตต)์รปู ที่ 6.1 แสดงโครงสรา้ งของมอเตอรส์ ตารท์ ทดรอบแบบใชเ้ ฟอื งทดท่ีใชก้ บั รถเลก็ ทม่ี า : Electrical Fundamentals Toyota U.S.A. , --
253รหัสวชิ า 2101-2005 ช่ือวิชา งานไฟฟ้ารถยนต์ ใบเนอ้ื หา I.S. 6-03ช่อื หน่วย ระบบสตารท์ ใช้มอเตอร์สตารท์ ทดรอบแบบใชเ้ ฟืองทด สอนครั้งท่ี 6 จานวน 2 ชวั่ โมง รปู ท่ี 6.2 แสดงโครงสรา้ งของมอเตอรส์ ตาร์ททดรอบแบบใช้เฟืองทดท่ใี ช้กบั รถใหญ่ ทีม่ า : Electrical Fundamentals Toyota U.S.A. , -- ในที่นจ้ี ะขอกล่าวรายละเอยี ดโครงสรา้ งของมอเตอร์สตารท์ ทดรอบแบบใช้เฟืองทด เฉพาะชดุ กลไกถา่ ยทอดกาลงั งานเทา่ นน้ั 1.1 ชุดกลไกคลตั ช์ (Starter Clutch) รูปที่ 6.3 แสดงชุดกลไกคลทั ช์ ทม่ี า : บญุ ลือ ย่งิ คานึง, 2557
254รหัสวิชา 2101-2005 ชอ่ื วชิ า งานไฟฟ้ารถยนต์ ใบเน้อื หา I.S. 6-04ช่ือหน่วย ระบบสตาร์ทใช้มอเตอร์สตารท์ ทดรอบแบบใชเ้ ฟอื งทด สอนครัง้ ที่ 6 จานวน 2 ช่ัวโมงชดุ กลไกคลตั ช์มีหน้าทตี่ ัดต่อกาลังจากเฟืองคลัตช์ไปยังเฟืองสตารท์ เมอื่ เครื่องยนต์ตดิ แลว้ จะทาหนา้ ที่ตัดกาลังจากเฟืองสตาร์ทไม่ใหส้ ่งกาลงั ไปยงั เฟืองคลัตช์ เฟืองสะพานและเฟืองขับเพอ่ื ป้องกนั ไม่ใหท้ ุ่นอาเมเจอร์ไหม้ การทางาน เมื่อมอเตอร์สตาร์ททางานแรงขับถูกส่งผา่ นเฟืองทดไปยงั เฟืองคลตั ช์ ซง่ึ จะหมนุ ไปพร้อมกบั เสอื้ คลัตช์ ทาใหล้ ูกปนื คลตั ช์ถูกดันเข้าไปอยู่ในช่องแคบระหวา่ งเสื้อคลตั ช์กบั แกนตวั ใน ช้นิ สว่ นทง้ัสองจะต่อเขา้ ดว้ ยกัน เฟืองขับจะหมุนไปกับแกนตัวในด้วยดังแสดงในรูปท่ี 6.4 รูปท่ี 6.4 แสดงการทางานระหว่างทาการสตารท์ ที่มา : Electrical Fundamentals Toyota U.S.A. , -- เมอื่ เครื่องยนต์ทางานล้อชว่ ยแรงจะมีความเรว็ สงู กว่าเฟืองขับและจะขับเฟืองขับให้หมุนเร็วกว่าเสื้อคลตั ช์ ทาให้ลูกปืนคลตั ช์ถกู หมนุ ออกมาทางด้านกว้างระหว่างเส้ือคลตั ช์กับแกนตวั ในเฟอื งคลตั ช์ และเส้อื คลตั ช์จะแยกตัวจากแกนตวั ในและเฟืองขบั เฟืองขบั จึงหมุนไปด้วยความเร็วรอบสงู โดยไมท่ าให้ชดุ กลไกคลัตช์และมอเตอรส์ ตาร์ทเสียหาย ดงั แสดงในรปู ที่ 6.5 รปู ท่ี 6.5 แสดงการทางานหลังการสตาร์ท ท่ีมา : Electrical Fundamentals Toyota U.S.A. , --
255รหัสวิชา 2101-2005 ชื่อวิชา งานไฟฟ้ารถยนต์ ใบเน้ือหา I.S. 6-05ชื่อหนว่ ย ระบบสตาร์ทใช้มอเตอร์สตารท์ ทดรอบแบบใชเ้ ฟอื งทด สอนครง้ั ที่ 6 จานวน 2 ช่วั โมง1.2 ชดุ เฟอื งขบั (Pinion gear)ชดุ เฟอื งขับ มีหนา้ ที่ถา่ ยทอดกาลงั โดยรบั แรงหมนุ จากทุ่นอาเมเจอรส์ ่งกาลังผ่านเฟืองทดส่งผา่ นเฟอื งคลตั ช์ซ่งึ อยู่บนเพลาเดยี วกบั เพลาเฟืองขบั ล้อช่วยแรง และเฟืองขับจะเล่อื นออกเข้าขบกบั เฟืองล้อชว่ ยแรงเพ่ือหมนุ ให้เครอ่ื งยนตต์ ดิ ได้ รปู ท่ี 6.6 แสดงชุดเฟืองขบั ในมอเตอรส์ ตาร์ททดรอบแบบเฟืองทด ท่มี า : Electrical Fundamentals Toyota U.S.A. , -- 1.3 ชุดเฟืองทด ชดุ เฟืองทดมีหนา้ ท่ีทดรอบเฟืองขบั ใหเ้ หลอื 1 ใน 4 เท่าของความเรว็ ทนุ่ อาเมเจอร์ประกอบดว้ ยเฟืองขบั เฟืองสะพาน และเฟืองคลัตช์ โดยชนิ้ ส่วนท้งั หมดจะอยูใ่ นเสื้อเฟืองคลัตช์ ซงึ่ เฟืองขบั อยู่ทป่ี ลายแกนของอารเ์ มเจอร์ เฟืองสะพานรองรับด้วยลกู ปืนสว่ นเฟืองคลัตชอ์ ยู่กับชดุ คลตั ช์
256รหสั วชิ า 2101-2005 ชอ่ื วิชา งานไฟฟ้ารถยนต์ ใบเนอ้ื หา I.S. 6-06ช่ือหนว่ ย ระบบสตาร์ทใช้มอเตอรส์ ตารท์ ทดรอบแบบใช้เฟอื งทด สอนคร้งั ที่ 6 จานวน 2 ชั่วโมงเฟอื งคลทั ช์ เฟอื งสะพาน เฟอื งขับ รปู ท่ี 6.7 แสดงชดุ เฟืองทด ทมี่ า : บญุ ลอื ยิง่ คานึง, 25572. หลักการทางานของมอเตอร์สตาร์ททดรอบแบบใช้เฟืองทด มอเตอรส์ ตาร์ททดรอบแบบเฟืองทดจะทางานเหมือนมอเตอรส์ ตาร์ทแบบเฟืองขบั ตรงทั่ว ๆ ไป แตกตา่ งกันทเ่ี ฟืองขับถกู ทดรอบลง 1 ใน 4 เท่าของความเร็วทุ่นอาเมเจอร์ ทาให้มอเตอร์สตาร์ทหมุนดว้ ยแรงบดิทสี่ ูงกว่ามอเตอร์สตาร์ทแบบเฟืองขับตรง 2.1 เมือ่ บิดสวิตช์สตารท์ ไปท่ีตาแหนง่ สตาร์ทรูปที่ 6.8 แสดงการทางานของมอเตอรส์ ตารท์ เมือ่ บิดสวติ ช์สตารท์ ไปท่ีตาแหน่งสตาร์ท ทม่ี า : บุญลือ ยิ่งคานงึ , 2557
257รหสั วชิ า 2101-2005 ชอ่ื วชิ า งานไฟฟ้ารถยนต์ ใบเนือ้ หา I.S. 6-07ช่ือหนว่ ย ระบบสตาร์ทใช้มอเตอรส์ ตาร์ททดรอบแบบใชเ้ ฟอื งทด สอนครั้งที่ 6 จานวน 2 ชว่ั โมงแบตเตอร่ี ขดลวดยดึ กราวด์สวิตช์สตารท์ ขดลวดดงึ ข้วั C ฟิลด์คอยล์ อาเมเจอร์ กราวด์ ข้ัว 50รปู ที่ 6.9 แสดงทศิ ทางการไหลของกระแสไฟฟา้ เมื่อบิดสวติ ช์สตาร์ทไปท่ีตาแหนง่ สตาร์ท ที่มา : บญุ ลอื ย่ิงคานึง, 2557 กระแสไฟฟ้าจากแบตเตอรี่จะไหลจากสวิตช์สตาร์ทขวั้ 50 ไปยงั ขดลวดดงึ และขดลวดยึด สว่ นท่ีผ่านขดลวดดงึ จะไหลผา่ นขัว้ C ผา่ นขดลวดฟิลด์คอยล์ ผ่านขดลวดอารเ์ มเจอร์ลงกราวด์ครบวงจร ท่นุ อาเมเจอรจ์ ะเริ่มหมนุ ชา้ ๆเน่ืองจากในขณะน้นั กระแสไฟฟา้ ยงั มีจานวนน้อยขณะเดียวกันจะเกดิ อานาจแมเ่ หลก็ดึงให้พลนั เยอร์ค่อยๆเคล่ือนที่ไปทางซ้ายมือเพ่ือให้สะพานไฟที่พลันเยอรต์ ่อขั้ว 30 กบั ขว้ั C ในขณะนนั้ พลนัเยอรจ์ ะดันให้ชุดเฟืองขบั ให้เข้าขบกบั เฟอื งของล้อชว่ ยแรงอยา่ งนิม่ นวลขณะเดียวกนั กระแสไฟฟ้าจากสวิตช์สตาร์ทขั้ว 50 จะไหลไปยงั ขดลวดยดึ ลงกราวด์ครบวงจรทต่ี ัวโครงสวิตช์แมเ่ หล็กยึดไมใ่ ห้พลันเยอร์ถอยกลับจากการต่อระหว่างขัว้ 30 กบั ขัว้ C ดังแสดงในรปู ท่ี 6.8 และรูปที่ 6.9 เม่ือพลนั เยอร์ถูกดงึ มาทางซา้ ยเรื่อย ๆจนสุด สะพานไฟจะตอ่ หนา้ สัมผสั เต็มที่ กระแสไฟฟา้จานวนมากจากแบตเตอรี่จะไหลผา่ นสายแบตเตอรีไ่ ปยังข้วั 30 ไหลผา่ นหนา้ สัมผสั ไปยงั ข้ัว C เข้าขดลวดฟลิ ดค์ อยล์ ผ่านแปรงถ่านบวก เข้าขดลวดอาเมเจอร์ ผา่ นแปรงถา่ นลบลงกราวดค์ รบวงจร ทุ่นอาเมเจอร์จะหมุนดว้ ยความเรว็ รอบท่ีสูงข้ึน การส่งกาลงั ของมอเตอร์สตารท์ ทดรอบแบบใช้เฟืองทดจะสง่ กาลงั จากทุ่นอาร์เมเจอร์ผา่ นเฟืองทด สง่ ผา่ นไปยงั เฟอื งคลตั ช์ เฟืองคลัตช์จะสง่ ผ่านกาลังไปยังชุดกลไกคลัตช์ไปยงั เฟืองขับด้วยอัตราทดประมาณ 1/4 รอบ เคร่ืองยนต์จึงสตารท์ ติดงา่ ย ตวั มอเตอร์สตาร์ทกินกระแสไฟฟา้ น้อยขณะเดียวกนั ท่ีขดลวดดงึ กระแสไฟจะถูกลดั วงจร แต่ขดลวดยึดยังมกี ระแสไฟไหลอยจู่ งึ ยึดพลนั เยอร์ไว้ไม่ให้เคลอื่ นตัวกลับ ดังแสดงในรูปที่ 6.10 และรปู ที่ 6.11
258รหสั วิชา 2101-2005 ชอื่ วิชา งานไฟฟา้ รถยนต์ ใบเนอื้ หา I.S. 6-08ชื่อหนว่ ย ระบบสตาร์ทใช้มอเตอร์สตารท์ ทดรอบแบบใช้เฟืองทด สอนครงั้ ที่ 6 จานวน 2 ชั่วโมง รูปท่ี 6.10 แสดงเฟืองขับเข้าขบั เฟืองล้อชว่ ยแรงเต็มหน้าสัมผัสและหมนุ ดว้ ยความเร็วรอบสูง ที่มา : Electrical Fundamentals Toyota U.S.A. , -- แบตเตอร่ี สวติ ช์สตารท์ ขว้ั 50 ขดลวดยึด กราวด์ ขั้ว 30 หนา้ สัมผัส ขว้ั C ฟิลด์คอยล์ อาเมเจอร์ กราวด์ รปู ท่ี 6.11 แสดงทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้าเม่ือเฟืองขบั เขา้ ขับเฟืองล้อช่วยแรงเต็มหน้าสัมผสั ที่มา : บุญลือ ยิ่งคานึง, 2557 2.2 เมอ่ื ปล่อยสวติ ช์สตาร์ท (ตัดจากตาแหน่งสตารท์ ) จะไม่มกี ระแสไฟไหลไปยังขัว้ 50 ของสวติ ช์แม่เหลก็ แต่ขณะนน้ั สะพานไฟท่ีปลายพลันเยอร์ยงั ไม่แยกขั้ว 30 และข้ัว C ทาให้กระแสไฟฟา้ ไหลจากขั้ว Cไปยังขดลวดดึงและขดลวดยึดลงกราวด์ ในขณะนน้ั กระแสไฟฟา้ จะไหลเขา้ ขดลวดทัง้ สองสวนทางกัน ทาให้สนามแม่เหล็กถูกหักล้างกนั ส่งผลให้พลันเยอรถ์ ูกดันกลับด้วยแรงสปรงิ ทาใหช้ ุดเฟืองขับเลื่อนกลบั ตาแหน่งเดิมเป็นการเสร็จส้ินการสตาร์ทเคร่ืองยนต์ ดงั แสดงในรปู ท่ี 6.12 และรปู ที่ 6.13
259รหสั วชิ า 2101-2005 ชือ่ วิชา งานไฟฟา้ รถยนต์ ใบเนอ้ื หา I.S. 6-09ชอื่ หนว่ ย ระบบสตาร์ทใช้มอเตอร์สตารท์ ทดรอบแบบใช้เฟืองทด สอนคร้ังท่ี 6 จานวน 2 ชวั่ โมง รูปที่ 6.12 แสดงเฟืองขบั เลอ่ื นกลบั เม่ือปล่อยสวิตชส์ ตารท์ ท่ีมา : Electrical Fundamentals Toyota U.S.A. , --แบตเตอรี่ ขดลวดดึง ขดลวดยึด กราวด์ ข้ัว 30 หนา้ สัมผสั ขวั้ C ฟิลด์คอยล์ อาเมเจอร์ กราวด์ รปู ที่ 6.13 แสดงทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้าเม่ือปล่อยสวติ ชส์ ตารท์ ทม่ี า : บุญลอื ย่งิ คานึง, 2557
260 รหัสวชิ า 2101-2005 ชอื่ วิชา งานไฟฟ้ารถยนต์ ใบเนอื้ หา I.S. 6-10 สอนคร้งั ท่ี 6 จานวน 2 ชวั่ โมง ชอ่ื หน่วย ระบบสตารท์ ใชม้ อเตอร์สตารท์ ทดรอบแบบใช้เฟอื งทด3. การแก้ไขข้อขดั ขอ้ งของมอเตอร์สตาร์ททดรอบแบบใช้เฟืองทด ตารางที่ 5.1 ข้อขดั ข้องของมอเตอรส์ ตาร์ท อาการ สาเหตุ การแกไ้ ข1. มอเตอร์สตาร์ทไมท่ า 1. แบตเตอรี่ประจุไฟต่า 1. ประจุหรือเปลยี่ นแบตเตอรี่ใหม่ งาน 2. ข้วั แบตเตอรห่ี ลวม ชารดุ 2. เปลย่ี นขว้ั แบตเตอรี่ใหม่2. มอเตอร์สตาร์ทหมนุ แต่ไมเ่ ขา้ ไปขบั ล้อ 3. ฟวิ ส์ขาด 3. เปลย่ี นฟิวส์ใหม่ ชว่ ยแรง 4. มอเตอรส์ ตาร์ทชารุด 4. ซ่อมหรือเปลยี่ นใหม่3. มอเตอรส์ ตาร์ทหมนุ ชา้ มาก 5. สวิตช์สตารท์ ชารดุ 5. เปล่ยี นสวติ ช์สตารท์ ใหม่ 6. รีเลยส์ ตาร์ทชารุด 6. เปล่ยี นรเี ลย์ใหม่ 1. เฟืองขับชารดุ 1. เปลย่ี นใหม่ 2. เฟืองล้อชว่ ยแรงชารุด 2. เปลี่ยนใหม่ 3. แบตเตอรี่ประจุไฟตา่ 3. ประจุหรือเปลีย่ นแบตเตอร่ีใหม่ 1. สวติ ช์แมเ่ หล็กชารุด 1. เปลย่ี นสวติ ช์แมเ่ หลก็ ใหม่ 2. รอยสัมผสั ของแปรงถ่านไม่ดี 2. ตรวจแรงกดของสปริงแปรงถ่าน 3. คอมมิวเตเตอร์สกปรก 3. ขัดด้วยกระดาษทรายละเอียด 4. ขดลวดอาเมเจอรล์ ดั วงจร 4. เปลย่ี นขดลวดใหม่ 5. ขดลวดฟิลด์คอยล์ลดั วงจร 5. เปลี่ยนฟิลดค์ อยลใ์ หม่ 6. สปรงิ แปรงถา่ นอ่อน 6. เปลย่ี นสปริงใหม่ 7. ลกู ปนื ชารุด 7. เปลย่ี นตลบั ลกู ปนื ใหม่ 8. สวติ ช์สตาร์ทชารดุ 8. เปลยี่ นสวติ ช์สตารท์ ใหม่ 9. แบตเตอรีป่ ระจุไฟตา่ 9. ตรวจค่าความถว่ งจาเพาะของนา้ กรดแบตเตอร่ี ประจุไฟใหม่ หรือ เปล่ียนแบตเตอร่ีใหม่
261 รหสั วชิ า 2101-2005 ชอื่ วิชา งานไฟฟา้ รถยนต์ ใบเนอื้ หา I.S. 6-11 ชอื่ หน่วย ระบบสตาร์ทใช้มอเตอร์สตารท์ ทดรอบแบบใชเ้ ฟอื งทด สอนคร้งั ที่ 6 จานวน 2 ช่วั โมงสรปุ ส่วนประกอบของมอเตอร์สตาร์ททดรอบแบบใช้เฟืองทด ประกอบด้วย ขดลวดฟลิ ดค์ อยล์ ขดลวดอาเมเจอร์ แปรงถา่ น สวิตช์แม่เหลก็ ชดุ กลไกคลัทช์ ชดุ เฟืองทด ชุดเฟืองขับ ฯลฯ การทางานของมอเตอรส์ ตาร์ททดรอบแบบใช้เฟืองทด ถูกควบคมุ การทางานดว้ ยสวิตช์สตาร์ทเหมือนมอเตอร์สตาร์ทแบบธรรมดา ซง่ึ มีทัง้ แบบใช้สวิตช์กุญแจ และแบบใชป้ มุ่ กด การแก้ไขขอ้ ขัดข้องของระบบสตารท์ ใช้มอเตอรส์ ตาร์ททดรอบแบบใช้เฟืองทด ตอ้ งดาเนินการค้นหาสาเหตปุ ญั หาก่อนที่จะทาการแกไ้ ขปญั หาทีเ่ กิดขึน้ เพ่ือใหก้ ารแก้ไขกระทาไดเ้ ร็ว และลดเวลาการซ่อม
Search
Read the Text Version
- 1 - 13
Pages: