หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ เรื่อง การใชม้ ลั ตมิ ิเตอรต์ รวจเช็ค กระแสไฟฟา้ จัดทาโดยนางสาวกติ ตยิ า ยอดฝ้ัน รหัส 60181700127 สาขา อตุ สาหกรรมศิลป์ คณะ เทคโนโลยี อตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฎลาปาง
คำนำ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เร่ือง การใช้มัลติมิเตอร์ตรวจเช็คกระแสไฟฟ้า ได้จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอนสาหรับนักเรียน นักศึกษา ตลอดจนบุคคลท่ีสนใจ โดยผู้จัดพัฒนาได้แบ่งเน้ือหาของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์น้ีไว้ โดยมีหัวเร่ืองดังนี้ 1.มัลติมเิ ตอร์แบบเข็ม 2.ส่วนประกอบสาคัญของมัลติมิเตอร์แบบเข็ม 3.การเตรียมก่อนทาการวัด 4.วิธีวัดค่ากระแสไฟฟ้า 5.ข้อควรระวังในการวัด 6.การทางานของกระแสไฟฟา้ 7.การใช้มัลติมเิ ตอรต์ รวจเชค็ กระแสไฟฟ้า ผู้พัฒนาหวังเป็นอย่างย่ิงว่า เน้ือหาสาระของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เล่มน้ี จะเป็นประโยชน์และให้ความรู้แก่ผู้เรยี น นักศกึ ษาและผู้ท่ีสนใจทว่ั ไป นางสาวกิตตยิ า ยอดฝัน้ คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั ลาปาง 25 สิงหาคม 2561
สารบญั หน้าเรอ่ื ง 2คานา 3สารบญัมัลติมิเตอรแ์ บบเขม็ 4ส่วนประกอบสาคญั ของมัลตมิ ิเตอร์แบบเขม็ 5-6การเตรียมก่อนทาการวดัวธิ ีวดั ค่ากระแสไฟฟ้า 7ขอ้ ควรระวงั ในการวัดการทางานของกระแสไฟฟา้ 8การใช้มลั ติมเิ ตอรต์ รวจเชค็ กระแสไฟฟา้สรปุ 9-10แบบทดสอบ 11-18เฉลยแบบทดสอบทีม่ าข้อมลู /ทม่ี ารูป 19-22เกย่ี วกบั ผู้จดั ทา 23 24 25-26 27 28
มัลตมิ ิเตอร์แบบเขม็ มัลติมิเตอร์แบบเข็ม (analog multimeter,AMM) เป็นเคร่ืองมือวัดปริมาณทางไฟฟ้าหลายประเภทรวมอยู่ในเคร่ืองเดียวกัน โดยทั่วไปแล้วมัลติมิเตอรจ์ ะสามารถใชว้ ดั ปริมาณต่อไปนี้- ความตา่ งศักยก์ ระแสตรง (DC voltage)- ความต่างศกั ยก์ ระแสสลับ (AC voltage)- ปริมาณกระแสตรง (DC current)- ความตา้ นทานไฟฟา้ (electrical resistance) อย่างไรก็ตามมัลติมิเตอร์บางแบบสามารถใช้วัดปริมาณอื่นๆ ได้อีก เช่น กาลังออกของสัญญาณความถ่ีเสียง การขยายกระแสตรงของทรานซิสเตอร์กระแสร่ัวของทรานซสิ เตอร์ ความจทุ างไฟฟ้า ฯลฯ ภำพท1ี่ มลั ตมิ ิเตอรแ์ บบแบน
สว่ นประกอบสำคัญของมัลติ มเิ ตอร์แบบเขม็1. ทีป่ รับการชีศ้ นู ย์ ใช้สาหรบั การปรบั ใหเ้ ขม็ ช้ีศูนย์ขณะยังไมไ่ ด้ใช้ทาการวัด2. สวติ ช์เลอื กปรมิ าณท่จี ะวัดและระดับขนาด : เปน็สวติ ชท์ ่ผี ู้ใช้จะตอ้ งบดิ เลือกวา่ จะใช้เครอ่ื งวดั ปรมิ าณใดซึง่ มีท้งั หมด 4 ปรมิ าณแต่ละปริมาณมชี ่วงการวัดให้เลือก3. ช่องเสยี บสายวัดขั้วบวก4. ชอ่ งเสยี บสายวัดขวั้ ลบ5.ช่องเสยี บสายวัดข้วั บวกกรณีวัดกาลงั ออกของสัญญาณความถ่ีเสยี ง
6.ปุ่มปรับแก้ศูนย์โอห์ม : ใช้เพื่อปรับให้เข็มชี้ศูนย์โอห์มเม่ือนาปลายวัดทั้งคู่มาแตะกันก่อนทาการวัดค่าความต้านทานในแต่ละชว่ งการวัด7.แผงหนา้ ปัด8.เขม็ ช้ี9.สายวัด : ประกอบด้วยสาย 2 เส้น สีแดงสาหรบั ข้ัวบวกและสดี าสาหรับขั้วลบ10.สเกลการวัด : ประกอบด้วย 7 สเกลการวัดเรียงลาดับจากบนสุดลงล่างดังน้ี (ดูจากเคร่ืองวัดประกอบด้วย)
กำรเตรียมก่อนทำกำรวดั- วางเครื่องวัดบนพ้ืนโต๊ะให้อยู่ในแนวราบ (เพ่ือใหแ้ กนการหมุนของเข็มช้อี ยู่ในแนวดิง่ )- ขยังไมต่ อ้ งต่อสายเสยี บใดๆกบั เครอ่ื งวดั- ก้มดูท่เี ขม็ ช้ีว่าอยใู่ นแนวทบั กบั ขีดศูนย์(ทางด้านซ้ายสุดของสเกล DCV,A) หรือไม่ ให้สังเกตภาพเสมือนของเข็มชี้ในกระจกเงาเหนือสเกล DCV,Aด้วยวา่ เขม็ ชี้ซอ้ นทบั บนภาพเสมอื นของเขม็ ชี้หรือไม่- ถ้าเขม็ ชีต้ รงขดี ศนู ยพ์ อดี เครอ่ื งวดั พร้อมทีจ่ ะใชง้ านได้- แต่ถ้าเข็มช้ีไม่ตรงขีดศูนย์ จะต้องใช้ไขควงปลายแบนหมุนปรบั ทปี่ รบั การชี้ศูนย์
วธิ วี ัดคำ่ กระแสไฟฟำ้วธิ วี ดั คำ่ กระแสไฟฟำ้ เครื่องมือที่ใช้สาหรับวัดกระแสไฟฟ้าเรียกว่าแอมมิเตอร์ (Ampere meter) ตัวอย่างการวัด ทาการต่อหลอดไฟฟ้าขนาดเล็กเข้ากับแบตเตอร่ี และวัดกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านหลอดไฟฟ้า โดยนาปลาย +ของแอมมิเตอร์ผ่านหลอดไฟฟ้าต่อกับข้ัว + ของแบตเตอร่ี และนาปลาย - ของแอมมิเตอร์ต่อกับขั้ว -ของแบตเตอรี่ ดงั รูป ภาพท2่ี วธิ ีวดั คา่ กระแสไฟฟ้า
ขอ้ ควรระวงั ในกำรวดั 1. เม่ือการวัดเกี่ยวข้องกับความต่างศักย์สูง (ตั้งแต่ 50 V ขึ้นไป) อย่าให้น้ิวมือหรือส่วนใดของร่างกายสัมผัส ส่วนที่เป็นโลหะของปลายวัด เพราะอาจเปน็ อนั ตรายได้ 2. ก่อนวัดปริมาณใด ต้องแน่ใจว่า ได้หมุนสวิตช์เลือก ปริมาณที่จะวัดตรงตามปริมาณท่ีจะวัดแล้ว มิฉะน้ันแล้ว เครื่องวัดอาจชารุดเสยี หาย 3. ต้องแน่ใจว่าหมุนสวิตช์เลือกช่วงการวัดให้อยู่ในช่วงท่ีสูง มากกว่าปริมาณท่ีจะวัด เช่น จะวัดความต่างศักย์ระหว่างขั้ว แบตเตอรี่ 12V ก็ต้องตั้งปุ่มเลือกช่วงการวัดไว้ที่ DCV ช่วง 0-50V ถา้ ไม่ทราบขนาดโดยประมาณของปริมาณท่ีจะ วัด ให้ต้ังเลือกช่วงการวัดให้สูงท่ีสุดก่อน (เช่น ต้ังท่ี 0- 1000V) แลว้ ค่อยลดระดับช่วงการวดั ต่าลงมาทีละช่วง
3. ตอ้ งแน่ใจว่าหมุนสวิตช์เลือกช่วงการวัดให้อยู่ในช่วงท่ีสูงมากกว่าปริมาณที่จะวัด เช่น จะวัดความต่างศักย์ระหว่างขั้วแบตเตอร่ี 12V ก็ต้องต้ังปุ่มเลือกช่วงการวัดไว้ที่ DCV ช่วง 0-50V ถ้าไม่ทราบขนาดโดยประมาณของปริมาณทจ่ี ะวัด ให้ตั้งเลือกช่วงการวัดให้สงู ทีส่ ุดกอ่ น (เช่น ตั้งที่ 0-1000V) แล้วค่อยลดระดับช่วงการวดั ต่าลงมาทลี ะช่วง4. ถ้าในการวัด DCV หรือ DCA เข็มชี้ไม่เบนไปทางขวาแต่พยายามเบนมาทางซ้าย แสดงว่ากระแสผ่านเครอ่ื งวัดในทิศทางไมถ่ กู ต้อง ใหส้ ลับข้ัวปลายวัด5. ถ้าเข็มช้ีไม่ขยับจากการชี้ศูนย์หรือเบนออกมาเพียงเลก็ น้อย แสดงวา่ กระแสผ่านเคร่อื งวัดน้อยเกนิ ไป ให้ปรับลดช่วงการวัดต่าลงกว่าเดิมทลี ะข้ัน จนกระทั่งเข็มช้ีอยู่ประมาณกลางสเกล
การทางานของ กระแสไฟฟ้า เมือ่ แบ่งตามลักษณะการทางานของกระแสไฟฟ้าจะพบวา่ มี3 แบบสาคญั ๆ คือ 1.การทางานทใ่ี ห้ความรอ้ นและกาลังไฟฟ้า 2.การทางานทางเคมี 3.การทางานท่ใี ห้สนามแมเ่ หล็ก
1.กำรทำงำนทใี่ หค้ วำมรอ้ นและกำลงั ไฟฟำ้ การทางานของกระแสไฟฟ้าในลักษณะนี้ คือ การผ่านกระแสไฟฟ้าเขา้ ไปในลวดนิโครมซ่ึงมีความต้านทานสูง ทาให้เกิดความร้อนขึ้น สามารถนาไปใช้ประโยชน์ เช่น ในเตาไฟฟ้า, เตารีด และหลอดไฟฟา้ ฯลฯ ภาพท3ี่ ดารทางานของกระแสไฟฟ้า ทาการทดลองโดยใช้เครื่องวัดปริมาณความร้อนในน้า และเพิ่มแรงดันไฟฟ้าคร่อมเส้นลวดความร้อนด้วยวาริแอก แล้วต่อแอมมิเตอร์และโวลต์มิเตอร์เพื่อวัดกระแสและแรงดันท่ีเส้นลวดนิโครม
เม่ือปรับวาริแอกเพ่ือเปล่ียนค่าแรงดันและกระแสของเส้นลวดนิโครม และให้กระแสไหลผ่านด้วยช่วงเวลาต่างๆ กันแล้ววัดปริมาณความร้อนท่ีได้จากเส้นลวดนิโครม จะพบว่าถ้าแรงดันยิ่งสูง กระแสยิ่งมาก และเวลาที่กระแสผ่านย่ิงนาน ปริมาณความร้อนที่ได้จะมากขึ้นตามไปด้วย เขียนความสัมพนั ธ์ได้ดงั นี้ ภาพที่4 ค่าแรงดนั
2.กำรทำงำนทำงเคมขี องกระแสไฟฟำ้ การทางานของกระแสไฟฟ้าในลักษณะน้ี คือ การผ่านกระแสไฟฟ้าในสารละลายของเกลือ NaCl ทาให้เกดิ ปฏิกริ ิยาเคมีขึ้น สามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ในการทาอิเล็กโตรไลซสิ , การชุบโลหะ และแบตเตอร่ี ฯลฯ ภาพท5่ี การทางานทางเคมขี องกระแสไฟฟ้า
ทาการทดลองโดยนาแผ่นพลาตินัม (Pt) 2แผ่น แช่ลงในน้าเกลือ แล้วต่อแบตเตอร่ีกับแผ่นพลาตินัมทั้งสอง กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านน้าเกลือ เกิดก๊าซคลอรีนรอบๆ แผ่นท่ีมีไฟฟ้า + และเกิดก๊าซไฮโดรเจนรอบแผ่นท่ีมีไฟฟ้า - ทั้งน้ีเพราะเกลือแกงเป็นสารประกอบระหว่างธาตุโซเดียม (Na) และธาตุคลอรนี (Cl) เมือ่ นาไปละลายน้า จะแตกตัวหลุดจากกัน โดยโซเดียมจะมีประจุ + และคลอรีนมีประจุ -สภาพของการมีประจุน้ีเรียกว่า ไอออน น้าเกลือจึงมีท้ังไอออน + และไอออน - การแตกตัวเป็นไอออนเรียกว่า การแยกไอออน ดังน้ัน เมื่อนาเกลือไปละลายน้าจะได้สารละลายที่มีไอออน เรียกสารละลายนว้ี ่า สารละลายอิเล็กโทรไลต์ ถ้าผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปในสารละลายอิเล็กโทรไลต์ จะเกิดปฏิกิริยาเคมีและเกิดการแตกตัวด้วยไฟฟา้
3.กำรทำงำนทใ่ี หส้ นำมแมเ่ หลก็ การทางานของกระแสไฟฟ้าในลักษณะนี้ คือ การผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปในเส้นลวด ทาให้เกิดเส้นแรงแม่เหล็กข้ึนสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการทามอเตอร์, หม้อแปลงไฟฟ้าและเครือ่ งบนั ทกึ เสยี ง ฯลฯ ก่อนอื่นมาทาความรู้จักก่อนว่า \"แม่เหล็กคืออะไร\"สินแร่แม่เหล็ก มีส่วนผสมส่วนใหญ่เป็น Fe3O4 มีคุณสมบัติสามารถดดู เหล็กและนิกเกลิ ได้ เรียกวา่ คณุ สมบัติแมเ่ หล็ก และวัสดุที่มีคณุ สมบัตเิ ช่นนเ้ี รียกว่า แทง่ แม่เหลก็คุณสมบตั ิของแทง่ แม่เหลก็ ไดแ้ ก่ -แท่งแมเ่ หล็กมีขว้ั แม่เหลก็ -แทง่ แมเ่ หลก็ ชไี้ ปทางทศิ เหนอื และใต้ -แทง่ แม่เหล็กที่ขวั้ เหมือนกนั จะผลกั กัน และขั้วตา่ งกันจะดูดกัน ภาพที่6 แทง่ แม่เหลก็
4.กระแสไฟฟำ้ กับสนำมแมเ่ หล็ก เม่ือนาเข็มทศิ แม่เหล็กไปวางใกล้เส้นลวดไฟฟ้าทีม่ ีกระแสไหลผ่าน เข็มทิศจะหมุนตามทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้าดังรูป จึงทราบว่า กระแสไฟฟ้าสามารถสร้างแม่เหล็กได้หรือพูดให้ถูกต้องก็คือ กระแสไฟฟ้าสามารถสร้างสนามแมเ่ หล็ก ภาพท7่ี การสรา้ งสนามแมเ่ หล็ก เมื่อนาเข็มทิศไปวางในขดลวดท่ีนาเส้นลวดมาขดไว้เพียงรอบเดียว ดังรูป แล้วผ่านกระแสไฟฟ้า เข็มทศิ จะเบนไปตามทิศทางดังแสดงในภาพ ทิศทางของเส้นแรงแม่เหล็กท่ีเกิดขึ้นดูไดจ้ ากภาพท8ี่ ทิศทางเส้นแรงแมเ่ หล็ก
เม่ือนาเข็มทิศไปวางไว้ในขดลวดที่ขดไว้หลายๆ รอบดังรูปแล้วผ่านกระแสไฟฟ้า จะพบว่าทิศทางของเส้นแรงแม่เหล็กจะขนานกับขดลวด ลักษณะของเส้นแรงแม่เหล็กจะทาหน้าท่ีคล้ายกับแท่งแม่เหล็ก แตไ่ ม่มีขั้วแมเ่ หล็ก ภาพท9ี่ เขม็ ทศิ วางไว้ในขดลวด เม่อื นาขดลวดที่มกี ระแสไหลผ่านวางใกล้ช้ินเหล็ก ชิ้นเหล็กจะขยับเขย้ือนเล็กน้อย ดังรูปท่ี 1 แต่เมื่อนาแกนเหล็กใส่ไปในขดลวด ช้ินเหล็กจะถูกดูดอย่างแรง ดังรูปท่ี 2 อธิบายได้ว่าขดลวดที่ยังไม่มีแกนเหล็ก จะเกิดสนามแม่เหล็กน้อยและไม่มีขั้วแม่เหล็ก เม่ือนาแกนเหล็กใส่เข้าไป เหล็กซ่ึงมีคุณสมบัติเหน่ียวนาเส้นแรงแม่เหล็กได้ดี เส้นแรงแม่เหล็กจึงรวมตัวกันหนาแน่นในแกนเหล็กน้ัน แกนเหล็กจึงกลายสภาพเป็นแท่งแม่เหล็กและให้เส้นแรงแม่เหล็กที่มีกาลังสูง เรียกว่า แท่งแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ภาพท1่ี 0 ขดลวดมีกระแสไหลผา่ น
การใชม้ ลั ติมิเตอร์ตรวจเชค็ กระแสไฟฟ้าวิธีการใชม้ ัลติมเิ ตอรต์ รวจเช็คกระแสไฟฟ้า เคร่ืองมือช้ินหนึ่งที่มีความจาเป็นต่อการทางานทางด้านช่างอย่างมาก และถือว่าเป็นพื้นฐานเคร่ืองมือประเภทตรวจวัด ที่ช่างและผู้ใช้ท่ัวๆไป ควรต้องมีความรู้ความเข้าใจในการใช้งานอย่างถูกต้อง เพ่ือประสิทธิภาพและความสัมฤทธิผลของการทางานให้เป็นไปได้อย่างรวดเร็ว เครื่องที่ว่านี้ถูกเรียกกันในนามว่า “มัลติมิเตอร”์ มัลติมิเตอร์ เป็นเคร่ืองมือที่รวมหลายๆคุณสมบัติในการใช้ในการตรวจเช็คเข้าไว้ด้วยกันน่ันเอง เช่น ความสามารถในด้านการตรวจวัดแรงเคล่ือน ของกระแสไฟฟ้ากระแสสลับ ,ความสามารถในการตรวจวัด กระแสไฟฟ้ากระแสตรง ,ความสามรถในการตรวจวัดความต้านทานของอุปกรณ์ ,ความสามารถในการตรวจวัดกระแสไฟฟ้า และความสามารถในการตรวจวัดการขาดต่อของจุดเชอ่ื มต่อตา่ งๆ
การวดั แรงไฟกระแสสลับ (ไฟบา้ น) จากความรู้เรื่องของแรงเคล่ือนไฟฟ้า และการเกิดกระแสไฟฟ้าตามท่ีได้แนะนาไปและนั้นห า ก ว่ า เ ร า ต้ อ ง ก า ร วั ด แ ร ง ไ ฟ บ้ า น ซ่ึ ง เ ป็ นกระแสสลับ เราจะต้องบิดไปท่ีตาแหน่ง AC Voltซ่ึงสามารถวัดรงเคล่ือนไฟฟ้าได้สูงถึง 1,000 โวลท์แต่เน่ืองจากเราทราบอย่แู ล้วว่า แรงเคล่ือนไฟบ้านในเมืองไทยน้ันมีค่าอยู่ที่ 220 เมือง โดยประมาณดังน้ันเราจึงบิดลูกบิดไปท่ี 250 โวลท์ AC ซ่ึงเราจะต้องตั้งย่านให้สูงกว่าแรงไฟฟ้าที่เราจะทาการวัด (สรุปคือต้องต้ังย่านการวัดให้สูงไว้ก่อนมิฉะน้ันอาจจะทาให้มิเตอร์เสียหายได้) เม่ือพร้อมแล้วก็ให้นาสายโพ๊ปสีแดง และสีดาเสียบเข้ากับปล๊ักไฟที่เราเสียบไว้ พวกอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าบ้าน ต้องขอเตือนไว้ก่อนว่า เรากาลังวัดกับไฟฟ้า220 โวลท์ ดังน้ันห้ามสัมผัสกับส่วนที่เป็นโลหะของสายโพ๊ปสีแดง และสีดา เพราะจะทาให้ถูกไฟดูดซึ่งเปน็ อันตรายต่อชีวติ ได้
กำรวดั ไฟกระแสตรง ไฟฟา้ กระแสตรงเป็นไฟท่ีมี ข้ัวบวกและขั้วลบคงที่ เช่น ถา่ ยไฟฉาย ,แบตเตอรี่รถยนต์ ,หม้อแปลงไฟ ดีซี ซ่ึงถา้ เราจะทาการวัดแรงเคลื่อนไฟฟ้ากระแสตรงน้ี จะต้องวัดให้ถูกขั้วบวก และขั้วลบมฉิ ะน้ันจะไม่สามารถอา่ นค่าแรงไฟฟ้าได้ถูกต้อง (หากต่อกลับขั้วจะทาให้เข็มมิเตอร์ตีลงทางซ้ายสุด) ก่อนการวัดจะต้องทราบว่าแหล่งจ่ายไฟน้ันมีแรงอยู่เท่าไหร่ จากนั้นจึงทาการตั้งย่านของมิเตอร์ ไปท่ีตาแหน่งการวัดนั้น โดยต้องตั้งให้มีค่าสูงกว่าแหล่จา่ ยไฟทเี่ ราจะทาการวดั เช่น จะทาการวัดถา่ นไฟฉาย 1 ก้อน ซึ่งท่วั ๆไปจะมีแรงไฟอยู่ท่ี 1.2 โวลท์ดีซี แล้วทาการก็บิดเลอื กย่านไปท่ี10 โวลท์ดซี ี แล้วนาสายโพ๊ปสีแดงไปแตะท่ีหน้าปัดของมิเตอร์ ตรงสเกลตัวเลข 0-10 ถ้าถา่ นไฟฉายนั้นมแี รงเคล่ือนไฟฟ้าก็จะทาให้เข็มสวงิ มาอยู่ท่ี ประมาณ 1.5 โวลท์ (อา่ นสเกล 10 ที่มีตัวเลข 02 4 6 8 10 1.5 จะอยูก่ อ่ นถึงเลข 2
การวดั การขาดต่อของสายหรือลายวงจร ถ้าต้องการท่ีจะวัดสายไฟเส้นหนึ่งว่ามีขาดขาดภายในหรือไม่ ให้บิดลูกบิดมิเตอร์ไปที่การวัดค่าโอมห์ ที่ตาแหน่งRx1 แล้วนาสายโพ๊ปสีแดงและสีดามาแตะกัน จะปรากฏท่ีหน้าปัดของมิเตอร์ว่า เข็มจะมีการสวิงไปทางขาวมือ ให้ทาการปรับให้อยู่ในตาแหน่งที่ศูนย์โอมห์ (อยู่ขวาสุดของด้านบนหน้าปัทม์) เมื่อปรับเรียบร้อยแล้วนาสายโพ๊ปข้างใกข้างหน่ึงไปแตะปลายสายข้างหน่ึงของสายไฟ ส่วนสายดพ๊ปที่เหลือก็ให้ไปแตะที่ปลายอีกข้างหนึ่งของสาไฟเช่นกัน ถ้าปรากฏว่าเข็มมิ เ ต อ ร์ มี ก า ร ส วิ ง จ า ก ซ้ า ย ไ ป ข ว า จ น ถึ ง ต า แ ห น่ ง ศู น ย์ โ อ ม ห์แสดงว่าสายไฟไม่ขาด แต่ถ้าได้ทาคาแนะนาข้างต้นแล้วเข็มมิเตอร์ไม่มีการสวิงจากซ้ายไปขวา (อยู่นิ่งๆ) แสดงว่ามีการขาดภายในสายไฟ
สรปุ กระแสไฟฟ้า หรือ ไฟฟ้ากระแส คือ การไหลของอิเล็กตรอน ตัวอย่างของกระแสไฟฟ้า ได้แก่ ปรากฏการณ์ฟ้าผ่า, ลมสุริยะ (ทาให้เกิดแสงเหนือ-แสงใต้) คนส่วนใหญ่ค้นุ เคยกับกระแสไฟฟา้ ในรปู ของการไหลของอเิ ล็กตรอนในตัวนาเช่นในโลหะเป็นต้น ในวิชาอิเล็กทรอนิกส์นั้น กระแสไฟฟ้าหมายถงึ การไหลของอเิ ลก็ ตรอนผ่านตัวนาและอุปกรณ์ต่างๆ เช่นตัวต้านทาน และยังหมายถึงการไหลของไอออนในแบตเตอร่ีและการไหลของโฮลภายในสารก่ึงตวั นาด้วย ในวงจรไฟฟ้า ประจุไฟฟ้านี้จะถูกนาพาไปโดยการเคล่ือนที่ของอิเล็คตรอนในเส้นลวด หรืออาจถูกนาพาไปด้วยไอออนในสารอิเลค็ โทรไลท์ หรอื ทงั้ ไอออนและอิเล็คตรอนในสารพลาสมา กระแสไฟฟ้ามีหน่วยวัดเป็นแอมแปร์ ซ่ึงเป็นจานวนของประจุไฟฟ้าท่ีไหลผ่านจุดใดจุดหน่ึงต่อวินาที กระแสไฟฟ้าสามารถวัดไดโ้ ดยใชแ้ อมปม์ ิเตอร์
แบบทดสอบ1. ตู้เย็นหลังหน่ึงใช้พลังงำนไฟฟำ้ ไป 1,500 จูล ใน เวลำ 10 วนิ ำที ตเู้ ยน็ หลังน้ีมกี ำลังไฟฟำ้ เทำ่ ไร2. หลอดไฟฟำ้ ขนำด 60 w จำนวน 2 หลอด เปิดไว้ นำน 3 ชั่วโมง จะส้นิ เปลืองพลังงำนไฟฟำ้ เท่ำใด3. เปิดเคร่ืองปรับอำกำศท่ีใช้กำลังไฟฟ้ำ 2,000 วัตต์ เป็นเวลำ 2 ช่ัวโมง จะใช้พลังงำนไฟฟำ้ ไปกี่ หน่วย และจะเสียเงินเท่ำไร ถ้ำพลังงำนไฟฟ้ำ หน่วยละ 2.50 บำท
เฉลยแบบทดสอบท1่ี1. ตูเ้ ยน็ หลังหนงึ่ ใช้พลงั งานไฟฟา้ ไป 1,500 จลูในเวลา 10 วนิ าที ต้เู ยน็ หลงั น้ีมีกาลงั ไฟฟา้ เท่าไรวธิ ีทา กาลังไฟฟ้า ( วัตต์ ) = img4.gif แทนคา่ กาลังไฟฟ้า = = 150 จลู /วินาที หรือ = 150 วัตต์ดังน้ัน ตู้เย็นหลังนี้มีกาลังไฟฟ้า 150 จูลต่อวินาทีหรอื 150 วัตต์
เฉลยแบบทดสอบท2ี่2.หลอดไฟฟา้ ขนาด 60 w จานวน 2 หลอด เปิดไว้นาน 3ชว่ั โมง จะสนิ ้ เปลอื งพลงั งานไฟฟา้ เทา่ ใดวธิ ีทำ หลอดไฟฟา้ 2 หลอด ใช้กาลงั ไฟฟา้ = 2 x 60 = 120 วตั ต์ เวลาที่ใช้งาน = 3x 60 x60 = 10,800วนิ าที พลงั งานไฟฟา้ (จลู ) = กาลงั ไฟฟา้ (วตั ต์ ) X เวลา(วินาที ) แทนคา่ พลงั งานไฟฟา้ = 120 x 10,800 จลู = 1,296,000 จลูดังนัน้ หลอดไฟฟา้ ใช้พลงั งานไฟฟา้ = 1,296,000 จลู
เฉลยแบบทดสอบท่ี33.เปิดเครื่องปรับอากาศที่ใช้กาลงั ไฟฟา้ 2,000 วตั ต์ เป็นเวลา 2 ชว่ั โมง จะใช้พลงั งานไฟฟา้ ไปกี่หนว่ ย และจะเสยี เงินเทา่ ไร ถ้าพลงั งานไฟฟา้ หน่วยละ 2.50 บาทวธิ ีทำพลงั งานไฟฟา้ (หนว่ ย) = กาลงั ไฟฟา้ (กิโลวตั ต์ ) x เวลา(ชวั่ โมง ) กาลงั ไฟฟา้ = 2,000 วตั ต์ = 2 กิโลวตั ต์ เวลาท่ีใช้ = 2 ชวั่ โมง แทนคา่ พลงั งานไฟฟา้ = 2 X 2 = 4 หน่วยจะใช้พลงั งานไฟฟา้ ไป 4 หนว่ ยดังนัน้ ถ้าพลงั งานไฟฟา้ หน่วยละ 2.50 บาท จะเสยี เงินคา่ พลงั งานไฟฟา้ เทา่ กบั 4 X 2.50 = 10 บาท
ท่มี ำขอ้ มูลhttp://www.vecthai.com/main/?p=3497http://www.leonics.co.th/html/th/aboutpower/elec_knowledge03.php.https://sites.google.comที่มำรูปภำพhttps://sites.google.com.http://www.leonics.co.th/html/th/aboutpower/elec_knowledge03.php.
เก่ียวกับผจู้ ดั ทา นางสาวกิตติยา ยอดฝ้นั ช่ือเล่น กุ๊กกิ๊ก รหสั นักศึกษา 60181700127 สาขา อุตสาหกรรมศิลป์ คณะ เทคโนโลยอี ุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลัยราชภัฏลาปางเกดิ วันท:ี่ 15/12/41ราศ:ี พิจกิสัญชาติ: ไทยสว่ นสงู :154นาหนัก: 48ลกั ษณะนิสยั : ร่าเรงิ เอาใจใสท่ กุ เรื่อง
Search
Read the Text Version
- 1 - 29
Pages: