กรุงเทพฯ ปุญญพัฒน์ ภูมิภูดิสศสกุล 2/6 24
คำนำ เนื้อหาของหนังสือเล่มนี้เป็นเรื่องเกี่ยวกับการท่อง เที่ยวที่กรุมเทพฯ หนังสือเล่มนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับการ ท่องเที่ยวที่กรุงเทพฯและวัฒนธรรมและการเป็นอยู่ ของคนภาคกลาง
สารบัญ เรื่อง หน้าที่ หน้าปก 1 คำนำ 2 เนื้อหา 1 4 เนื้อหา 2 5 เนื้อหา 3 6 เนื้อหา 4 7
กรุงเทพฯ BANKKOK กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและ นครที่มีประชากรมากที่สุดของ ประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการ ปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การ สื่อสาร และความเจริญของประเทศ ตั้ง อยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมือง ออกเป็น 2 ฝั่ ง
ตัวอย่างสถานที่ท่องเที่ยวที่กรุงเทพ 1.เยาวราช บริเวณถนนเยาวราชเป็นแหล่งชุมชนชาวจีนและชาว ไทยเชื้อสายจีนเป็นจำนวนมาก จัดเป็นย่านธุรกิจการค้า, การเงิน การธนาคาร, ร้านทอง, ภัตตาคาร ร้านอาหาร, ร้านค้า ฯลฯ รวมทั้งแหล่งท่องเที่ยวสำคัญแห่งหนึ่งของ กรุงเทพมหานครโดยได้รับการขนานนามว่าเป็น \"ไชนา ทาวน์แห่งกรุงเทพมหานคร\" จากนักท่องเที่ยวชาวต่าง ชาติ และถือว่าเป็นไชนาทาวน์หรือชุมชนชาวจีนที่ใหญ่ ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ในช่วงเทศกาลตรุษจีนของทุกปี เยาวราชจะมีความคึกคัก เป็นอย่างมาก จนมีการปิดถนนเป็นถนนคนเดิน มีการ ประดับโคมไฟสีแดงจำนวนมากเพื่อความเป็นสิริมงคลตาม ความเชื่อของจีน โดยพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นสูง ในช่วงเทศกาลกินเจ เยาวราชก็มีความคึกคักเช่นเดียวกัน โดยจะมีผู้คนออกมาจับจ่ายหาซื้ออาหารเจเป็นจำนวนมาก เป็นประจำทุกปี
2.จตุจักร ตลาดนัดจตุจักร เป็นตลาดนัดในกรุงเทพมหานคร มีจำนวนแผงค้า ทั้งหมดมากกว่า 8,000 แผงค้า แบ่งเป็น 27 โครงการ มีสินค้า 8 ประเภท ได้แก่ ผักและผลไม้ เสื้อผ้า สัตว์เลี้ยง ต้นไม้ อาหารปรุง อาหารสำเร็จรูป อาหารสด และเบ็ดเตล็ด ตลาดนัดจตุจักรถูกสร้างขึ้นโดย พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท์ ชมะนันท์ ใน สมัยปี พ.ศ. 2521 เป็นที่ดินของการรถไฟแห่งประเทศไทยซึ่งในขณะนั้น พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท์ เป็นประธานกรรมการรถไฟ โดยการเอากอง ขยะที่ดินแดง มาถม ที่ของการรถไฟแห่งประเทศไทย แล้วย้ายตลาดนัด สนามหลวงมาที่นี่ โดยใช้ทหารช่างมาทำการสร้างขึ้น[1] สวนจตุจักร เป็นส่วนหนึ่งของอุทยานสวนจตุจักร ประกอบด้วยสวน สาธารณะ 3 แห่งที่มีพื้นที่ติดต่อกันได้แก่ สวนจตุจักร สวนวชิรเบญจทัศ และสวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ อนุสรณ์เป็นประจักษ์พยานตั้งแต่เมื่อครั้งแรกสร้างเป็นสัญลักษณ์ของสวน สาธารณะ ได้แก่ หอนาฬิกา นาฬิกาดอกไม้ ประติมากรรมอาเซียน 6 ประเทศ นอกจากนี้แล้วในช่วงเดือนมีนาคมถึงเมษายน
3.มหานคร สกายวอล์ค เราสามารถมองเห็นวิวพาโรนามา ของเมือง กรุงเทพมหานคร ได้รอบ 360 องศา เราแนะนำว่าให้เดิน ทางมาที่นี่ในช่วงเวลา 17.00 น. เพราะทุกคนจะสามารถ มองเห็นวิว และท้องฟ้าจากด้านบน ทั้งก่อนพระอาทิตย์ ตกดิน ไปจนถึงช่วงเวลาพระอาทิตย์ตกดินไปแล้ว ตั้งอยู่ บน King Power MahaNakhon เป็นตึกระฟ้าในรูปแบบอาคารประเภทใช้ประโยชน์ผสมผสาน ตั้งอยู่ติดกับสถานีช่องนนทรี ของรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม ในย่านสีลมและสาทรซึ่งเป็นย่านธุรกิจสำคัญของ กรุงเทพมหานคร ออกแบบให้เสมือนโอบล้อมด้วยริบบิ้น 3 มิติ หรือพิกเซล เป็นอาคารกระจกทั้งหลัง สร้างสรรค์โดยบริษัท สถาปนิกในกลุ่มบริษัท บูโร โอเล่อ เชียเรน กรุ๊ป
4.อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย เป็นอนุสาวรีย์ที่ตั้งอยู่กึ่งกลางวงเวียน ระหว่างถนนราชดำเนินกลางกับถนนดินสอ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นเพื่อระลึกถึงการ เปลี่ยนแปลงการปกครองของสยามจากระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นระบอบประชาธิปไตย[2] นอกจากนี้ อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยเป็นหลักกิโลเมตรศูนย์ ที่ซึ่งเป็นอ้างอิง ในการวัดระยะทางจากกรุงเทพมหานคร
วัฒนธรรม อาหาร วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคกลางส่วนใหญ่เป็น อาหารพื้นบ้านภาคกลางเป็นอาหารที่มี วัฒนธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับพระพุทธศาสนา ลักษณะผสมผสานกันหลายรส มีทั้งรสเผ็ด เช่นเดียวกันกับวัฒนธรรมท้องถิ่นภาคเหนือ เค็ม เปรี้ยว หวาน จืด และมักมีเครื่องเทศ แต่มีลักษณะที่แตกต่างกันออกไปบ้าง กะทิ เป็นส่วนประกอบอยู่ด้วยเสมอ อาหารที่ เนื่องจากสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ สังคม และค่านิยมในท้องถิ่นที่แตกต่างกัน ชาวต่างชาติ ส่วนใหญ่รู้จักและนิยมรับ ลักษณะวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียม ประทานมักเป็นอาหารภาคกลาง ซึ่งผ่านการ ประเพณีโดยรวมมีความเกี่ยวเนื่องกับ พิธีกรรมในพระพุทธศาสนา และพิธีกรรม ดัดแปลงส่วนประกอบและ รสชาติแล้ว เกี่ยวกับความเชื่อในการดำเนินชีวิต ซึ่งถือว่า ตัวอย่างอาหารที่คนภาคกลางนิยมรับ เป็นเอกลักษณ์ที่สำคัญของวัฒนธรรมไทย ประทาน เช่น เมี่ยงคำ แกงเลียง แกงส้มดอก แค ยำถั่วพู สะเดาน้ำปลาหวาน ปลาดุกย่าง แกงเขียวหวานลูกชิ้นปลากราย ห่อหมกปลา
ที่มาของกรุงเทพ ชื่อกรุงเทพมหานครเมื่อถอดเป็นอักษรโรมัน คือ Krung Thep Maha Nakhon แต่ต่างชาติส่วนใหญ่เรียกเมืองนี้ว่า Bangkok อันมาจาก อดีตของเมืองซึ่งเดิมเป็นที่ตั้งของเมืองธนบุรีศรีมหาสมุทร ที่ชาวต่าง ชาติเรียกกันว่า \"บางกอก\" แต่จะออกเสียงเป็น \"แบงก์ค็อก\" มาตั้งแต่ สมัยกรุงศรีอยุธยา มีความสำคัญในฐานะเส้นทางออกสู่ทะเลและติดต่อ ค้าขายกับอาณาจักรต่างๆ ทั้งเป็นเมืองหน้าด่านขนอน คอยดูแลเก็บ ภาษีจากเรือสินค้าทุกลำที่ผ่านเข้าออก ส่วนบริเวณปากน้ำตรงอ่าวไทย เรียกกันว่า \"นิวอัมสเตอร์ดัม\" (ฝรั่งเทียกับกรุงอัมสเตอร์ดัมของ ฮอลแลนด์ที่เมืองท่าสำคัญของยุโรป) มีชุมชนใหญ่และโกดังของชาว ต่างประเทศไว้สำหรับพักสินค้า ปัจจุบันคือพื้นที่บริเวณอำเภอ พระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ กรุงเทพมหานคร มาจากนามพระราชทาน \"กรุงเทพมหานคร อมร รัตนโกสินทร์ มหินทรายุธยา มหาดิลกภพ นพรัตนราชธานีบูรีรมย์ อุดม ราชนิเวศน์มหาสถาน อมรพิมานอวตารสถิต สักกะทัตติยวิษณุกรรม ประสิทธิ์\" มีความหมาย \"เมืองของเทวดา มหานครอันเป็นอมตะ สง่างาม ด้วยแก้ว 9 ประการ และเป็นที่ประทับของพระเจ้าแผ่นดิน เมืองที่มี พระราชวังหลายแห่ง ดุจเป็นวิมานของเทวดา ซึ่งพระวิษณุกรรมสร้างขึ้น ตามบัญชาของพระอินทร์\" ปัจจุบันภาษาราชการเรียก กรุงเทพมหานคร และอย่างย่อว่า กรุงเทพฯ
Search
Read the Text Version
- 1 - 10
Pages: